14.08.2018 Views

ส.ค.61

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>ส</strong>าระน่ารู้ทางการแพทย์<br />

ไวรั<strong>ส</strong>จาก "<strong>ส</strong>ัตว์" <strong>ส</strong>ู่ "คน"<br />

ต้นตอ<strong>ส</strong>ารพัดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่<br />

จาก<strong>ส</strong>ถานการณ์ที่เด็กๆ<br />

และโค้ชทีมฟุตบอล<br />

หมูป่าอะคาเดมี ออกจาก<br />

ถ้ำหลวง - ขุนน้ำนางนอนแล้ว <strong>ส</strong>ิ่งที่<br />

ต้องระวังหลังจากออกมานอกถ้ำนั้น<br />

คือการติดเชื้อภายในถ้ำ ซึ่ง<br />

บทความในฉบับนี้จะนำเ<strong>ส</strong>นอ<br />

เกี่ยวกับเชื้อไวรั<strong>ส</strong>บางชนิดในถ้ำ<br />

ที่<strong>ส</strong>ามารถแพร่<strong>ส</strong>ู่<strong>ส</strong>ัตว์และคนได้<br />

ค้างคาวเป็นหนึ่งใน<strong>ส</strong>ัตว์เลี้ยงลูก<br />

ด้วยนมที่พิ<strong>ส</strong>ูจน์แล้วว่า เป็นที่มา<br />

และแหล่ง<strong>ส</strong>ะ<strong>ส</strong>มของเชื้อไวรั<strong>ส</strong>หลาก<br />

หลายชนิด เนื่องด้วยปัจจัยทางชีววิทยาที่<br />

เกื้อหนุน คือมีความหลากหลายทาง<strong>ส</strong>ายพันธุ์<br />

อายุยืน <strong>ส</strong>ามารถบินได้ไกล มีการจับกลุ่ม<br />

ที่หนาแน่น การกระจายของประชากร<br />

ค้างคาวในแต่ละพื้นที่และระบบภูมิคุ้มกัน<br />

ที่เป็นเอกลักษณ์ นักวิทยาศา<strong>ส</strong>ตร์เชื ่อว่า<br />

ลักษณะกระดูกที่กลวงของค้างคาวเพื่อ<br />

ประโยชน์ในการบิน ทำให้ค้างคาวไม่มี<br />

ไขกระดูกที่ทำหน้าที่<strong>ส</strong>ร้างภูมิคุ้มกัน<br />

ประเภท B cell หรือมีการ<strong>ส</strong>ร้างน้อยลง<br />

ทำให้ค้างคาว<strong>ส</strong>ามารถเป็นแหล่งเชื้อไวรั<strong>ส</strong><br />

ได้โดยเชื้อไม่ก่อโรคในค้างคาว ปัจจุบัน<br />

<strong>ส</strong>ามารถตรวจพบเชื้อไวรั<strong>ส</strong>หลากหลาย<br />

ชนิดในค้างคาวหลาย<strong>ส</strong>ายพันธุ์ เช่น<br />

เชื้อไวรั<strong>ส</strong>พิษ<strong>ส</strong>ุนัขบ้า (rabies virus) ไวรั<strong>ส</strong><br />

โรคคางทูม (mumps) ไวรั<strong>ส</strong>โรคหัด<br />

(measles) เชื้อไวรั<strong>ส</strong>ตับอักเ<strong>ส</strong>บซี<br />

(Hepatitis C virus) ไวรั<strong>ส</strong>โรคซาร์<strong>ส</strong><br />

(SARS-CoV) ไวรั<strong>ส</strong>เมอร์<strong>ส</strong> (MERS-CoV)<br />

ไวรั<strong>ส</strong>โรคเชื้อ<strong>ส</strong>มองอักเ<strong>ส</strong>บนิปาห์ (Nipah<br />

virus) ไวรั<strong>ส</strong>อีโบลา (Ebola virus) และ<br />

ไวรั<strong>ส</strong>มาร์บวร์ก (Marburg virus) รวมถึง<br />

เชื้ออื่นจำพวกแบคทีเรียบางชนิด โปรโตซัว<br />

เชื้อรา และหนอนพยาธิ<br />

วิธีการแพร่เชื้อจากค้างคาวไป<strong>ส</strong>ู่<br />

มนุษย์มีได้หลายวิธี โดยอาจจะผ่าน<br />

ตัวกลาง (intermediate host) เช่น<br />

ค้างคาวที่กินผลไม้ จะคายเศษผลไม้ที่<br />

ปนเปื้อนน้ำลายทิ้ง ซึ่งอาจจะมี <strong>ส</strong>ุกร ม้า<br />

หรือ<strong>ส</strong>ัตว์ตระกูลลิงมากินต่อ และมนุษย์<br />

ก็จะนำ<strong>ส</strong>ัตว์ที่เป็นตัวกลางไปรับประทาน<br />

เป็นอาหาร หรืออาจจะเกิดจากการ<strong>ส</strong>ัมผั<strong>ส</strong><br />

<strong>ส</strong>ำนักงานแพทย์ <strong>ส</strong>ำนักงาน<strong>ส</strong>นับ<strong>ส</strong>นุน<strong>ส</strong>ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม<br />

กับตัวค้างคาวโดยตรง เช่น ถูกกัด หรือการ<br />

รับประทานค้างคาวเป็นอาหาร และ<br />

<strong>ส</strong>ุดท้ายคือ แพร่ทางละอองลอย ในกรณีที่<br />

มนุษย์เข้าไปในบริเวณถ้ำที่ค้างคาวอาศัยอยู่<br />

ตัวอย่างโรคติดเชื้ออุบัติใหม่จากค้างคาวที่<br />

จะกล่าวถึงในบทความนี้ ได้แก่ โรคติดเชื้อ<br />

ไวรั<strong>ส</strong>อีโบลา โรคติดเชื้อไวรั<strong>ส</strong>เฮนดรา<br />

(Hendra) โรค<strong>ส</strong>มองอักเ<strong>ส</strong>บนิปาห์โรคกลุ่ม<br />

อาการทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง<br />

และโรคกลุ่มอาการทางเดินหายใจ<br />

ตะวันออกกลาง<br />

<strong>ส</strong>ถานการณ์โรคติดเชื้ออุบัติใหม่จาก<br />

ค้างคาวในประเทศไทย ในประเทศไทย<br />

มีกลุ่มนักวิจัยทำการศึกษาหาเชื้อใน<br />

ค้างคาวในบางถ้ำที่มีประชากรค้างคาวอยู่<br />

หนาแน่น พบว่า <strong>ส</strong>ามารถตรวจพบเชื้อไวรั<strong>ส</strong><br />

52<br />

<strong>ส</strong>ำนักงานแพทย์ <strong>ส</strong>ำนักงาน<strong>ส</strong>นับ<strong>ส</strong>นุน<strong>ส</strong>ำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!