14.08.2018 Views

ส.ค.61

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รัฐมนตรี ว่าด้วยการบริหารกิจการอวกาศ<br />

พ.ศ.๒๕๕๒ [๔] และประ<strong>ส</strong>านความร่วมมือ<br />

กับ<strong>ส</strong>ำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ<br />

ภูมิ<strong>ส</strong>าร<strong>ส</strong>นเทศ (องค์การมหาชน) หรือ<br />

GISTDA ในการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ<br />

ของโครงการดาวเทียมถ่ายภาพ ธีออ<strong>ส</strong> ๒<br />

(THEOS-2) [๕] วงเงิน ๒,๘๐๐ ล้านบาท<br />

ที่จะ<strong>ส</strong>่งขึ้นไปทดแทนดาวเทียมธีออ<strong>ส</strong>หรือ<br />

ดาวเทียมไทยโชติ ที่ใช้งานมาแล้วกว่า<br />

๑๐ ปี จำเป็นต้องมีดาวเทียมดวงใหม่ขึ้นไป<br />

ทดแทน เพื่อรักษา<strong>ส</strong>ิทธิวงโคจรให้มีความ<br />

ต่อเนื่องโดยคุณลักษณะเฉพาะหลักๆ ก็ยัง<br />

เป็นดาวเทียมถ่ายภาพเช่นเดิม แต่<strong>ส</strong>ามารถ<br />

นำเอามาเ<strong>ส</strong>ริมหรือประยุกต์ใช้งานด้าน<br />

ความมั่นคงเพื่อการป้องกันประเทศ เช่น<br />

เฝ้าตรวจพื้นที่ชายแดนและน่านน้ำทะเลไทย<br />

ได้ตามความต้องการของกองทัพ เพราะ<br />

<strong>ส</strong>ามารถบังคับควบคุมวิถีวงโคจร และการ<br />

บังคับมุมกล้องถ่ายภาพจาก<strong>ส</strong>ถานีควบคุม<br />

ดาวเทียมภาคพื้นดิน ที่อุทยานรัง<strong>ส</strong>รรค์<br />

นวัตกรรมอวกาศ (Space Krenovation<br />

Park) [๖] อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรีทั้งนี้<br />

ใน<strong>ส</strong>่วนของกระทรวงกลาโหมจะมี<br />

เจ้าหน้าที่<strong>ส</strong>่วนหนึ่งเข้าร่วมการปฏิบัติงาน<br />

ณ <strong>ส</strong>ถานีควบคุมดาวเทียมภาคพื้นดิน<br />

ดังกล่าว<br />

<strong>ส</strong>่วนที่มีกระแ<strong>ส</strong>ข่าววิพากษ์วิจารณ์ว่า<br />

กระทรวงกลาโหมจะนำมาใช้เป็น<br />

ดาวเทียมเพื่อความมั่นคง ในการ<strong>ส</strong>อดแนม<br />

ดักฟังหรือนำขีปนาวุธนั้น เป็นเรื่อง<br />

จินตนาการที่เกินความเป็นจริง<strong>ส</strong>ำหรับ<br />

ประเทศไทย ทั้งด้านกฎหมายและการ<br />

ละเมิด<strong>ส</strong>ิทธิมนุษยชน ถึงแม้ว่าชั้น<br />

บรรยากาศระดับความ<strong>ส</strong>ูงตั้งแต่ ๑๐๐<br />

กิโลเมตรขึ้นไป ทาง<strong>ส</strong>ากลจะถือว่าเป็นพื้นที่<br />

ห้วงอวกาศเ<strong>ส</strong>รีที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของแต่<br />

ดาวเทียมใช่ว่าใครจะนำไปใช้ทำอะไรได้<br />

ตามอำเภอใจ ยกเว้นประเทศมหาอำนาจ<br />

เท่านั้น ดาวเทียมทุกดวงที่จะขึ้นไป<strong>ส</strong>ู่ห้วง<br />

อวกาศ<strong>ส</strong>่วนใหญ่จะต้องจ้างบริษัทต่าง<br />

ประเทศในการนำ<strong>ส</strong>่งทางจรวดซึ่ง<strong>ส</strong>่วนใหญ่<br />

เป็นบริษัทธุรกิจเอกชน หรืออาจจะถูก<br />

ควบคุมตรวจ<strong>ส</strong>อบโดยหน่วยงานความ<br />

มั่นคง ดาวเทียมทุกดวงจะต้องผ่านการ<br />

ตรวจคุณลักษณะเฉพาะของชิ้น<strong>ส</strong>่วนวั<strong>ส</strong>ดุ<br />

อุปกรณ์ทุกชิ้น มีมาตรฐาน<strong>ส</strong>ากลรับรอง<br />

จากองค์การอวกาศรวมถึงวัตถุประ<strong>ส</strong>งค์<br />

ในการใช้งาน ถ้าชี ้แจงไม่ชัดเจนไม่ผ่าน<br />

ตกคุณลักษณะเฉพาะ หรือตกมาตรฐาน<br />

รับรองจากองค์การด้านอวกาศ เช่น<br />

องค์การบริหารการบินและอวกาศ<br />

แห่งชาติ หรือ องค์การนาซ่า (NASA) รวมทั้ง<br />

ถ้ามี<strong>ส</strong>่วนใด<strong>ส</strong>่วนหนึ่งใช้ในกิจการทางทหาร<br />

ติดขึ้นมา จะไม่<strong>ส</strong>ามารถนำ<strong>ส</strong>่งขึ้นอวกาศได้<br />

เป็นกฎระเบียบของบริษัทเอกชน<br />

ผู้ให้บริการ<strong>ส</strong>่งจรวด เช่นเดียวกับการ<strong>ส</strong>่ง<br />

พั<strong>ส</strong>ดุภัณฑ์ทางไปรษณีย์ หรือพั<strong>ส</strong>ดุภัณฑ์<br />

ทางอากาศ (Air cargo)<br />

ประเด็นการวิพากษ์วิจารณ์ว่า<br />

กระทรวงกลาโหมจะนำดาวเทียม THEIA<br />

มาทดแทนดาวเทียม THAICOM-4 ซึ่งจะ<br />

หมดอายุการใช้งานในปี ๒๕๖๔ ยิ่งเป็นไป<br />

ไม่ได้ เพราะดาวเทียมถ่ายภาพหรือ<br />

ดาวเทียม<strong>ส</strong>ำรวจทรัพยากรโลก (Earth<br />

Observation Satellites) กับดาวเทียม<br />

<strong>ส</strong>ื่อ<strong>ส</strong>าร (Communications Satellites)<br />

34<br />

พลเอก ฤทธี อินทราวุธ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!