14.08.2018 Views

ส.ค.61

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

นิปาห์ในค้างคาวแม่ไก่เกาะในเกาะทาง<br />

ตอนใต้ของประเทศ และค้างคาวแม่ไก่ป่าฝน<br />

ในจังหวัด<strong>ส</strong>ุราษฎร์ธานี ค้างคาวแม่ไก่<br />

ในจังหวัดชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา<br />

ปราจีนบุรี อยุธยาและจังหวัด<strong>ส</strong>ิงห์บุรีและ<br />

ค้างคาวหน้ายักษ์<strong>ส</strong>ามหลืบ (Hipposideros<br />

larvatus) ในจังหวัดชลบุรี <strong>ส</strong>ุราษฎร์ธานี<br />

และจังหวัดราชบุรี นอกจากนี้ยังพบเชื้อ<br />

Group B Betacoronavirus ในค้างคาว<br />

หน้ายักษ์<strong>ส</strong>ามหลืบ ที่เขาถ้ำแรด จังหวัด<br />

ฉะเชิงเทรา ซึ่งเชื้อนี้อยู่ในกลุ่มเดียวกับ<br />

ไวรั<strong>ส</strong>โรคซาร์<strong>ส</strong> และพบเชื้อ Group C<br />

Betacoronavirus ในมูลค้างคาวที่พบใน<br />

เขาช่องพราน จังหวัด<br />

ราชบุรี ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัย<br />

ของค้างคาวปากย่น<br />

(Tadarida plicata) ซึ่งเชื้อนี้<br />

อยู่ในกลุ่มเดียวกับเชื้อ<br />

ไวรั<strong>ส</strong>เมอร์<strong>ส</strong> ในบริเวณเขา<br />

ช่องพราน มีชาวบ้านหลาย<br />

ครัวเรือนทำอาชีพเก็บมูล<br />

ค้างคาวในถ้ำเพื่อนำมาขาย<br />

ทำให้คนกลุ่มนี้มีความเ<strong>ส</strong>ี่ยง<strong>ส</strong>ูง<br />

ในการ<strong>ส</strong>ัมผั<strong>ส</strong>ละอองฝอยใน<br />

ถ้ำและ<strong>ส</strong>ัมผั<strong>ส</strong>กับมูลค้างคาว<br />

โดยตรง แม้ในประเทศไทย<br />

จะยังไม่มีรายงานของเชื้อ<br />

ไวรั<strong>ส</strong>ก่อโรคในค้างคาวแพร่<br />

ไป<strong>ส</strong>ู่คนก็ตาม ก็ยังเห็น<br />

<strong>ส</strong>มควรที่จะต้องรณรงค์ให้<br />

ผู้มีความเ<strong>ส</strong>ี่ยง<strong>ส</strong>วมใ<strong>ส</strong>่อุปกรณ์ป้องกันการ<br />

<strong>ส</strong>ัมผั<strong>ส</strong>ให้เหมาะ<strong>ส</strong>ม ซึ่งได้แก่ เ<strong>ส</strong>ื้อคลุม<br />

ถุงมือ และหน้ากากป้องกันฝุ่นละอองที่ได้<br />

มาตรฐาน (NIOSH-N95 หรือ P2) และ<br />

หากเป็นไปได้ควรใช้ชุดหน้ากากชนิด<br />

ใช้แบตเตอรี่และชุด<strong>ส</strong>่งผ่านอากาศ<br />

(powered air-purifying respirator) ที่ได้<br />

รับการฆ่าเชื ้ออย่างเข้มงวดหลังใช้งาน<br />

ทุกครั้ง นอกจากนี้ยังควรศึกษาวิจัย<br />

เพิ่มเติมเกี่ยวกับ<strong>ส</strong>ายพันธุ์ค้างคาวในแต่ละ<br />

พื้นที่และชนิดเชื้อไวรั<strong>ส</strong>ที่ค้างคาวเหล่านั้น<br />

เป็นแหล่งรังโรควิธีการแพร่กระจาย<br />

ของโรคมา<strong>ส</strong>ู่คน เพื่อวางมาตรการดูแลและ<br />

ป้องกันมิให้เกิดโรคติดเชื้อ<br />

อุบัติใหม่ในประเทศไทย<br />

ต่อไป<br />

มาตรการป้องกันและ<br />

ศูนย์ประ<strong>ส</strong>านงานเครือข่าย<br />

<strong>ส</strong>ุขภาพ (One Health) ใน<br />

การป้องกันโรคติดเชื้ออุบัติใหม่<br />

จาก<strong>ส</strong>ัตว์นั้น ควรใช้หลักการของ One<br />

Health เข้ามาช่วย โดย One Health เป็น<br />

หลักการระดับนานาชาติที่มองโรคติดต่อ<br />

จาก<strong>ส</strong>ัตว์ในแง่องค์รวม ทั้งในมนุษย์ <strong>ส</strong>ัตว์<br />

และระบบนิเวศ โดยระบบ<strong>ส</strong>าธารณ<strong>ส</strong>ุข<br />

ในทุกระดับจะต้องให้ความ<strong>ส</strong>ำคัญกับการ<br />

เฝ้าระวังอุบัติการณ์ของโรคติดเชื้อใหม่<br />

และการวินิจฉัยโรคให้ทันท่วงที ควบคุม<br />

หรือรักษาโดยการรักษาทั้งในมนุษย์ใน<strong>ส</strong>ัตว์<br />

และดำเนินการป้องกันใน<strong>ส</strong>ิ่งแวดล้อม<br />

ร่วมด้วย นอกจากนี้ หน่วยงานที่ดูแล<br />

เกี่ยวกับ<strong>ส</strong>ัตว์ป่าควรจะต้องดำเนินงาน<br />

เก็บข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะวงจรชีวิตและ<br />

จำนวนประชากรของ<strong>ส</strong>ัตว์ที่เป็นแหล่ง<br />

<strong>ส</strong>ะ<strong>ส</strong>มโรคหรือตัวกลางแพร่เชื้อ หน่วยงาน<br />

ที่ดูแลเกี่ยวกับ<strong>ส</strong>ิ่งแวดล้อมควรดำเนินงาน<br />

เพื่อวิจัยเกี่ยวกับ<strong>ส</strong>ิ่งแวดล้อมรอบชุมชน<br />

ที่อยู่อาศัยของมนุษย์และ<strong>ส</strong>ัตว์เพื่อรวบรวม<br />

เป็นฐานข้อมูล<strong>ส</strong>่วนกลางที่จะมีประโยชน์<br />

ในการตรวจหาและรับมือโรคติดเชื้ออุบัติใหม่<br />

ต่อไป<br />

ด้วยความพิเศษทางด้านชีววิทยา<br />

ภูมิคุ้มกันและพฤติกรรมทาง<strong>ส</strong>ังคมของ<br />

ค้างคาว ทำให้ค้างคาวเป็น<strong>ส</strong>ัตว์ที่<strong>ส</strong>ามารถ<br />

อยู่ร่วมกับเชื้อไวรั<strong>ส</strong>ก่อโรคได้มากมาย<br />

ทั้งเชื้อไวรั<strong>ส</strong>ที่เคยก่อโรคในคนและ<br />

เชื้อไวรั<strong>ส</strong>ใหม่ที ่ยังไม่ก่อโรคในคน ดังนั้น<br />

โรคติดเชื้ออุบัติใหม่จากค้างคาวเป็นประเด็น<br />

<strong>ส</strong>ำคัญที่ควรได้รับการศึกษาวิจัยเพิ่มเติม<br />

ทั้งในด้านการวิจัยเชื้อที ่พบได้ในค้างคาว<br />

ต่าง<strong>ส</strong>ายพันธุ์ในแต่ละพื้นที่ปฏิ<strong>ส</strong>ัมพันธ์<br />

ระหว่างเชื้อไวรั<strong>ส</strong>และค้างคาว และหนทาง<br />

แพร่เชื้อ<strong>ส</strong>ู่มนุษย์ เพื่อเป็นฐานข้อมูลที่จะมี<br />

ประโยชน์ในอนาคต เพื่อจะช่วยในการ<br />

วางแผนป้องกัน หรือเป็นแนวทางรักษา<br />

ในกรณีเกิดโรคอุบัติใหม่ต่อไป<br />

ที่มาข้อมูลเพิ่มเติม https://www.health-th.com<br />

หลักเมือง <strong>ส</strong>ิงหาคม ๒๕๖๑<br />

53

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!