02.11.2014 Views

Salmonella

Salmonella

Salmonella

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

1<br />

โรคซัลโมเนลโลซิส (Salmonellosis)<br />

บทนํ า<br />

ในบรรดาแบคทีเรียที่กอใหเกิดการติดเชื้อ และการระบาดในคนนั้น ซาลโมเนลลา<br />

เปนตัวอยางที่ดีของแบคทีเรียที่มีการวิวัฒนาขนานไปกับวิวัฒนาของมนุษย แตเดิม<br />

แบคทีเรียในกลุ มนี้สวนใหญอาศัยอยูในสัตวและกอใหเกิดโรคในสัตว มีเพียงไมกี่ชนิดเปน<br />

pathogen ของคนโดยตรง และอาศัยอยูในคน แตปจจุบันนี้ซาลโมเนลลาจากสัตวหลาย<br />

ชนิดทําใหเกิดการติดเชื้อในคนและอาศัยเปน carrier อยู ในคนไดเปนเวลานาน ทั้งนี้เพราะ<br />

ซาลโมเนลลาสามารถปรับตัวไดดี ทํ าใหสามารถอยูไดในสภาวะแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

ในสังคมมนุษย ไมวาจะเปนเรื่องของเทคโนโลยีใหม ๆ เชนการผลิตอาหารกระปองอาหาร<br />

แชแข็ง หรือขบวนการตางๆ ในการเตรียมอาหารสํ าเร็จรูปทั้งอาหารที่ยังไมสุก และอาหารที่<br />

สุกแลว ซึ่งในปจจุบันนี้เกิดขึ้นมากมายเพื่อสนองความตองการของประชาชนที่เพิ่มขึ้น<br />

โดยเฉพาะในประเทศไทยที่ประจักษกันดีวามีอาหารมากมายใหซื้อขายกัน โดยเฉพาะอยาง<br />

ยิ่งที่เรียกวาประเทศไทยเปนครัวอาหารโลก จํ าเปนอยางยิ่งตองควบคุม ปองกัน พรอมทั้ง<br />

หาทางหยุดยั้งเชื้อ <strong>Salmonella</strong> มิใหแพรกระจายไปในอาหาร สิ่งแวดลอมตาง ๆ เพิ่มขึ้น<br />

นอกจากนี้การสาธารณสุขและการพัฒนาสิ่งแวดลอม และการเพิ่มของประชากร<br />

และสังคม ก็เปนสิ่งที่เอื้ออํ านวยตอการปรับตัวของเชื้อ <strong>Salmonella</strong> เขามาสูคนไดมากขึ้น<br />

เอกสารนี้มีวัตถุประสงคที่จะทบทวนความรูดานจุลชีววิทยา ระบาดวิทยา อาการ<br />

ของโรค พยาธิกํ าเนิด การวินิจฉัย การรักษา การควบคุมและการปองกัน ของเชื้อ<br />

<strong>Salmonella</strong> ใหแกผูที่ใหความสนใจในเชื้อ <strong>Salmonella</strong><br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


จุลชีววิทยาของ <strong>Salmonella</strong><br />

แบคทีเรียในกลุมนี้จัดไดวาเปน pathogens ที่พบไดทุกหนทุกแหงและทั่วโลก โดย<br />

เขามามีบทบาทไมเฉพาะแตในคน และสัตวเลี้ยงของคนเทานั้น หากยังพบไดในสัตวทั่ว ๆ<br />

ไป เชน สัตวเลื้อยคลาน นก และแมลงตาง ๆ เปนแบคทีเรียกลุมใหญกลุมหนึ่ง เปน<br />

แบคทีเรียแกรมลบ รูปรางเปนแทงสั้น ไมสรางสปอร อยูในสกุล Enterobacteriaceae เชน<br />

เดียวกับเชื้อ E.coli ประวัติของเชื้อซัลโมเนลลาเดิมเรียกวา paratyphoid bacteria สวนชื่อ<br />

สกุลไดเปลี่ยนไปโดยตั้งใหเปนเกียรติ D.E.Salmon นักแบคทีเรียชาวอเมริกัน ซึ่งไดรวมกับ<br />

Theobald Smith ที่ไดทําการแยกเชื้อนี้จากสุกรที่ปวยโรคอหิวาต เชื้อที่แยกไดนี้ตอมาเรียก<br />

วา <strong>Salmonella</strong> Choleraesuis ใน ค.ศ.1885 และในป ค.ศ.1888 Gartner แยกเชื้อไดจากมาม<br />

ผู ปวยที่ตายดวยโรคอาหารเปนพิษระบาดในประเทศเยอรมัน คือ <strong>Salmonella</strong> Enteritidis ป<br />

ค.ศ. 1892 Loffler แยก <strong>Salmonella</strong> Typhimurium ไดจากหนูขาวที่มีอาการโรคคลาย<br />

ไทฟอยด จนกระทั่ง Schottmiille สามารถแยกถึงความแตกตางระหวาง <strong>Salmonella</strong><br />

Paratyphi A และ <strong>Salmonella</strong> Paratyphi B ไดในป 1990 การคนพบ <strong>Salmonella</strong> สายพันธุ<br />

ใหมที่แยกไดจากผูปวยและสัตว ที่ปวยดวยโรคตาง ๆ มีมากขึ้น ทํ าใหเกิดความยุงยากใน<br />

การตั้งชื่อสายพันธุใหม ๆ เหลานี้ จนกระทั่งในป ค.ศ. 1926 Kauffmann, Edwards และ<br />

Ewing ไดรวมกันจัดทํ าหนังสือ Kauffmann – White Schema ขึ้น เพื่อเปนเอกสารสํ าคัญแยก<br />

ลักษณะทางแอนติเจนของ <strong>Salmonella</strong> (Ewing W.H.,1986)<br />

ลักษณะของเชื้อซัลโมเนลลา แหลงที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ และนิสัยการเจริญเติบโต<br />

ลักษณะของเชื้อซัลโมเนลลา : ซัลโมเนลลาเปนแบคทีเรียแกรมลบ รูปรางเปนแทง<br />

สั้น ไมสรางสปอร อยูในสกุล Enterobacteriaceae เชนเดียวกับเชื้อ E.coli สมาชิกในสกุลนี้<br />

เจริญเติบโตในสภาวะที่มีหรือไมมีอากาศก็ได (facultative anaerobe) เคลื่อนที่ไดโดยอาศัย<br />

แซรอบตัว (peritrichous flagella) และอาศัยอยูในลํ าไสของคนและสัตว สมบัติทางชีวเคมี<br />

แสดงในตารางที่ 1<br />

2<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


3<br />

ตารางที่ 1 สมบัติทางชีวเคมีที่สํ าคัญของเชื้อซัลโมเนลลา<br />

Biochemical test<br />

Reaction<br />

Glucose +<br />

Lactose -<br />

Sucrose -<br />

Catalase reaction +<br />

Oxidase reaction -<br />

Nitirte reduction +<br />

Lysine decarboxylase +<br />

Arginine dehydrolase<br />

+ w / o H 2 S<br />

Ornithine dehydrolase<br />

+ w / o H 2 S<br />

Indole -<br />

Citrate +/ -<br />

MR +<br />

VP -<br />

Phenylalanine -<br />

Urease -<br />

Gelatin -<br />

G+C (mole% of DNA) 50-53<br />

ที่มา : พัฒนาจาก Bergey’s Manual of Systematic Bacteriology, 1984<br />

นอกจากสมบัติทางชีวเคมีแลว ในการจํ าแนกสปชีของซัลโมเนลลายังอาศัย<br />

ลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อที่ปรากฏบนผิวเซลลและบนแซ (flagella) ที่แบคทีเรียใช<br />

เคลื่อนที่ ตามแบบแผนที่เรียกวา Kauffmann-White Scheme (Brenner, 1984; Ewing, 1986)<br />

ทําใหการจํ าแนกสปชีของเชื้อซัลโมเนลลามีความแมนยํ ามากขึ้น ทั้งนี้ลักษณะบนผิวเซลล<br />

(O-antigen) ไดถูกจํ าแนกออกเปน 64 group โดยอาศัย somatic antibodies ที่เตรียมขึ้นมา<br />

สําหรับลักษณะทางพันธุกรรมบน flagella ใช H-antibodies จําแนกออกเปน 2 Phases คือ<br />

Phase-1 (หรือ phase ที่จํ าเพาะ) ประกอบดวยเชื้อซัลโมเนลลาเพียงไมกี่สปชี และ Phase-2<br />

(หรือ group Phase ) ซึ่งประกอบดวยเชื้อซัลโมเนลลาสวนใหญ H-antigen ของเชื้อซัลโม<br />

เนลลาอาจทํ าปฏิกิริยาตกตะกอนกับ antibodies ของ Phase-1 หรือ Phase-2 หรือทั้ง 2 Phase<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


สํ าหรับ H-antigen Phase-1 ใชอักษรภาษาอังกฤษตัวเล็กเปนสัญลักษณ สวน H-antigen<br />

Phase-2 ใชตัวอักษรเลขอะราบิคเปนสัญลักษณ เชน S. Choleraesuis (6, 7: c :1, 5) หมาย<br />

ความวาเชื้อนี้มี O-antigen O: 6 และ 7 (groupC) H-antigen Phase-1 คือ c และ H-antigen<br />

Phase-2 คือ 1 และ 5 หรือ S. Enteritidis ( 9,12 :gm :-) หมายความวาเชื้อนี้มี O-antigen<br />

O:9 และ 12 (group D) H-antigen Phase-1 คือ g,m เพียง Phase เดียวเทานั้น<br />

วิวัฒนาการทางการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตในระดับโมเลกุล ไดเปลี่ยนโฉมรูปแบบ<br />

การจัดจํ าแนกสปชีของซัลโมเนลลา (<strong>Salmonella</strong>’s Taxonomic scheme) ที่อาศัยเทคนิคทาง<br />

เซโรวิทยามาเปนเทคนิคทางจีนส (DNA-DNA hybridization and Multilocus Enzyme<br />

Electrophoresis เรียกยอวา MEE) ซึ่งแบงเชื้อซัลโมเนลลาออกเปน 2 สปชีดังนี้ <strong>Salmonella</strong><br />

enterica (S. enterica) และ <strong>Salmonella</strong> bongori (S. bongori) แตละ species จําแนกออกเปน<br />

หลายสปชียอย (subspecies) มีไมนอยกวา2,500 ซีโรวาร<br />

S. enterica จําแนกเปน 6 subspecies ไดแก<br />

subspecies I : <strong>Salmonella</strong> enterica subsp. enterica<br />

subspecies II : <strong>Salmonella</strong> enterica subsp. salamae<br />

subspecies IIIa : <strong>Salmonella</strong> enterica subsp. arizonae<br />

subspecies IIIb : <strong>Salmonella</strong> enterica subsp. diarizonae<br />

subspecies IV : <strong>Salmonella</strong> enterica subsp. houtenae<br />

subspecies VI : <strong>Salmonella</strong> enterica subsp. indica<br />

สวน subspecies V ( <strong>Salmonella</strong> enterica subsp. bongori ) จาก เดิม ไดเปลี่ยนเปน<br />

species คือ <strong>Salmonella</strong> bongori การเปลี่ยนแปลงดังกลาวนํ าไปสูพัฒนาการของวิธีการเขียน<br />

ชื่อ serovars ใหม<br />

4<br />

หลักการเขียน <strong>Salmonella</strong> serovar<br />

กรณีที่ I เชื้อ <strong>Salmonella</strong> ที่อยูใน species enterica subspecies enterica (ที่มีการตั้งชื่อ)<br />

ดังตัวอยาง <strong>Salmonella</strong> (ตัวเอน) subspecies (ตัวตรง) enterica (ตัวเอน) serotype<br />

(or serovar : or ser.) Typhimurium (ตัวแรกเขียนตัวใหญ ไมตองเขียนตัวเอน) เขียนไดดังนี้<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


<strong>Salmonella</strong> enterica subspecies enterica serovar Typhimurium ในทางปฏิบัติ<br />

นิยมเขียนสั้นลงวา<br />

<strong>Salmonella</strong> serovar Typhimuriumหรือ <strong>Salmonella</strong> Typhimurium หรือ S. Typhimurium<br />

<strong>Salmonella</strong> serovar Bangkok หรือ <strong>Salmonella</strong> Bangkok หรือ S. Bangkok<br />

<strong>Salmonella</strong> serovar Ratchaburi หรือ <strong>Salmonella</strong> Ratchaburi หรือ S. Ratchaburi<br />

กรณีที่ II <strong>Salmonella</strong> พบใน species และ subspecies อื่นนอกเหนือจากกรณีที่ I<br />

ไดแก S. enterica subspecies II, IIIa, IIIb, IV, VI และ S. bongori subspecies V<br />

การเขียน serovar จะเขียนในรูปของโครงสรางเทานั้น ดังตัวอยาง<br />

S. enterica subspecies II มี O-antigen 6 และ 8 มี H-antigen Phase I คือ b และ H-antigen<br />

Phase II คือ 1,5 นํามาเขียนดังนี้<br />

<strong>Salmonella</strong> (ตัวเอน) subspecies (ตัวตรง) salamae (ตัวเอน) serovar 6, 8 : b :1,5<br />

ดังตัวอยาง<br />

<strong>Salmonella</strong> enterica subspecies salamae serovar 6, 8 : b :1,5<br />

ในทางปฏิบัตินิยมเขียนยอวา <strong>Salmonella</strong> II 6, 8 : b : 1,5 หรือ S. II 6, 8 : b : 1,5<br />

การตั้งชื่อ serovars ของเชื้อ <strong>Salmonella</strong> นั้น เชื้อ <strong>Salmonella</strong> ที่พบจะตองอยูใน<br />

species enterica และ subspecies enterica เทานั้น และตั้งชื่อตามหลักภูมิศาสตรของสถานที่<br />

พบเชื้อเปนครั้งแรกเชน <strong>Salmonella</strong> Bangkok และ <strong>Salmonella</strong> Ratchaburi<br />

WHO Collaborating Center for Reference and Research on <strong>Salmonella</strong> Institut<br />

Pasteur, Paris, France เปนหนวยงานที่ทํ าหนาที่รวบรวมและรายงานจํ านวน serovar ที่พบทั่ว<br />

โลกไวใน Antigenic Formula of the <strong>Salmonella</strong> serovar โดยในแตละปจะมีการตรวจพบ<br />

<strong>Salmonella</strong> serovar ใหม ๆ เพิ่มขึ้น เชนในป 1997 มีจํ านวน 2,435 serovars และตอมาในป<br />

2001 มีเพิ่มขึ้นเปน 2,501 serovars โดยเฉพาะ S. enterica subsp. enterica (subspecies I) มี<br />

จํานวน 1,478 serotypes (serovars) เปน <strong>Salmonella</strong> ที่จัดอยูใน O group A, B, C1, C2, D, E1,<br />

E2, E3 และ E4 ซึ่งสวนมากพบในสัตวเลือดอุน ( Michel Y. Popoff 1997,2001 )<br />

5<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


ACTUAL NUMBER OF SEROVARS IN EACH SPECIES AND SUBSPECIES<br />

Year 1997 2001<br />

S. enterica subsp. enterica 1,435 1,478 serovars<br />

salamae 485 498 serovars<br />

arizonae 94 94 serovars<br />

diarizonae 321 327 serovars<br />

houtenae 69 71 serovars<br />

indica 11 12 serovars<br />

S. bongori 20 21 serovars<br />

Total 2,435 2,501 serovars<br />

แหลงที่อยูอาศัยตามธรรมชาติ : เชื้อซัลโมเนลลาอาศัยอยูในทางเดินอาหาร ลํ าไส<br />

ของสัตวตาง ๆ เชน นก สัตวเลื้อยคลาน สัตวเลี้ยง คน และบางทีก็พบในแมลง แมวาแหลง<br />

กําเนิดของเชื้อคือลํ าไสของสัตว แตบอยครั้งที่พบเชื้อซัลโมเนลลาตามรางกายสวนอื่น ๆ<br />

ของสัตวดวย (Jay, 1996) เนื่องจากสัตวจะปลอยเชื้อซัลโมเนลลาผานทางอุจจาระซึ่งจะแพร<br />

ผานแมลงและสัตวอื่น ๆ ขยายวงกวางออกไป ดวยเหตุนี้เชื้อซัลโมเนลลาอาจพบในนํ้ า โดย<br />

เฉพาะในนํ้ าสกปรก และในอาหารที่มีแมลงวันตอม เมื่อคนและสัตวบริโภคอาหารและนํ้ า<br />

ที่มีเชื้อนี้เขาไป บางครั้งจะแสดงอาการปวยออกมา แตบางครั้งก็กลายเปนพาหนะ (carrier)<br />

คือไมแสดงอาการปวยทั้ง ๆ ที่มีเชื้อซัลโมเนลลาอยูในรางกาย มนุษยผูนั้นอาจกลายเปน<br />

พาหะของเชื้อตอไป มนุษยและสัตวขับเชื้อซัลโมเนลลาออกจากทางเดินอาหารทางอุจจาระ<br />

อรุณ บางตระกูลนนท และคณะไดทํ าการสํ ารวจอุจจาระของผูสัมผัสอาหารที่ปฏิบัติงานใน<br />

อุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง พบอัตราผูเปนพาหะของเชื้อซัลโมเนลลาสูงสุดรอยละ 15.38<br />

อัตราผูเปนพาหะของเชื้อซัลโมเนลลาสูงสุดในฤดูรอน และตํ่ าสุดในฤดูฝน (อรุณ บาง<br />

ตระกูลนนท และคณะ, 2545) เชื้อซัลโมเนลลาในอุจจาระของมนุษยและสัตวสามารถแพร<br />

กระจายไปในดิน นํ้ า และสิ่งแวดลอม ปนเปอนเขาสูหวงโซอาหารไดหลายทาง ซึ่งจะเปน<br />

อันตรายอยางยิ่ง ถานํ าสัตวที่มีเชื้อซัลโมเนลลามาใชเปนอาหาร ทํ าใหผูบริโภคมีความเสี่ยง<br />

สูงตอการเกิดโรคอาหารเปนพิษ<br />

ในทางระบาดวิทยา จํ าแนกแหลงที่อยูอาศัยหรือโฮสทของเชื้อซัลโมเนลลาออก<br />

เปน 3 แหลงดังนี้ (Jay, 1996)<br />

6<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


(ก) เชื้อซัลโมเนลลาที่อาศัยคนเปนโฮสต เชื้อซัลโมเนลลาในกลุมนี้เปนโรคติดตอ<br />

ในคนเทานั้นไดแก S. Typhi ทําใหเกิดโรคไทฟอยด (Typhoid fever) เปนสปชีที่มีอันตราย<br />

รุนแรงมากที่สุด สวนS. Paratyphi A, S. Paratyphi B และ S. Paratyphi C ทําใหเกิดโรคไข<br />

รากสาดนอย (paratyphoid fever) ซึ่งมีอาการคลายกับอาการของไขไทฟอยด แตรุนแรง<br />

นอยกวาไขรากสาดนอยเปนโรคติดตอในคนเชนเดียวกับอาการของไขไทฟอยด มีระยะเวลา<br />

ฟกตัวนาน ผูปวยมีอุณหภูมิของรางกายสูงมาก มีผลทํ าใหอัตราการตายสูง และอาจตรวจ<br />

พบเชื้อ S. Typhi ในเลือด ในอุจจาระ และในปสสาวะของผูปวยดวย<br />

(ข) เชื้อซัลโมเนลลาที่ปรับตัวตามโฮสต เชื้อซัลโมเนลลาในกลุมนี้เปนเชื้อที่แพร<br />

จากสัตว ที่เปนโรคหรือเปนพาหะมาสูคน เนื่องจากอาศัยอยูในสัตว เมื่อนํ าสัตวมาใชเปน<br />

อาหารก็จะแพรมาสูคน และทํ าใหคนเปนโรคได ตัวอยางเชน S. Gallinarum และ<br />

S. Pullorum ซึ่งอาศัยเปดไกเปนโฮสต S. Dublin อาศัยวัวเปนโฮสต S. Abortus-equi<br />

อาศัยมาเปนโฮสต S. Abortus-ovis อาศัยแกะเปนโฮสต S. Choleraesuis อาศัยสุกรเปน<br />

โฮสต และ S. Enteritidis พบมากในไขและในสัตวปกที่มีชีวิต เปนตน (Jay, 1996)<br />

(ค) เชื้อซัลโมเนลลาที่ไมเลือกโฮสต เปนเชื้อซัลโมเนลลานอกเหนือจาก 2 กลุมที่<br />

กลาวมาแลว สามารถแพรจากคนและ สัตวเปนโรค รวมทั้งอาหาร นํ้ า ดิน และสิ่งแวดลอม<br />

ไดแก เชื้อซัลโมเนลลาสวนใหญที่ทํ าใหเกิดโรคอาหารเปนพิษ นับเปนซัลโมเนลลาที่มี<br />

ความสําคัญ และจะตองควบคุมผานกิจกรรมการจัดการสุขาภิบาลอาหารที่ดี เพื่อตัดวงจร<br />

การแพรกระจายของโรค เชื้อในกลุมนี้เรียกวา non typhoidal salmonellosis ทําใหเกิดโรค<br />

Salmonellosis ซึ่งสวนใหญจะทํ าใหเกิดอาการทางลํ าไสและบาง serovar เทานั้นที่บุกรุกเขา<br />

กระแสโลหิตและทํ าใหเกิดการติดเชื้อในระบบอื่นๆ Salmonellosis มิใชโรคติดเชื้อรายแรง<br />

ที่สวนใหญตองรับการรักษาโดยปจจุบันทันดวน ผูที่ไดรับเชื้ออาจมีอาการไมมากแตก็มีผล<br />

กระทบตอสุขภาพโดยทั่วไปและตอประสิทธิภาพของการทํ างาน ซึ่งมิสามารถคํ านวณออก<br />

มาเปนคาของการสูญเสียที่ชัดเจน สถานการณปจจุบันในประเทศไทยที่ยังขาดการบริการ<br />

ทางหองปฏิบัติการที่จะชวยใหสามารถวินิจฉัยโรค Salmonellosis ไดถูกตองสวนทางกับ<br />

การเจริญเติบโตของอุตสาหกรรมผลิตเนื้อสัตว และอาหารสํ าเร็จรูปที่เห็นความสํ าคัญของ<br />

การควบคุมคุณภาพดานจุลลินทรียมากนอยตางกัน ตลอดจนการเคลื่อนตัวของประชากร<br />

เขาสูเมืองใหญๆ และการเกิดธุรกิจการจํ าหนายอาหารที่ไมถูกสุขลักษณะซึ่งปรากฎใหเห็น<br />

อยู โดยทั่วไป เหลานี้เปนสิ่งที่ควรจะคาดคะเนไดวาหากยังไมสามารถลดการปนเปอนของ<br />

<strong>Salmonella</strong> ในเครื่องอุปโภคของคนแลวการติดเชื้อจาก <strong>Salmonella</strong> จะมีแตการเพิ่มขึ้นให<br />

7<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


เปนอุสรรคตอความหวังในการนํ าสาธารณสุขที่ดีมาใหแกประชากรชาวไทย (พนิดา ชัย<br />

เนตร, 2531)<br />

นิสัยการเจริญเติบโตของซัลโมเนลลา<br />

(ก) อุณหภูมิ ซัลโมเนลลาเจริญไดดีที่อุณหภูมิปานกลาง แมวาจะมีรายงานวาเชื้อ<br />

ซัลโมเนลลาในบางสายพันธุสามารถเจริญไดที่อุณหภูมิตํ่ ากวา 5 O C (D’Aoust, 1991) ก็ตาม<br />

สําหรับอุณหภูมิสูงสุดที่เชื้อนี้เจริญได คือ 49.5 O C (ICMSF, 1996) ดวยเหตุนี้ การปฏิบัติ<br />

อยางถูกตองเพื่อเก็บรักษาอาหารรอนหรืออุนอาหารเพื่อใหปลอดภัยจากเชื้อซัลโมเนลลา<br />

ตามที่ USDA/FSIS แนะนําจึงใชอุณหภูมิ 63 O C เปนเกณฑ (แมวาในทฤษฎีที่อุณหภูมิ 55 O C<br />

จะสามารถทํ าลายเชื้อซัลโมเนลลาไดแลวก็ตาม)<br />

(ข) pH ความสัมพันธระหวางความเปนกรด-ดาง กับการเจริญเติบโตของเชื้อซัล<br />

โมเนลลาแสดงใน ตารางที่ 2 คา pH ตํ่าสุดที่เชื้อซัลโมเนลลาชนิดที่ทนกรดมากที่สุดจะเจริญ<br />

ไดอยูที่ pH 3.8 และ pH สูงสุดอยูที่ 9.5 ชวง pH ที่เชื้อซัลโมเนลลาสวนมากเจริญไดดีอยู<br />

ระหวาง 7-7.5 ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาวะแวดลอมที่เชื้อเจริญเติบโตและชนิดของซัลโมเนลลา<br />

แตละสปชีดวย จากการทดลองของชุงและกอฟเฟรท (Chung and Goepfert,1970) พบวา<br />

กรดที่ใชปรับ pH ของอาหารเลี้ยงเชื้อในหองปฏิบัติการมีผลตอการปรับตัวของเชื้อซัลโม<br />

เนลลา กลาวคือ ในกรณีที่ใชกรดเกลือและกรดซิตริกปรับ pH เชื้อซัลโมเนลลาปรับตัวกับ<br />

การเปลี่ยนแปลงของ pHไดมากกวาการใชกรดนํ้ าสม หรือกลาวอีกนัยหนึ่งวาเชื้อซัลโมเนล<br />

ลาไวตอกรดนํ้ าสมมากกวากรดเกลือและกรดซิตริก<br />

8<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


9<br />

ตารางที่ 2 คา pH ตํ่าสุดที่เชื้อซัลโมเนลลาเจริญไดภายใตสภาวะที่เพาะเลี้ยง<br />

ในหองปฏิบัติการ<br />

กรดที่ใช pH<br />

กรดเกลือ 4.05<br />

กรดซิตริก 4.05<br />

กรดตารตาริก 4.10<br />

กรดกลุโคนิก 4.20<br />

กรดฟูมาริก 4.30<br />

กรดมาลิก 4.30<br />

กรดแลคติก 4.40<br />

กรดซัคซินิก 4.60<br />

กรดกลูทาริก 4.70<br />

กรดอะดิพิก 5.10<br />

กรดพิเมริก 5.10<br />

กรดอะซิติก 5.40<br />

กรดโพรพิโอนิก 5.50<br />

หมายเหตุ : ใช Tryptone – yeast extract – glucose broth เปนอาหารเลี้ยงเชื้อ โดยเฉพาะเชื้อ<br />

ซัลโมเนลลา ที่ 10 4 เซล/มล (ใช S. Anatum, S. Tennessee หรือ S. Senftenberg)<br />

ที่มา : Chung and Goepfert, 1970<br />

(ค) วอเตอรแอคติวิตี้ (a w ) มีผลตอการเจริญเติบโตของเชื้อซัลโมเนลลา กลาวคือ<br />

เชื้อซัลโมเนลลาเจริญไดในชวงที่มี a w แคบมาก คือคา a w ตํ่ าสุดอยูที่ 0.94 สวนคา a w สูงสุด<br />

อยูในชวง 0.99 – 1.00<br />

ในสภาวะที่สิ่งแวดลอมเอื้อตอการเจริญเติบโตของเชื้อซัลโมเนลลา เชน มีอาหาร<br />

เหมาะสม มี a w เหมาะสม มีอุณหภูมิเหมาะสม เชื้อซัลโมเนลลาสามารถปรับตัวตอการ<br />

เปลี่ยนแปลงของ pH ไดมากกวาปกติ ฉะนั้น ปจจัยรวม (Combined effects) จึงมีความ<br />

สํ าคัญในแงของการประยุกตมาใชเพื่อควบคุมเชื้อซัลโมเนลลามากกวาปจจัยใดปจจัยหนึ่ง<br />

เพียงปจจัยเดียว<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


10<br />

ตารางที่ 3 ปจจัยดานอุณหภูมิ pH และ a w ที่มีผลตอการเจริญเติบโตของเชื้อซัลโมเนลา<br />

สภาวะ คาตํ่ าสุด คาเหมาะสม คาสูงสุด<br />

อุณหภูมิ 5.2 35-43 46.2<br />

PH 3.8 7-7.5 9.5<br />

a w 0.94 0.99 >0.99<br />

* เชื้อซัลโมเนลลาสวนมากไมเจริญที่อุณหภูมิตํ่ ากวา 7 O C<br />

ที่มา ICMSF, 1996, P.225<br />

พยาธิกํ าเนิด<br />

1. การกระตุนใหเซลลลํ าไสกลืนกินเชื้อ <strong>Salmonella</strong><br />

ลักษณะพื้นที่ผิวของเซลลลํ าไสมี microvilli และรูปรางคลายนิ้วมือ เปนการเพิ่มพื้น<br />

ที่ผิวในการดูดซึมสารอาหาร กลไกการกอโรคเริ่มจากการที่เชื้อ <strong>Salmonella</strong> เคลื่อนที่เขาสู<br />

ผนังเยื่อหุมเซลลลํ าไส คลายกับการเขาสูเซลลลํ าไสของเชื้อ E.coli โดยใชขบวนการพิเศษ<br />

คลายการฉีดเชื้อเขาเซลลที่ เรียกวาระบบ injector Type 3 เพื่อใหโปรตีนของเชื้อผานผนัง<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


เซลลเจาบานเขาสู cytoplasm โปรตีนของเชื้อที่เขาไปจะกระตุนเซลลเจาบานและเปลี่ยน<br />

ระบบ cytoskeleton ของเซลลเปนผลใหเชื้อแบคทีเรียถูกกลืนกินอยูภายในเซลลเจาบาน<br />

11<br />

2. การหลบหนีกลไกปองกันการติดเชื้อและการเพิ่มจํ านวนของเชื้อ <strong>Salmonella</strong><br />

กลไกการปองกันตัวของเซลลเจาบานปกติเมื่อเชื้อแบคทีเรียซึ่งจัดวาเปนสิ่งแปลก<br />

ปลอมเขาสูเซลลจะถูกกลืนกินและถูกยอยทํ าลายดวยเอนไซมภายใน lysosome แตสํ าหรับ<br />

เชื้อ <strong>Salmonella</strong> มันสามารถทํ าบางอยางที่รวดเร็วเพื่อหลบหลีกกลไกการปองกันนี้ โดยการ<br />

ทําใหโครงสรางของ vacuole เปลี่ยนแปลงและมี toxic lysosomesมายับยั้งการยอยเชื้อจาก<br />

นั้นเชื้อ <strong>Salmonella</strong> จะเริ่มแบงตัวภายใน vacuoleทํ าให vacuole โตขึ้น ปจจุบันนี้ยังไมทราบ<br />

แนนอนวาเชื้อ <strong>Salmonella</strong>หลบหนีจากเซลลเจาบานไปสูเซลลอื่นไดอยางไร<br />

อาการของผูปวยและความเปนพิษของเชื้อซัลโมเนลลา<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


12<br />

อาการของผูปวย : ผูปวยที่ไดรับเชื้อซัลโมเนลลามีอาการจํ าแนกออกไดเปน 3 แบบ<br />

(ICMSF,1996) ได<br />

(ก) อาการของระบบทางเดินอาหาร (Gastroenteritis) โดยทั่วไปเกิดจากเชื้อ<br />

ซัลโมเนลลาที่ไมเลือกโฮสต ทํ าใหเกิดโรคอาหารเปนพิษ ชวงระยะเวลาฟกตัวของโรคอยู<br />

ระหวาง 5 ชั่วโมง ถึง 5 วัน แตปกติสัญญาณบอกอาการของโรคมักเริ่มขึ้นประมาณ 12-36<br />

ชั่วโมง หลังจากไดรับเชื้อ ในกรณีที่ไดรับเชื้อเปนจํ านวนมาก อาการจะปรากฏขึ้นเร็วกวา<br />

ปกติหรือถาบุคคลไวตอเชื้อมากเปนพิเศษ อาการก็จะปรากฏเร็วขึ้นกวาปกติดวย อาการของ<br />

ผู ปวยประกอบดวย ทองเดิน คลื่นไส ปวดทอง ไขสูงปานกลาง หนาวสั่น อาการทองรวง<br />

จะรุนแรงตางกันตามลักษณะการถายอุจจาระ เชน อุจจาระอาจมีลักษณะเหลวคลายนํ้ าซุป<br />

ผัก จนถึงการถายเปนนํ้ าและเกิดอาการขาดนํ้ าขึ้น (dehydration) ในบางครั้งผูปวยอาจ<br />

อาเจียน ออนเพลีย เบื่ออาหาร ปวดศรีษะ กระสับกระสาย โดยทั่วไปอาการดังกลาวจะ<br />

ปรากฏอยู นาน 2-5 วัน ถานํ าสิ่งขับถายของผูปวยไปตรวจวิเคราะหในชวงนี้มักจะพบเชื้อ<br />

ซัลโมเนลลาเปนจํ านวนมาก เมื่อเวลาผานไปจํ านวนของเชื้อซัลโมเนลลาจะลดลง แตผูปวย<br />

บางรายอาจขับถายเชื้อซัลโมเนลลาที่มิใชไทฟอยดหลังจากนี้ไปแลวอีก 3 เดือนก็เปนได<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


13<br />

(ข) อาการไขไทฟอยด (Enteric fever) เกิดเนื่องจากเชื้อ S. Typhi, S. Paratyphi A,<br />

S. Paratyphi B (S. Schottmuelleri) และ S. Paratyphi C (S. Hirschfeldii) สวนเชื้อ<br />

S. Typhimurium นั้นมีรายงานวาเปนเชื้อไขไทฟอยดของหนู ระยะเวลาฟกตัวของเชื้อไข<br />

ไทฟอยดอยูระหวาง 7-28 วัน (ขึ้นอยูกับปริมาณของเชื้อที่ไดรับ) เฉลี่ยประมาณ 14 วัน ผู<br />

ปวยมีอาการไมสบาย ปวดศรีษะ ไขขึ้นสูงมากและทรงอยูหลายวัน ปวดทองและปวดเมื่อย<br />

ตามรางกาย ออนเพลีย ถายอุจจาระมีลักษณะเหลวคลายนํ้ าถั่ว (pea-like) หรือเหลวเปนนํ้ า<br />

นอกจากนี้ยังมีอาการคลื่นไส อาเจียน ไอ มีเหงื่อออกตามตัว หนาวสั่น และเบื่ออาหาร มีจุด<br />

แดงตามลําตัว แผนหลังและหนาอก หัวใจเตนชาและออน ทองบวมนํ้ า มามโต บางครั้งมี<br />

เลือดออกจากชองทองหรือจมูกดวย ผูปวยอาจหมดความรูสึก อาการทุเลาชา (ประมาณ 1-8<br />

สัปดาห) และบางครั้งผูปวยอาจเปนพาหะของโรคไปอีกหลายเดือนหรือเปนปก็ได ในกรณี<br />

นี้มักพบเชื้อซัลโมเนลลาในถุงนํ้ าดี<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


14<br />

(ค) อาการติดเชื้อในกระแสโลหิต (Bacteremia/Septicemia) เกิดจากเชื้อซัล<br />

โมเนลลาเขาไปในกระแสโลหิต สืบเนื่องจากเชื้อฟกตัวในลํ าไสเล็ก แลวเขาสูกระแส<br />

โลหิต ผู ปวยอาจจะมีไขสูง ปวดหลัง ปวดทอง และเจ็บหนาอก หนาวสั่น เหงื่อออกตามลํ า<br />

ตัว ไมสบาย เบื่ออาหาร นํ้ าหนักลด อาการที่เกิดขึ้นอาจเปนแบบสั้น ๆ หรือเปนเรื้อรังก็ได<br />

เชื้อซัลโมเนลลาที่เปนสาเหตุรวมถึง S. Typhi, S. Choleraesuis และ S. Dublin เชื้อซัลโมเนล<br />

ลาจากกระแสโลหิตอาจเขาไปอยูตามอวัยวะตาง ๆ ของรางกาย (Archer and Young, 1988;<br />

Smith et al, 1993)<br />

ความเปนพิษ : เชื้อซัลโมเนลลาอาจจะเขาไปอยูในชองวาง (lumen) ของลํ าไส<br />

เล็กสวนปลาย และเพิ่มจํ านวนขึ้น หลังจากนั้นจะไชผานผนังลํ าไสเล็กเขาสูระบบทอนํ้ า<br />

เหลือง และจะทํ าลายเม็ดเลือดขาว จากนั้นจะเขาไปในกระแสโลหิต ทํ าใหเลือดเปนพิษ<br />

(Septiceamia)<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


15<br />

เปนที่ยอมรับกันแลววา อาการเปนพิษของเชื้อซัลโมเนลโลซีสเกี่ยวของกับสารพิษ<br />

2 ชนิด คือ enterotoxin และ cytotoxin คูปอลและดีเบล (koupal and Deibel, 1975) เปนคน<br />

แรกที่แสดงใหเห็นถึงความเปนพิษของ enterotoxin ในป ค.ศ. 1975 ลักษณะของความเปน<br />

พิษคลายกับพิษของ E.coli โดยมีการเพิ่มขึ้นของ cAMP (cyclic adenosine monophosphate)<br />

ในลําไส และชักนํ าใหของเหลวในรางกายสัตวทดลองตกตะกอน แตแตกตางจาก E.coli<br />

ตรงที่ enterotoxin ที่เชื้อซัลโมเนลลาผลิตไดมีปริมาณนอยกวา และยากมากกวาในการ<br />

จําแนกสารพิษออกจากเซลลของแบคทีเรีย ยิ่งกวานั้น enterotoxin ของเชื้อซัลโมเนลลายัง<br />

คลายสารพิษของเชื้ออหิวาต (Choleratoxin-CT) ในดานลักษณะทางชีวภาพและทางพันธุ<br />

กรรม กระนั้นก็ตามเชื้อซัลโมเนลลากอใหเกิดอาการคลายบิดดวย คือมีการทํ าลายเนื้อเยื่อ<br />

ในระบบทางเดินอาหาร ซึ่งเปนอาการที่รุนแรงมากกวาที่จะเกิดจาก enterotoxin แตเพียง<br />

อยางเดียว ดวยเหตุนี้ คูและคณะ (Koo et al,1984) จึงทํ าการตรวจหา cytotoxin จากสารสกัด<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


ของเชื้อซัลโมเนลลา ตามที่มีนักวิจัยชาวยุโรปเคยศึกษาในเรื่องนี้ไวตั้งแตป ค.ศ.1962 เมื่อ<br />

เติมสารสกัดของเชื่อซัลโมเนลลาลงในเซลลเยื่อบุลํ าไสเล็กของกระตายหรือเซลเวอโร<br />

(Vero cells; เปนเซลชนิด monolayer ที่ประกอบดวย cell line ตอเนื่องกัน ไดจากไตของลิง<br />

ชนิดหนึ่ง (African green monkeys) ใชสํ าหรับการทดลองทางชีวภาพ (bioassay) เพื่อหา<br />

ความเปนพิษของ E.coli ) ปรากฏวาเกิดการยับยั้งกระบวนการสังเคราะหโปรตีนขึ้น (Koo<br />

and Peterson, 1983; Koo et al, 1984) ดังนั้น นักวิจัยจึงสรุปวาการทํ าลายเซลลของเชื้อซัล<br />

โมเนลลาที่เกิดขึ้นกับเยื่อบุลํ าไสเล็กหรือเซลเวอโรนั้นเปนผลมาจาก cytotoxin นั่นคือ<br />

อาการเปนพิษของเชื้อซัลโมเนลลาเกิดจากสารพิษประเภท enterotoxin และ cytotoxin<br />

ระบาดวิทยา<br />

เชื้อ <strong>Salmonella</strong> เปนเชื้อที่กอใหเกิดอาการทองเสียในมนุษยและสัตว สามารถตรวจ<br />

พบเชื้อในมนุษยหรือสัตวที่ปวยจากอุจจาระ โดยผูติดเชื้อไดรับเชื้อจากการกินอาหารดิบ<br />

หรือที่ไมผานการปรุงใหสุก หรืออาหารที่ปนเปอนเชื้อ โดยที่แตละซีโรวารของเชื้อมีความ<br />

แตกตางกันโดยมีเชื้อมากกวา 2500 ซีโรวาร ในสหรัฐอเมริกาพบวา S. Typhimurium และ<br />

S. Enteritidis เปนซีโรวารที่ระบาดมาก แตในประเทศไทยนั้นพบวา S. Welteverden เปนซี<br />

โรวารที่กอใหเกิดการติดเชื้อในคนและสัตวไดมากกวา 2 ซีโรวารดังกลาวขางตน<br />

ผู ปวยที่ติดเชื้อ <strong>Salmonella</strong> มีอาการปวยที่แตกตางกันตั้งแตทองเสีย ถายเหลวเปน<br />

นํ้าสีเขียว หรือ ถายมีมูกหรือมีเลือดปน ปวดทองมีลักษณะปวดเกร็งที่หนาทอง ปวดเบง<br />

สวนใหญมีไขหรือมีไขเรื้อรัง อาจมีอาการติดเชื้อนอกระบบทางเดินอาหารรวมดวย<br />

เชื้อ <strong>Salmonella</strong> อาศัยอยู ในทางเดินอาหารของมนุษยและสัตวทุกชนิด รวมถึงนก<br />

ดวย การติดตอของเชื้อ <strong>Salmonella</strong> เกิดขึ้นเนื่องจากการที่มนุษยรับประทานอาหารที่ปน<br />

เปอนเชื้อจากอุจจาระสัตว การปนเปอนของเชื้อในอาหารนั้นไมไดทํ าใหอาหารสีและกลิ่น<br />

ตางไปจากปกติ อาหารที่พบไดบอยวามีการปนเปอนคืออาหารที่ไดจากสัตว เชน เนื้อสัตว<br />

ไก นม หรือไข แตอาหารทั้งหมดแมกระทั่งพืชสามารถปนเปอนเชื้อนี้ได วัตถุดิบอาหารที่<br />

ไดจากสัตวพบไดเสมอวามีการปนเปอนเชื้อ แตอยางไรก็ตามพบวาการปรุงอาหารใหสุก<br />

สามารถทํ าลายเชื้อ <strong>Salmonella</strong> ได อาหารเกิดการปนเปอนไดจากการไมลางมือของผูติดเชื้อ<br />

ที่สัมผัสอาหาร หรือผูที่ลืมลางมือดวยสบูหลังเขาหองนํ้ า<br />

เชื้อ <strong>Salmonella</strong> อาจพบไดในอุจจาระของสัตวเลี้ยง โดยเฉพาะอยางยิ่งที่มีอาการ<br />

ทองเสีย และผูเลี้ยงสัตวสามารถติดเชื้อไดถาไมลางมือหลังสัมผัสอุจจาระสัตวเหลานี้ สัตว<br />

เลื้อยคลานเปนแหลงเก็บกักเชื้อ <strong>Salmonella</strong> ผู เลี้ยงสัตวควรลางมือทุกครั้งทันทีหลังสัมผัส<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร<br />

16


สัตวเลี้ยงชนิดนี้ แมวาสัตวเลื้อยคลานเหลานี้จะมีสุขภาพดี ผูใหญควรระมัดระวังเด็กใหลาง<br />

มือหลังจับสัตวเลื้อยคลานเหลานี้ทุกครั้ง<br />

เกณฑในการวินิจฉัยเพื่อการรักษา (Diagnostic Criteria for Treatment)<br />

1. เกณฑทางคลีนิก (Clinical Ctiteria)<br />

ไมมีลักษณะทางคลีนิกที่ชัดเจน<br />

2. เกณฑการตรวจทางหองปฏิบัติการ (Labotatory Criteria)<br />

- ทั่วไป<br />

ตรวจอุจจาระพบ WBC > 20 cell/HPE<br />

- จํ าเพาะ<br />

เพาะเชื้อจาก อุจจาระ ปสสาวะ เลือด ไขกระดูก นํ้ าไขสันหลัง หรือของเหลวจาก<br />

อวัยวะที่สงสัยมีการติดเชื้อ พบ <strong>Salmonella</strong> spp. ที่นอกเหนือจาก S. Typhi และ<br />

S. Paratyphi<br />

การรักษา (Treatment)<br />

1. การรักษาตามอาการ<br />

ผูที่ติดเชื้อ <strong>Salmonella</strong> สามารถหายไดเองภายใน 4 ถึง 7 วัน และบอยครั้งพบวาไม<br />

ตองการการรักษา มีผูปวยจํ านวนนอยที่มีอาการสูญเสียนํ้ าอยางรุนแรง หรือมีการติดเชื้อ<br />

นอกระบบทางเดินอาหาร ผูปวยเหลานี้จํ าเปนตองไดรับสารนํ้ าทดแทนผานทางเสนเลือด<br />

และรักษาการติดเชื้อดวยยาตานจุลชีพ ดังนี้ Ampicillin, Gentamicin, Trimethoprim/<br />

Sulfamethoxazole (Bactrim หรือ Co-Trimoxazole) หรือ Ciprofloxacin อยางไรก็ตามพบ<br />

วามีเชื้อ <strong>Salmonella</strong> บางซีโรวารที่มีการตานยาตานจุลชีพทั้งนี้เปนผลเนื่องจากการใชยาตาน<br />

จุลชีพผสมในอาหารสัตวเพื่อเรงการเจริญเติบโต<br />

2. การรักษาแบบจํ าเพาะ เมื่อตรวจพบแบคทีเรียที่เปนสาเหตุ โดยใชสารตานจุล<br />

ชีพในกรณี<br />

- การติดเชื้อนอกระบบทางเดินอาหาร หรือการติดเชื้อในกลุมที่มีความเสี่ยง<br />

สูง ไดแก เด็กอายุตํ่ ากวา 1 ป ผูสูงอายุ (มากกวา 65 ป) ผู ปวยที่ไดรับยากด<br />

การทํ างานของระบบภูมิคุมกัน ผู ปวยโรคเบาหวาน ผูปวยโรคตับแข็ง และ<br />

17<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


ผู ปวยโรคตอมลูกหมากที่ตองใส Prosthetic valve ใหรักษาโดยใชยาตาน<br />

จุลชีพ Norfloxacin หรือ Ceftriaxone หรือ Ciprofloxacin<br />

- ผูประกอบอาหารที่เปนพาหะควรใหเปลี่ยนแผนกหรือเลี่ยงการเตรียมหรือ<br />

ปรุงอาหาร โดยมิตองใหสารตานจุลชีพ<br />

18<br />

ผูปวยที่มีอาการทองเสียสามารถหายเปนปกติได แมวาจะพบเชื้อไดเปนระยะเวลา<br />

นานหลังจากไมมีอาการทองเสียแลวหลายเดือน มีผูปวยจํ านวนเล็กนอยที่ติดเชื้อ <strong>Salmonella</strong><br />

แลวมีอาการอื่น ๆ เชน เจ็บปวดตามขอ ระคายเคืองตา และปวดกระเพาะปสสาวะ เรียก<br />

อาการเหลานี้วา Reiter’s Sydrome ผู ปวยที่มีอาการปวยเรื้อรังเปนเดือนหรือป สามารถนํ าไป<br />

สูอาการขออักเสบที่ยากตอการรักษา เนื่องจากการใชยาตานจุลชีพรักษามักไมไดผลในผู<br />

ปวยที่มีอาการขออักเสบแลว<br />

การควบคุมและปองกัน<br />

ยังไมมีวัคซีนปองกันผูติดเชื้อ <strong>Salmonella</strong> โดยพบวาการบริโภคเนื้อสัตวและผลิต<br />

ภัณฑอาหารจากสัตวมีโอกาสที่จะไดรับเชื้อจากการปนเปอน ผูบริโภคจึงไมควรกินอาหาร<br />

ดิบหรือไข เนื้อไก หรือเนื้อ ที่ไมผานการปรุงใหสุก อาหารบางชนิดเชน ไขที่มักใชเปนสวน<br />

ประกอบในการทํ าอาหารโดยไมผานการปรุง เชน นํ้ าสลัด อาหารประเภทเนื้อสัตว ตองปรุง<br />

ใหสุกดีพอ นํ้ านมและผลิตภัณฑนํ้ านม ตองผานการฆาเชื้อดวยเทคนิค pasteurized<br />

การปนเปอนขามจากอาหารเปนสิ่งที่ตองระมัดระวัง อาหารที่ยังไมผานการปรุงให<br />

สุกตองเก็บไวแยกตางหากจากอาหารที่ปรุงสุกแลว และแยกออกจากอาหารที่พรอมบริโภค<br />

มือ เขียง โตะ มีด และอุปกรณเครื่องใชในการประกอบอาหารควรลางหลังจากใชรวมกับ<br />

อาหารที่ยังไมผานการปรุง ลางมือทุกครั้งกอนประกอบอาหาร และระหวางสัมผัสอาหาร<br />

ตางชนิดกัน<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


ผู ปวยที่ติดเชื้อ <strong>Salmonella</strong> ไมควรเปนผูเตรียมอาหารหรือนํ้ า จนกวาจะตรวจไมพบ<br />

เชื้อ <strong>Salmonella</strong> เปนระยะเวลานานพอสมควร<br />

ผูเลี้ยงสัตวควรลางมือทุกครั้งหลังสัมผัสอุจจาระสัตว โดยพบวาสามารถพบเชื้อ<br />

<strong>Salmonella</strong> จากสัตวเลื้อยคลานที่ปกติ ดังนั้นทุกคนควรลางมือทันทีหลังสัมผัสสัตวเลื้อย<br />

คลาน สัตวเลื้อยคลาน (รวมถึงเตา) ไมเหมาะสํ าหรับเปนสัตวเลี้ยงของเด็ก หรือเลี้ยงในบาน<br />

ที่มีเด็กทารก<br />

การปองกัน<br />

การทราบจํ านวนผูปวย Salmonellosis มีความจํ าเปนอยางมากทางดานสาธารณสุข<br />

ทั้งยังตองหาซีโรวารของเชื้อเพื่อเปรียบเทียบกับซีโรวารอื่น ๆ ที่พบจากแหลงใกลเคียงกัน<br />

ถาหากเกิดการปวยในชวงเวลาเดียวกัน อาจเกิดจากแหลงรานอาหาร อาหาร หรือนํ้ าประปา<br />

จําเปนตองใชมาตรการปองกันทางดานสาธารณสุขที่ถูกตอง<br />

การปองกันบางขั้นตอนตองทํ าเปนประจํ าทุกวัน เชน การ Pasteurized นํ้านม และ<br />

การเตรียมนํ้ าประปา มีผลการตอการปองกันเชื้ออยางมาก ในสหรัฐอเมริกาป ค. ศ. 1970 พบ<br />

วาเตาเปนสัตวเลี้ยงที่เปนแหลงรังของโรค <strong>Salmonella</strong> และตอมาในป ค. ศ. 1975 ไดมีการ<br />

ออกกฎหมายหามการขายเตาเปนสัตวเลี้ยงขึ้น สํ าหรับการพัฒนาดานความสะอาดของฟารม<br />

เลี้ยงสัตว กระบวนการในโรงเชือด และการเก็บเกี่ยวผักและผลไม ตลอดจนการบรรจุหีบ<br />

หอ เหลานี้สามารถปองกันการติดเชื้อ Salmonellosis ที่เกิดจากปนเปอนเชื้อ การใหการ<br />

ศึกษาแกพนักงานโรงงานผลิตอาหารเปนแนวทางขั้นพื้นฐานในความปลอดภัยดานอาหาร<br />

และการสุมตรวจเชื้อจากรานอาหาร อาจปองกันการปนเปอนขาม และอาหารอื่น ๆ ที่ใชมือ<br />

สัมผัสที่สามารถทํ าใหเกิดการระบาด การบริโภคไขที่ผานการปรุงสุกในรานอาหาร โรง<br />

พยาบาล และสถานเลี้ยงเด็กออน เปนการปองกันที่สํ าคัญอยางมาก ในอนาคตการใชรังสี<br />

หรือวิธีการอื่น ๆ อาจสามารถลดการปนเปอนเชื้อจากอาหารดิบไดมากขึ้น<br />

19<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


วิธีเก็บสิ่งสงตรวจหาเชื้อ <strong>Salmonella</strong><br />

เนื่องจากเชื้อ <strong>Salmonella</strong> สามารถตรวจพบไดจากคน อาหาร นํ้ า อาหารสัตว มูล<br />

สัตว และสิ่งแวดลอมตาง ๆ โดยผูเรียบเรียงมีวัตถุประสงคเพื่อเปนแนวทางในการเก็บสิ่งสง<br />

ตรวจ และวิธีการตรวจหาเชื้อ <strong>Salmonella</strong> จากสิ่งสงสัยใหกับผูเขารวมการอบรมไดทราบ<br />

แนวทางเบื้องตน<br />

I. วิธีเก็บอุจจาระหรือ rectal swab จากผูปวย ,ผู ที่เปนพาหะ<br />

โดยทั่วไปแลวมีหลักเกณฑคลายกับการเก็บสิ่งสงตรวจอื่นๆ เพื่อการเพาะเชื้อ โดยยึด<br />

หลักเกณฑดังนี้คือ(อรุณ บางตระกูลนนท, 2541)<br />

1. ความสัมพันธกับการไดรับยาปฏิชีวนะ ควรเก็บสิ่งสงตรวจกอนผูปวยจะไดรับสาร<br />

ตานจุลชีพเพราะสารตานจุลชีพที่ไดรับเขาไปจะลดจํ านวนเชื้อใหนอยลง ทํ าให<br />

โอกาสตรวจพบเชื้อลดลง โดยเฉพาะในผูปวยถาไดรับสารตานจุลชีพแลวจะตรวจ<br />

ไมพบเชื้อ <strong>Salmonella</strong> จําเปนตองหยุดสารตานจุลชีพกอน 2-3 วัน จึงจะตรวจพบ<br />

เชื้อได หากมีความจํ าเปนไมอาจหยุดการใชสารตานจุลชีพ ควรแจงใหเจาหนาที่<br />

หองปฏิบัติการทราบเพื่อจะไดเลือกใชวิธีการเพาะเชื้อที่ลดผลกระทบจากสารตาน<br />

จุลชีพนั้น เชนโดยการเติมเอนไซมเพนนิซิลลินเนส หรืองดการเจือจางสิ่งสงตรวจ<br />

กอนการเพาะเชื้อ<br />

2. ตําแหนง ลักษณะสิ่งตรวจที่ดี ควรเก็บสิ่งสงตรวจจากบริเวณหรือตํ าแหนงที่มี<br />

โอกาสพบเชื้อมากที่สุด เชนในกรณีที่อุจจาระได ควรแนะนํ าใหผูปวยเก็บอุจจาระ<br />

สวนที่มีมูก หรือมูกปนเลือดบริเวณดังกลาวจะมีเชื้ออยูจํ านวนมาก<br />

3. ความสัมพันธกับระยะเวลาของโรค ควรเก็บสิ่งสงตรวจในชวงระยะเวลาของการ<br />

ดําเนินโรคที่จะมีโอกาสพบเชื้อมากที่สุด ในกรณีของ <strong>Salmonella</strong> และ Shigella คือ<br />

ในระยะ 3 วันแรก เมื่อเริ่มมีอาการอุจจาระรวง หลังจากนี้ไปแลวโอกาสจะพบเชื้อมี<br />

นอยลงตามลํ าดับ<br />

4. ปริมาณที่เหมาะสม ควรเก็บสิ่งสงตรวจใหไดปริมาณมากพอ เพื่อใหสามารถใช<br />

ในการตรวจไดครบสมบูรณของแตละวิธี การเก็บอุจจาระสํ าหรับการเพาะเชื้อควร<br />

เก็บประมาณ 0.5-2 กรัม และควรเก็บใสภาชนะที่สะอาดและปราศจากเชื้อ<br />

5. วิธีการเก็บสิ่งสงตรวจ สําหรับการตรวจหา <strong>Salmonella</strong> จากลํ าไส นอกจากจะสง<br />

เปนอุจจาระแลว สวนใหญมักใชสํ าลีพันปลายไมทํ า rectal swabโดยนํ าไม swab จุม<br />

ลงใน Cary Blair เพื่อใหสํ าลีติดนํ้ ายาและออนตัวเพื่อสะดวกเวลาสอดเขาไปใน<br />

20<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


ทวารหนักใหลึกเขาไปประมาณ 1-1.5 นิ้ว และควรตรวจดูวามีอุจจาระติดอยูที่ไม<br />

swab หากไมมีอุจจาระติดอยูที่ไม swab ให swab ซํ้ าใหม<br />

6. การนํ าสงหองปฏิบัติการ ควรรีบนํ าสงหองปฏิบัติการทันทีหลังจากเก็บ เพื่อจะได<br />

รับผลการตรวจที่นาเชื่อถือ การเก็บสิ่งสงตรวจและตั้งทิ้งไวที่หอผูปวยจะทํ าให<br />

โอกาสตรวจพบเชื้อ <strong>Salmonella</strong> และ Shigella ลดลง เนื่องจากอัตราการตายของเชื้อ<br />

เพิ่มขึ้นและถูกบดบังจากเชื้อประจํ าถิ่นในลํ าไส ซึ่งจะเพิ่มจํ านวนขึ้นอยางมากมาย<br />

7. ขอมูลของคนไข ควรใหขอมูลเกี่ยวกับประวัติการปวยของผูปวย โดยเฉพาะอยาง<br />

ยิ่งการวินิจฉัยเบื้องตนของแพทย เพื่อเจาหนาที่หองปฏิบัติการจะไดใชเปนขอมูล<br />

ประกอบในการเลือกใชอาหารเลี้ยงเชื้อ และเทคนิคการเพาะเลี้ยง เพื่อใหสามารถ<br />

ตรวจพบเชื้อสาเหตุที่สงสัยไดมากที่สุด<br />

ภาชนะสํ าหรับเก็บและนํ าสงอุจจาระ<br />

จําเปนตองใชภาชนะที่สะอาด และปราศจากเชื้อ สามารถเก็บรักษาจุลชีพที่มีอยู<br />

โดยไมมีการลดหรือเพิ่มจํ านวนขณะนํ าสงหองปฏิบัติการ ภาชนะที่ใชเก็บอุจจาระสงตรวจ<br />

นั้นมีหลายชนิดทั้งชนิดที่ใชครั้งเดียวทิ้ง และที่สามารถนํ ากลับมาใชไดอีก หองปฏิบัติการ<br />

สามารถเลือกใชไดตามความสะดวก และงบประมาณของหองปฏิบัติการ แตวัตถุประสงค<br />

หลักก็คือตองการรักษาจุลชีพไมใหลดจํ านวนลงขณะนํ าสงหองปฏิบัติการ วิธีการหนึ่งที่<br />

สามารถหลีกเลี่ยงปญหานี้ก็โดยการเก็บสิ่งสงตรวจใสในอาหารที่เรียกวา Transport media<br />

ซึ่งประกอบดวยสารอาหารและเกลือแรเพื่อชวยรักษาจุลชีพใหคงมีชีวิตอยูไดในชวงระยะ<br />

เวลาหนึ่ง แตจะไมทํ าใหจุลชีพเพิ่มจํ านวนขึ้น<br />

วิธีการนํ าสงอุจจาระและ rectal swab<br />

1. หากสามารถเก็บแลวนํ าสงหองปฏิบัติการไดทันที ใหผูปวยถายอุจจาระลงใน<br />

ภาชนะที่สะอาดและปราศจากเชื้อแลวนํ าสงหองปฏิบัติการ หากภาชนะที่ผูปวย<br />

ถายลงนั้นไมเหมาะสมตอการสงตอใหใชชอน หรือไมที่ใชสํ าหรับกดลิ้นผูปวย<br />

ตักอุจจาระประมาณ 0.5-2 กรัม โดยเลือกบริเวณที่เปนมูกเลือด หรือมูกปนเลือด<br />

ใสในขวดแกวหรือกลองพลาสติกที่สะอาดและปราศจากเชื้อ<br />

2. หากไมสามารถนํ าสงหองปฏิบัติการไดภายใน 2-3 ชั่วโมง ควรเก็บอุจจาระ<br />

ประมาณ 0.5-2 กรัมใสใน transport mediumไดแก Cary blair transport medium<br />

หรือ Amies หรือ Stuart transport medium หรือ Buffered glycerol saline<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร<br />

21


solution แลวรีบสงใหเร็วที่สุดที่จะทํ าได หากตองการแยกเชื้อ Shigella ควรใช<br />

Buffed glycerol saline solution จะไดผลดีกวา Cary blair transport medium<br />

3. ในกรณีที่เก็บสิ่งสงตรวจโดยการใช swab เชน เมื่อมีการระบาดของโรคอุจจาระ<br />

รวงหรือในกรณีที่ตองการตรวจหาผูที่เปนพาหะของโรค ใหเก็บสิ่งสงตรวจโดย<br />

การทําความสะอาด บริเวณโดยรอบทวารหนักดวยสบู และนํ้ าสะอาด จากนั้นใช<br />

swab ที่ปราศจากเชื้อจุมดวย sterile isotonic solution หรือ sterile broth สอดผาน<br />

ทวารหนัก ลึกเขาไป 1-1.5 นิ้วหมุนเบาๆให swab ไดสัมผัสกับ ผนังของเยื่อบุ<br />

ทวารหนักใหมากที่สุด แลวนํ า swab จุมลงในอาหารของ transport medium กรณี<br />

ตองการตรวจหาเชื้อ Vibrio cholerae สามารถเก็บ rectal swab ใสในอาหารเพิ่ม<br />

จํานวนเชื้อ Alkaline Peptone Water (APW) แทนก็ได ถาเวลาในการนํ าสงไม<br />

เกิน 2 ชั่วโมง<br />

หมายเหตุ Cary blair transport medium Cary และ Blair เปนผูคิดสูตรอาหาร<br />

ชนิดนี้ขึ้นโดยการใช inorganic buffer แทน glycerophosphate ใน Stuart transport medium<br />

ซึ่งจะชวยลดปญหาจากการที่แบคทีเรียประจํ าถิ่นเจริญบดบังเชื้อกอโรคไดในระดับหนึ่ง<br />

นอกจากนี้ Cary และ Blair ยังพบวาอาหารชนิดนี้สามารถถนอมเชื้อกอโรคในลํ าไสไดนาน<br />

สามารถตรวจพบ Shigell, <strong>Salmonella</strong>, V. cholerae และ Y. pestis ไดนาน 75 วัน<br />

จากคํ าแนะนํ าขององคการอนามัยโลก อาหารถนอมเชื้อมีอายุ 5-8 เดือนหลังจากได<br />

เตรียมขึ้น ทั้งนี้ขึ้นอยูกับการเก็บ หากเก็บไวในอุณหภูมิ 4 o C และอยู ในที่มืดจะเก็บไวได<br />

นาน ฉะนั้นควรสังเกตอาหารถนอมเชื้อหากมีการเปลี่ยนสีจากเดิมที่มีสีขาวขุน หรือมีการ<br />

ปนเปอนของเชื้อ หรืออาหารถนอมเชื้อแหง<br />

22<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


II. วิธีการเก็บตัวอยาง จากภาชนะและอุปกรณตรวจหา <strong>Salmonella</strong><br />

ควรใชไม swab ที่มีสํ าลีพันไมขนาดใหญที่ผานการทํ าใหปราศจากเชื้อแลว และ<br />

ดําเนินการดังนี้คือ<br />

1. นําไม swab จุมลงใน 0.85 % NSS หรือ อาหารเลี้ยงเชื้อชนิดที่เปนนํ้ าเชน<br />

Buffered Peptone Water (BPW) หรือ Nutrient Broth (NB) และ Tryptic Soy<br />

Broth (TSB)<br />

2. นําไปปายภาชนะหรืออุปกรณที่จะตรวจใหทั่ว<br />

3. นําไม swab ที่ปายแลวมาใสในอาหารเลี้ยงเชื้อชนิดที่เปนนํ้ าหรือ ใสลงใน<br />

Cary-Blair<br />

4. เขียนเบอร ชนิดของภาชนะและอุปกรณที่ทํ าการ swab<br />

5. เขียนสถานที่เก็บ วัน เวลา และชื่อผูเก็บตัวอยาง<br />

6. สงมายังหองปฏิบัติการทันที<br />

III. การวิเคราะหนํ้ าและวิธีการเก็บตัวอยางนํ้ า<br />

การวิเคราะหนํ้ าทางจุลชีววิทยานั้น การเก็บตองเลือกเก็บใหเหมาะสมเพื่อใหไดตัว<br />

อยางนํ้ าที่จะสามารถตรวจพบเชื้อเชน การขนสงและการเตรียมตัวอยางเปนเรื่องที่สํ าคัญมาก<br />

ตองใชวิธีปราศจากเชื้อ (Aseptic Techniques) ไมเกิดความเบี่ยงเบนหรือลํ าเอียง ในการเก็บ<br />

ตัวอยางนํ้ามาวิเคราะหปริมาณนํ้ าตองเพียงพอสํ าหรับการวิเคราะห การนํ าสงตัวอยางไปยัง<br />

หองปฏิบัติการเปนสิ่งที่ตองระมัดระวัง และตองดํ าเนินการอยางเขมงวดตองทํ าโดยใหคุณ<br />

ภาพทางดานจุลชีววิทยาของนํ้ าไมเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่ทํ าการเก็บตัวอยาง เพื่อมิใหการ<br />

วิเคราะหและการแปรผลผิดพลาดจากความเปนจริง<br />

1. อุปกรณสํ าหรับเก็บตัวอยาง<br />

1.1 ภาชนะที่ใชเก็บตัวอยาง ควรเปนภาชนะที่ใหม อาจเปนขวดแกวหรือขวด<br />

พลาสติก ที่ยังไมเคยบรรจุสารอื่นๆมากอนหากบรรจุมากอนควรเปนชนิดที่งายตอการลาง<br />

เชน ภาชนะบรรจุนํ้ าดื่ม นํ้ าหวาน สุรา เปนตน ไมควรเปนภาชนะที่บรรจุนํ้ าปลา หรือนํ้ ามัน<br />

เพราะยากแกการลางและการทํ าความสะอาด ควรลางภาชนะและฝาจุก ดวยผงซักฟอก หรือ<br />

นํ้ายาลางภาชนะจนแนใจวาสะอาด จากนั้นผานการฆาเชื้อ โดยใชความรอนชื้นที่ 121 o C<br />

เวลา 15 นาที หรือความรอนแหงที่ 170 o C เวลา 2 ชั่วโมง การใชความรอนชื้นหรือความ<br />

รอนแหงขึ้นอยูกับชนิดของภาชนะ และกอนเก็บตัวอยางตองลางดวยนํ้ าที่จะเก็บอีกครั้งหนึ่ง<br />

สําหรับขวดเก็บตัวอยางนํ้ าเพื่อใชเก็บตัวอยางนํ้ าที่มีคลอรีน ตองหยดสารละลาย<br />

โซเดียมไทโอซัลเฟต (Na 2 S 2 O 3 5H 2 O) ความเขมรอยละ 3 จํ านวน 0.1 มิลลิลิตร ลงในขวด<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร<br />

23


เก็บตัวอยางนํ้ าขนาด 120 มิลลิลิตร กอนการทํ าใหปราศจากเชื้อ ซึ่งเมื่อนํ าขวดดังกลาวไป<br />

เก็บนํ้าที่มีคลอรีนปริมาณโซเดียมไทโอซัลเฟตนี้จะทํ าใหนํ้ าที่มีคลอรีนตกคาง (residual<br />

chlorine) 5 ppm เปนกลางได ทํ าใหสามารถปองกันการตายของเชื้อจากคลอรีนในนํ้ า ซึ่ง<br />

อาจจะเกิดขึ้นในระหวางการสงตัวอยางมายังหองปฏิบัติการ<br />

1.2 กลองบรรจุภาชนะที่เก็บตัวอยาง ควรเปนชนิดที่เก็บความเย็นได เพื่อรักษาคุณ<br />

ภาพนํ้าและการเปลี่ยนแปลงของเชื้อจุลินทรียในขณะสงตัวอยาง<br />

1.3 นํ้ ายาฆาเชื้อ เอทิลแอลกอฮอล 70 % และ สํ าลี<br />

1.4 ตะเกียงแอลกอฮอร ในกรณีที่ตองใช<br />

1.5 เทอรโมมิเตอร อุณหภูมิตั้งแต - 20 ถึง 100 o C เพื่อใหทราบอุณหภูมิที่เก็บ<br />

2. วิธีการเก็บตัวอยางนํ้ า<br />

การเก็บตองไมเปดขวดเก็บตัวอยางจนกวาจะทํ าการบรรจุตัวอยาง เมื่อเก็บตัวอยาง<br />

ซึ่งเปนตัวแทนของนํ้ าที่จะตรวจโดยวิธีปราศจากเชื้อแลวใหเหลือชองวางของอากาศในขวด<br />

อยางนอย 2.5 เซนติเมตร (เพื่อใหสามารถเขยาขวดเพื่อผสมตัวอยางกอนทํ าการวิเคราะห)<br />

แลวรีบปดฝาจุกทันทีปริมาณการเก็บตัวอยางจะตองเพียงพอในการตรวจวิเคราะห<br />

แหลงนํ้ าตาง ๆ ที่นํ าสงตรวจ<br />

นํ้าประปาหรือนํ้ าที่ไหลจากวาลวนํ้ า เตรียมขวดแกวที่สะอาดปราศจากเชื้อมีจุกปด<br />

สนิทขนาด 500 มิลลิลิตร ทํ าความสะอาดวาลวนํ้ าโดยเช็ดดวยสํ าลีชุปแแอกอฮอล 70 %<br />

หรือใชไฟเผา กอนแลวปลอยใหไหลทิ้งประมาณ 400 มิลลิลิตร แลวเปดจุก(หรือฝาขวด)ทัน<br />

ที ระวังอยาใหจุกหรือฝาขวดสัมผัสมือหรือสิ่งอื่นใด เพื่อปองกันการปนเปอนของเชื้อบักเต<br />

รีจากภายนอกปดฉลากแลวเตรียมนํ าสงวิเคราะห<br />

เก็บจากบอบาดาล บอบาดาลชนิดเครื่องสูบโยกดวยมือ ใหสูบนํ้ าทิ้งประมาณ<br />

5 นาที กอนเก็บตัวอยาง หากไมมีเครื่องสูบนํ้ าใหเก็บตัวอยางโดยตรงจากบอ โดยใชขวดเก็บ<br />

ซึ่งถวงนํ้าหนักโดยตรงที่กนขวดหรือใชเครื่องมือเก็บตัวอยาง โดยหลีกเลี่ยง การปนเปอน<br />

จากสิ่งสกปรกบนผิวนํ้ า<br />

แหลงนํ้ าดิบ การเก็บตัวอยางนํ้ าจากแหลงนํ้ าดิบโดยตรงไดแก แมนํ้ า ธารนํ้ า<br />

ทะเลสาบ อางเก็บนํ้ า นํ้ าพุหรือบอนํ้ าตื้น ไมควรเก็บตัวอยางใกลฝงมากเกินไป หรือเก็บตัว<br />

อยางที่หางแหลงนํ้ ามากเกินไปโดยพิจารณาตามความเหมาะสม เชนเก็บจากแหลงชุมชน<br />

หรือบริเวณที่มีนักทองเที่ยวเปนจํ านวนมาก วิธีการเก็บเปดจุกหรือฝาขวดใชมือจับบริเวณ<br />

กนขวดควํ่ าปากขวดลงใตผิวนํ้ าประมาณ 50 เซนติเมตร แลวจึงคอยๆเอียงปากขวดขึ้นเพื่อ<br />

24<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


รับนํ้า ในกรณีนํ้ านิ่งใหเอียงขวดและกนขวดไปขางหนาในทิศทางขนานเพื่อรับนํ้ าแลวรีบ<br />

ยกขวดขึ้นโดยเร็วปดฝาขวดปดฉลาก<br />

นํ้าบริโภคบรรจุขวด และนํ้ าแร เก็บตัวอยางโดยการสุมจากบริเวณที่ผลิตหลาย ๆ<br />

ตําแหนง ในโรงงานผลิตโดยเก็บนํ้ าจาก 6 ขวด ตอ 1 ตัวอยาง ในขนาดบรรจุ 1,000 ลบ.ซม.<br />

(1 ลิตร) หรือสุมจากสถานที่จํ าหนาย จากหลาย ๆ กลอง ในกรณีที่บรรจุถุงที่ไมรั่วและใน<br />

กรณีที่ขนาดบรรจุมากกวา 4,000 ลบ.ซม. (4 ลิตร) ขึ้นไปใหสุม 2 ขวด<br />

นํ้าผลิตนํ้ าแข็ง เก็บตัวอยางจากจุดกอนเขาซองนํ้ าแข็ง นํ าภาชนะที่เตรียมไวแลวลาง<br />

ดวยนํ้าตัวอยางกอน จึงเก็บตัวอยางใหเต็มภาชนะปดจุก หรือฝาใหสนิท หากใชภาชนะ<br />

หลายๆใบ ควรบรรจุพรอมกันในวันและเวลาเดียวกัน<br />

นํ้าแข็งกอน หรือ Cube เลือกแบงนํ้ าแข็งกอนจากหลาย ๆ ซอง โดยแบงเปนกอน ๆ<br />

ขนาดพอบรรจุในภาชนะได หากตัดกอนใหญเกินไปจะบรรจุไดนอย จึงควรทํ าเปนกอน<br />

เล็กๆหลายกอนบรรจุใหเต็มปดฝาใหสนิท ถาเปนนํ้ าแข็ง Cube สุมตัวอยางโดยเลือกตัดจาก<br />

หลาย ๆ จุด ในเครื่องทํ านํ้ าแข็งเครื่อง เดียวกัน<br />

นํ้าทุกชนิดที่กลาวมานี้ใหสงถึงหองปฏิบัติการภายใน 12 ชั่วโมง นับแตเวลาเก็บ<br />

หากเร็วกวานี้ไดยิ่งดี ถาเปนนํ้ าแข็งควรรักษาการเปนกอนแข็งจนถึงหองปฏิบัติการ สวนนํ้ า<br />

ชนิดอื่น ๆ นอกจากนํ้ าแข็ง ควรรักษาที่อุณหภูมิประมาณ 20 -30 องศาเซลเซียส ไมควรให<br />

รอนไปกวานั้น เพราะอาจไดผลการวิเคราะหที่คลาดเคลื่อน<br />

25<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


IV. วิธีการเก็บตัวอยางอาหารสงตรวจหาจุลินทรีย<br />

อุปกรณในการใชเก็บอาหารสงตรวจ<br />

1. ภาชนะที่บรรจุอาจใชขวดแกว มีจุกปดสนิท ทํ าใหปราศจากเชื้อโดยอบที่อุณหภูมิ 107 O C<br />

นาน 1 ชั่วโมงหรือใชถุงพลาสติกที่ปราศจากเชื้อ หรือสะอาด ภาชนะควรมีความจุอยางนอย<br />

250 ml.<br />

2. ใชอุปกรณที่ปราศจากเชื้อ หรือที่สะอาดตักตัวอยางอาหาร บรรจุลงในภาชนะโดยระวัง<br />

อยาใหมีการปนเปอนจากบักเตรีภายนอก ใหไดปริมาตรประมาณอยางนอย 200 กรัม ปดจุก<br />

และรัดปากถุงใหแนน ปดฉลาก<br />

วิธีการเก็บอาหาร :- ใชวิธีปราศจากเชื้อ ( Aseptic Technique)<br />

1. ภาชนะตักและใสตัวอยางที่ปราศจากเชื้อและ หลีกเลี่ยงการจับตองดวยมือ<br />

2. สุ มตัวอยางจากสวนตางๆใหมากที่สุดเทาที่จะทํ าได<br />

3. ถาอาหารถูกเปดทิ้งไว ควรตักอาหารใหตํ่ ากวาผิวหนา 1 นิ้ว<br />

4. ถาเปนชิ้นสวนสัตวหรือปลาทั้งตัว ควรสุมเนื้อบริเวณชองทอง ลํ าไส และทางเดิน<br />

อาหาร เนื้อบริเวณหัวและหางบาง<br />

5. อาหารแตละตัวอยางควรเก็บไมตํ่ ากวา 500 กรัม<br />

6. กรณีที่เกิดการระบาดของโรคอาหารเปนพิษตองเก็บอาหารที่เหลือจากผูปวยรับ<br />

ประทานนํ าสงหองปฏิบัติการใหหมด<br />

7. อาหารแหงควรเก็บประมาณ 6-7 หอขึ้นอยูกับขนาดตัวอยาง<br />

8. อาหารกระปองควรสุมประมาณ 12 กระปอง<br />

26<br />

วิธีเก็บรักษาอาหาร,การนํ าสงตัวอยางอาหาร<br />

1.อาหารที่เก็บไดแลวควรปดภาชนะที่ใสอาหารอยางดีนํ าสงภายใน 1-4 ชม.โดยใชความ<br />

เย็น เชน นํ้าแข็งแหงหรือใชนํ้ าแข็งที่สะอาด<br />

2. ในกรณีที่ไมสามารถหานํ้ าแข็งไดตองนํ าสงตัวอยางภายใน 1 ชม.<br />

3.ในกรณีที่หองปฏิบัติการยังไมสามารถทํ าการวิเคราะหไดทันที่ตองเก็บไวในตูเย็นที่<br />

อุณหภูมิตํ่ ากวา 7 o C<br />

4. ถาเปนอาหารแชแข็งตองเก็บโดยวิธีแชแข็ง ตามสภาพของอาหารนั้น<br />

5. หองปฏิบัติการตองรีบเตรียมอุปกรณใน การตรวจวิเคราะห<br />

6. พยายามทํ าการวิเคราะหในวันเดียวกับวันที่ไดรับตัวอยาง<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


27<br />

การตรวจวิเคราะห : ในสภาวะที่เชื้อซัลโมเนลลาอาจจะเกิดการบาดเจ็บหรือมีอยู<br />

เปนจํานวนนอย ควรจะผานขั้นตอนกระตุนที่เรียกวา Pre-enrichment step เสียกอน จาก<br />

นั้นจึงผานอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวที่เลือกเฉพาะชนิด (Selective Enrichment) แลวนํ าไปแยก<br />

เชื้อบนวุนอาหารอาหารที่เลือกเฉพาะชนิดตอไป (Selective Differential Plating) ซึ่งสรุป<br />

เปนขั้นตอนไดดังนี้<br />

ขั้นที่ 1 ขั้นกระตุนใหเชื้อบาดเจ็บแข็งแรง (Pre-enrichment) ใชอาหารเลี้ยงเชื้อที่<br />

กระตุ นใหเชื้อแบคทีเรียที่บาดเจ็บเจริญ โดยไมมีสารยับยั้งแบคทีเรียผสมอยูดวย ตัวอยาง<br />

เชน buffered peptone water, nutrient of lactose broths (ICMSF,1978)<br />

Pre enrichment ไดแก Buffered Peptone Water, Lactose Broth, Tryptone Soya<br />

Broth, Nutrient Broth<br />

อาหารประเภทเนื้อ และผลิตภัณฑเนื้อ , ผัก , ผลไม<br />

ควรสุ มจากจุดตางๆ หลายๆ จุดใหไดอาหารหนัก 25 กรัมตอ per-enrichment 225 ml<br />

อาหารประเภทของแหง<br />

ถาอาหารมีนํ้ าหนักเบาใชนํ้ าหนักอาหาร 11 กรัมตอ per-enrichment 99 ml<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


ขั้นที่ 2 ขั้นเพาะเลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวที่เลือกเฉพาะชนิด (Selective<br />

Enrichment Step) หลังจากกระตุนใหเชื้อซัลโมเนลลา (ที่อาจมีในอาหาร) แข็งแรงขึ้นแลว<br />

จึงนํามาเพาะลงในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวซึ่งเติมสารยับยั้งจุลินทรียที่ไมตองการ (เลือกเฉพาะ<br />

เชื้อซัลโมเนลลา) ตัวอยางเชน สี (dyes), tetrathionate, selenite อุณหภูมิระยะเวลาบมเพาะ<br />

เชื้อจะตองเหมาะสมกับเชื้อซัลโมเนลลา ซึ่งจะมีผลทํ าใหเชื้อซัลโมเนลลาเจริญไดดีกวา<br />

แบคทีเรียชนิดอื่น ๆ และปรากฏโคโลนีขึ้นเมื่อนํ าไปเพาะเลี้ยงบน selective differential<br />

plating media หรือนําไปจํ าแนกเชื้อโดยใชเทคนิคอื่น ตามปกติใชเวลาบมเพาะเชื้อประมาณ<br />

16-24 ชั่วโมง อุณหภูมิที่ใชบมเพาะเชื้อซัลโมเนลลาโดยทั่วไปอยูที่ 35-40 O C แตบอยครั้ง<br />

พบวาการบมเพาะเชื้อที่ 41-43 O C มีโอกาสใหไดเชื้อซัลโมเนลลาเพิ่มขึ้น เนื่องจากเชื้อ<br />

แบคทีเรียอื่นที่ไวตออุณหภูมิไมเจริญรบกวนเชื้อซัลโมเนลลา ตัวอยางอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว<br />

เลือกเฉพาะชนิดที่นิยมใช (Selective broth media) เชน Tetrathionate ที่เติม Brilliant Green,<br />

Selenite Cystein, Gram Nagative (GN) broth และMagnesium Chloride – malachite Green<br />

ของ Rappaport – Vassiliadis (Vassiliadis, 1983) ในทางปฏิบัติแนะนํ าใหใช selective<br />

broth media มากกวาชนิดหนึ่ง และอุณหภูมิในการบมเพาะเชื้อมากกวาหนึ่งสภาวะ เพื่อ<br />

เพิ่มโอกาสในการตรวจพบ การรายงานผลจะรายงานวา ตรวจพบ/ไมพบ ในปริมาณตัว<br />

อยางอาหารที่นํ ามาตรวจ<br />

Selective enrichment ไดแก Rappaport - Vassiliadis Broth, Selenite Cystine<br />

Broth, Tetrathionate Broth, Manitol - Selenite Cystine Broth<br />

28<br />

RV SCB TT BPW<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


ขั้นที่ 3 ขั้นแยกเชื้อบนวุนอาหารเลือกเฉพาะชนิด (Selective – Differential Plating<br />

Media) หลังจากผานขั้นตอนกระตุนดวยอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวเลือกเฉพาะชนิดแลว จึงนํ ามา<br />

แยกเชื้อบน Plating media ในขั้นตอนนี้ใชอาหารเลี้ยงเชื้อเลือกเฉพาะชนิดที่เติมวุน อาทิ<br />

Bile salts, Deoxycholate, Brilliant Green, Bismuth Sulfide และสารปฎิชีวนะ อาหารเหลา<br />

นี้จําแนกเชื้อซัลโมเนลลาโดยอาศัยลักษณะโคโลนีที่ปรากฏบนวุนอาหาร สังเกตไดจากการ<br />

เปลี่ยนสีของ pH indicators ที่เติมลงในอาหารเลี้ยงเชื้ออันเปนผลจากความสามารถของเชื้อ<br />

ในการใชนํ้ าตาลแลคโตสหรือซูโครสผานกระบวนการหมัก(fermentation) นอกจากนี้ยัง<br />

อาจตอบสนองตอความสามารถของเชื้อที่จะสรางกาซไขเนา (H 2 S) หรือความสามารถใน<br />

การดึงคารบอนไดออกไซด (decarboxylation) ออกจากกรดอะมิโนไลซีน (lysine) เปนตน<br />

วุนอาหาร (Plating media) ที่นิยมใช ไดแก Brilliant Green ที่เติม/หรือไมเติม sulphadiazine<br />

หรือ sulphapyridine, Xylose Lysine Deoxycholate (XLD) Agar, Bismuth Sulfide (BS)<br />

Agar, Hektoen Enteric (HE) Agar, MacConkey, Deoxycholate Citrate (DC) Agar และ<br />

<strong>Salmonella</strong>-Shigella (SS) Agar ในการใชวุนอาหารที่เลือกเฉพาะชนิดเพื่อแยกเชื้อซัลโมเน<br />

ลลา แนะนํ าใหใชอาหารเลี้ยงเชื้อมากกวาหนึ่งชนิดเชนกัน<br />

อาหารเลี้ยงเชื้อแบงออกเปน 3 ลํ าดับ<br />

Plating Media<br />

Low selective ไดแก Mac (Mac conkey), EMB , Endo Agar<br />

Intermediate selective ไดแก XLD , DCA , SS , HE , DHL<br />

High selective ไดแก BS (Bismuth sulfide) , , BGA New media<br />

Rm (Rambach) XLT4 (Xylose lysine Tergitol 4) DiaSalm<br />

MSRV (Modified Semi – solid Rappaport Vassiliadis agar)<br />

29<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


30<br />

วิธีการตรวจหาเชื้อ <strong>Salmonella</strong> จากอาหาร และตัวอยาง<br />

นํ าตัวอยางอาหารเพาะในPre-enrichment เชน Buffered Peptone Water หรือ<br />

Lactose Broth หรือ Trptone Soya Brothหรือ Nutrient Broth เขาตูอบเพาะเชื้อ 37 o C นาน<br />

18 - 24 ชั่วโมงถายเชื้อลงใน<br />

• RV broth (Rappaport Vasilladis broth) และ TT broth (Tetrathionate broth)<br />

เขาตูอบเพาะเชื้อ 42 o C นาน 18 - 24 ชั่วโมง<br />

• จาก BPW นํ ามาเพาะลงใน MSRV (Modified Semi-solid Rappaport-Vassiliadis<br />

medium) โดยใช loop ตัก BPW มาหยดบนผิว MSRV 3 หยด ใหแตละหยดอยูหางกันพอสม<br />

ควร นํ ามาบมที่อุณหภูมิ 42 o C นาน 18 - 24 ชั่วโมง หลังจากนั้นนํ ามาเลือกเชื้อ <strong>Salmonella</strong><br />

ใน MSRV ใหพิจารณาที่สีของ MSRV จะเปลี่ยนจากสีเขียวแกมนํ้ าเงินใสเปนสีขาวขุน<br />

รอบ ๆ จุดที่หยดเชื้อลงไปเปนวงกวาง (เชื้อ <strong>Salmonella</strong> ที่มี flagella จะเคลื่อนออกไปรอบ<br />

ๆ จุดที่หยดเชื้อ) จากนั้นใช wire แตะเชื้อที่แผไปไกลที่สุดจากตํ าแหนงที่หยดเชื้อ นํ าไป<br />

เพาะใน TSI และ LIM เขาตูอบเพาะเชื้อที่ 37 o C นาน 18 - 24 ชั่วโมง (MSRV เหมาะสํ าหรับ<br />

ที่จะตรวจหาเชื้อ <strong>Salmonella</strong> ที่มี flagella เทานั้น ถาเปนเชื้อ <strong>Salmonella</strong> ที่ไมมี flagella จะ<br />

ไมสามารถตรวจได)<br />

• มาเพาะลงบนอาหารเลี้ยงเชื้อ XLD agar (Xylose-Lysine Deoxycholate Agar )<br />

และ BG agar (Brilliant Green Agar) หรือ SS agar (<strong>Salmonella</strong>, Shigella Agar), DHL<br />

agar (Deoxycholate Hydrogen Sulfide Lactose Agar) หรือ BS agar (Bismuth Sulfide<br />

Agar) และ BPW (Buffer Peptone Water) นํ าทั้งหมดเขาตูอบเพาะเชื้อ 37 o C นาน 18 - 24<br />

ชั่วโมงอานลักษณะโคโลนีบน XLD และ BG agar บน XLD มีลักษณะโคโลนีกลมขนาด<br />

ปานกลาง มีสีแดงและมีสีดํ าอยูตรงกลาง บน BG agar (Brilliant Green Agar) ลักษณะโค<br />

โลนีของเชื้อซัลโมเนลลาจะมีรูปรางกลม ขนาดปานกลาง สีชมพูขาวทึบแสง อาหารรอบๆ<br />

โคโลนีจะเปนสีแดง (สํ าหรับอาหารเลี้ยงเชื้อชนิดอื่นนั้น การเลือกลักษณะโคโลนีใหดูจาก<br />

คํ าอธิบายที่เขียนไว ) การเลือกลักษณะโคโลนีในอาหารเลี้ยงเชื้อแตละชนิดที่มีลักษณะ โค<br />

โลนีที่สงสัยวาเปนซัลโมเนลลา ควรเลือกไมนอยกวา 3-5 โคโลนี และโดยนํ า 1 โคโลนีที่<br />

สงสัยมาเพาะลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ TSI (Triple Sugar Iron Agar) และ LIM (Lysine Indole<br />

Motility Medium) (เพราะฉะนั้น 3-5 โคโลนีหมายถึง ใชอาหารเลี้ยงเชื้อ TSI และ LIM 3-5<br />

ชุด) นํ าเขาตูอบเพาะเชื้อ 37 o C นาน 18 - 24 ชั่วโมง สํ าหรับ BS ใหอานผลที่ 48 ชั่วโมง<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


• หมายเหตุ ในการตรวจหาเชื้อ <strong>Salmonella</strong> นั้นควรเลือกอาหารเลี้ยงเชื้อที่เชื้อ<br />

<strong>Salmonella</strong> ขึ้นไดดีไมนอยกวา 2 - 3 ชนิดในการตรวจแตละครั้ง อาหารเลี้ยงเชื้อที่เลือกใช<br />

นั้นขึ้นอยูกับความถนัดของผูทํ า Lab และการเลือกโคโลนีนั้นก็ไมควรเลือกโคโลนีนอยกวา<br />

3 - 5 โคโลนี ในอาหารเลี้ยงเชื้อแตละชนิด<br />

ลักษณะโคโลนีของซัลโมเนลลาบนอาหารเลี้ยงเชื้อแตละชนิด<br />

1. SS agar (<strong>Salmonella</strong> Shigella Agar), DHL agar (Deoxycholate Hydrogen<br />

Sulfide Lactose Agar) ลักษณะโคโลนีของเชื้อซัลโมเนลลาบนอาหารเลี้ยงเชื้อทั้ง 2 ชนิดนี้<br />

จะมีลักษณะคลายกัน คือมีรูปรางกลมขนาดเล็ก โปรงแสงและไมมีสีหรือสีเหลืองซีด ขอบ<br />

เรียบ สวนมากจะสรางกาซโฮโดรเจนซัลไฟดสีดํ าตรงกลางโคโลนี<br />

2. XLD agar (Xylose Lysine Deoxycholate Agar) ลักษณะโคโลนีของเชื้อซัล<br />

โมเนลลา มีรูปรางกลมขนาดปานกลาง มีสีแดงและมีสีดํ าอยูตรงกลาง และสราง<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟดที่มีสีดํ าอยูตรงกลางโคโลนี<br />

3. BS agar (Bismuth Sulfide Agar) ลักษณะโคโลนีของเชื้อซัลโมเนลลาจะเปนสีดํ า<br />

เงาวาว อาหารที่อยูใตโคโลนีก็จะดํ า BS จะยับยั้งแบคทีเรียกรัมบวก และแบคทีเรียพวกโค<br />

ลิฟอรมแตเชื้อซัลโมเนลลาจะเจริญบน BS ไดเปนอยางดี การสรางกาซไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ของเชื้อซัลโมเนลลาทํ าใหมีสารประกอบซัลเฟอรอยูในโมเลกุลและเมื่อเหล็กมีการตก<br />

ตะกอนจึงทํ าใหลักษณะของโคโลนีเปนสีนํ้ าตาลเปนเงาวาว<br />

4.BG agar (Brilliant Green Agar) ลักษณะโคโลนีของเชื้อซัลโมเนลลาจะมีรูปราง<br />

กลม ขนาดปานกลาง สีชมพูขาวทึบแสง อาหารรอบๆโคโลนีจะเปนสีแดง ทั้งนี้เนื่องจาก<br />

เชื้อซัลโมเนลลาเปนเชื้อที่ไมสลายนํ้ าตาลแลคโตสและซูโครส สวนเชื้อที่สามารถสลายนํ้ า<br />

ตาลแลคโตสหรือซูโครส โคโลนีจะเปนสีเหลืองเขียวและอาหารรอบๆโคโลนีจะเปนสี<br />

เหลืองเขียวดวย โดยปกติการเจริญของเชื้อสวนใหญจะถูกยับยังอยางสมบูรณโดยสีของบริล<br />

เลียนกริน ซึ่งสีนี้เมื่อมีในอาหารในความเขมขนที่เหมาะสมจะมีคุณภาพในการยับยั้งหรือ<br />

เลือกชนิดของเชื้อ บริลเลียนกรีนจะไปยับยั้งแบคทีเรียกรัมบวกไมใหขึ้นในอาหาร สวน<br />

พวก colonaerogenes group จะไมถูกยับยั้ง BG ประกอบไปดวย นํ้ าตาลแลคโตส และ<br />

ซูโครส โดยมีฟนอลเรดเปนอินดิเคเตอร ซึ่งมีสีชมพูแดงใน pH ที่เปนดางคือ ชวง pH อยู<br />

ระหวาง 6.8 – 8.4 เชื้อซัลโมเนลลาเปนเชื้อที่ไมเฟอรเมนทนํ้ าตาลแลคโตสและซูโครสดัง<br />

กลาวแลว จึงทํ าใหอาหารเลี้ยงเชื้อที่มีชวง pH เปนดาง โคโลนีจึงเปนสีชมพูแดงตามอาหาร<br />

31<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


สวนเชื้อที่สามารถใชนํ้ าตาลแลคโตสและซูโครสจะทํ าใหอาหารเลี้ยงเชื้อที่มี pH เปนกรด<br />

ทําใหอาหารเลี้ยงเชื้อเปลี่ยนเปนสีเหลือง เชนเดียวกับสีของโคโลนี<br />

5.MSRV agar (Modified Semi – solid Rappaport Vassiliadis agar) ลักษณะของเชื้อที่<br />

ขึ้นบน MSRV ใหพิจารณาจากสีของ MSRV จะเปลี่ยนจากสีเขียวแกมนํ้ าเงินใส เปนสีขาว<br />

ขุ นรอบ ๆ จุดที่หยดเชื้อลงไป (เชื้อ <strong>Salmonella</strong> ที่มี flagella จะเคลื่อนที่แผไปรอบ ๆ จุดที่<br />

หยดเชื้อ) จากนั้นใชเข็มเขี่ยแตะเชื้อ ณ จุดที่แผไปไกลที่สุดจากตํ าแหนงที่หยดเชื้อลงใน TSI<br />

และ LIM<br />

6.Rambach agar ลักษณะโคโลนีของ <strong>Salmonella</strong> ทั่ว ๆ ไปจะใหสีแดงบนอาหารเลี้ยง<br />

เชื้อ ถาเปน <strong>Salmonella</strong> Typhi, <strong>Salmonella</strong> Paratyphi A โคโลนีใส มีเสนผาศูนยกลาง 1 – 4<br />

มม.<br />

7.Hektoen - Enteric Agar (H.E) ลักษณะโคโลนีของ <strong>Salmonella</strong> ที่สราง H 2 S จะมีสีนํ้ า<br />

เงินเขียวและ ตรงกลางมีสีดํ า กลม นูน ผิวเรียบเปนมัน มีเสนผาศูนยกลางประมาณ 3 มม.<br />

สวน <strong>Salmonella</strong> ที่ไมสราง ลักษณะโคโลนีสีนํ้ าเงินเขียว กลมนูน ผิวเรียบ เปนมัน มีเสนผา<br />

ศูนยกลาง 1-3 มม.<br />

ลักษณะโคโลนีของ <strong>Salmonella</strong> บนอาหารเลี้ยงเชื้อ<br />

32<br />

XLD<br />

DHL<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


33<br />

ลักษณะโคโลนีของ <strong>Salmonella</strong> บนอาหารเลี้ยงเชื้อ<br />

HE<br />

BS<br />

BG<br />

MSRV<br />

การจํ าแนกชนิด (Identification) : การกลั่นกรองเบื้องตนใชอาหารเลี้ยงเชื้อที่ไม<br />

จํากัดชนิดของเชื้อ เชน Triple Sugar Iron Agar (TSI), Lysine Iron Agar (LIA), Gillies<br />

medium I และ II หรือ TSI, Urea Agar เปนตน สํ าหรับการจํ าแนกเชื้อในขั้นตอมาอาศัยการ<br />

ทดสอบปฏิกิริยาทางชีวเคมีของเชื้อบริสุทธิ์ ซึ่งตามปกติจะใชเวลาหลายวัน ในการทดสอบ<br />

ขั้นแรกโดยทั่วไปทํ าการทดสอบ lysine, urease และ Indole กอน จากนั้นจึงทํ าการทดสอบ<br />

ปฏิกิริยาทางชีวเคมีอีก 14 อยาง เพื่อจํ าแนกสมาชิกในตระกูล Enterobacteriaceae ในระดับ<br />

genus (ในทางการคามีอุปกรณ test kits สําหรับจํ าแนกเชื้อจํ าพวก Enterobacteriaceae ในชื่อ<br />

การคาตาง ๆ กัน เชน Micro ID, Minitek, API20E, Entero-tube II และ Vitek เปนตน)<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


34<br />

Organisms T S I - agar L I M medium<br />

Slant Butt Gas H 2 S Lysin Indol Motility<br />

<strong>Salmonella</strong> Typhi<br />

K A - +<br />

+ - +<br />

<strong>Salmonella</strong> Paratyphi A<br />

K A + -<br />

- - +<br />

<strong>Salmonella</strong> Choleraesuis<br />

K A + d<br />

+ - +<br />

<strong>Salmonella</strong> Pullorum<br />

K A + -<br />

+ - -<br />

<strong>Salmonella</strong> Gallinarum<br />

K A - -<br />

+ - -<br />

other <strong>Salmonella</strong><br />

K A + +(-)<br />

+ - +(-)<br />

K = Alkaline A = acid<br />

การทดสอบทางซีโรวิทยา (Serological test)<br />

หลังจากผานการทดสอบทางชีวเคมีเบื้องตนโดย TSI และ LIM ไดเชื้อที่สงสัยวา<br />

เปน <strong>Salmonella</strong> แลวใหมาทํ าการทดสอบทางซีโรวิทยาโดยวิธี Slide agglutination โดยทํ า<br />

การทดสอบระหวางเชื้อกับ แอนติซีรัม (Antiserum) จํ าเพาะมีขั้นตอนดังนี้<br />

1.หยด 0.85% NSS ลงบน Slide 1 หยด เขี่ยเชื้อจาก TSI มาละลายใน 0.85%<br />

NSS กวนใหเขากัน แลวสังเกตวาเกิดการจับกลุมภายใน 30 วินาที หรือไม หากเกิดการตก<br />

ตะกอนแสดงวา เชื้อดังกลาวไมสามารถทดสอบซีโรไทปไดเนื่องจากเชื้อ rough (เชื้อ rough<br />

หมายถึง เชื้อที่มีลักษณะโคโลนีไมเรียบ และจะตกตะกอนกับ 0.85% NSS และก็จะตก<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


ตะกอนกับ antiserum ทุกชนิด จะไมสามารถที่จะวินิฉัยไดวาเปนเชื้อชนิดไหน) ถาไมตก<br />

ตะกอนใน 0.85% NSS จึงทดสอบตอได<br />

2. หยด antiserum <strong>Salmonella</strong> Polyvalent A-67 และ <strong>Salmonella</strong> Polyvalent A-I<br />

บน Slide อยางละ 1 หยดและเขี่ยเชื้อจาก TSI มาทดสอบกับ antiserum ทั้ง 2 ชนิดกวนให<br />

เขากันดีกับ antiserum ทั้งสองชนิด เอียง Slide ไปมาหลาย ๆ ครั้ง สังเกตปฎิกิริยาการจับ<br />

กลุ มที่เกิดขึ้นจะเห็นภายในเวลา 30 - 60 วินาที ถาตกตะกอนตอ antiserum ใดก็แสดงวาเชื้อ<br />

มี antigen ตอ antiserum นั้น แตเนื่องจากในขั้นตอนนี้ใช antiserum รวมหลายชนิดจึงยังไม<br />

สามารถบอกวาเปน group ใด อาจเปนชนิดใดชนิดหนึ่งระหวาง <strong>Salmonella</strong> group A ถึง<br />

<strong>Salmonella</strong> group I กรณีที่ใหผลบวก (+) <strong>Salmonella</strong> Polyvalent A-I แตถาใหผลลบ (-)<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent A-I แตใหผลบวกตอ <strong>Salmonella</strong> Polyvalent A-67 แสดงวาเชื้อนี้จะ<br />

อยู ในระหวางชวง <strong>Salmonella</strong> group J ถึง <strong>Salmonella</strong> O:67<br />

3. หลังจากนั้นใหทดสอบกับ antiserum เดี่ยวแตละ group คือ <strong>Salmonella</strong> group A,<br />

group B, group C, group D, group E ถึง group I ถาใหผล group ใดบวกใหรายงานวาเปน<br />

<strong>Salmonella</strong> group นั้นเชน ใหผลบวกกับ <strong>Salmonella</strong> group B antiserum แสดงวาเชื้อที่นํ ามา<br />

จาก TSI นั้น เปน <strong>Salmonella</strong> group B<br />

4. เมื่อวินิจฉัยในเบื้องตนไดแลววาเปน <strong>Salmonella</strong> serogroup ใดใหสงมาทดสอบยืน<br />

ยันเชื้อที่ WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณ<br />

สุข กรมวิทยาศาสตรการแพทย นนทบุรี เพื่อตรวจในรายละเอียดวาเปน serovar ใดตอไป<br />

สวนประกอบของ Antiserum polyvalent<br />

1.<strong>Salmonella</strong> polyvalent A-67 antiserum หมายถึง ใน antiserum ชนิดนี้จะประกอบดวย<br />

<strong>Salmonella</strong> group A + group B + group C + group D + ……….+ <strong>Salmonella</strong> group O:67<br />

antiserum (หรือ O:1 + O:2 + O:3 + O:4 +………+ O:67 antiserum)<br />

2.<strong>Salmonella</strong> polyvalent A-I antiserum หมายถึง ใน antiserum ชนิดนี้จะประกอบดวย<br />

<strong>Salmonella</strong> group A + group B + group C + group D +………..+ <strong>Salmonella</strong> group I<br />

(O:16) antiserum (หรือ O:1 + O:2 + O:3 + O:4 +…………+ O:16 antiserum)<br />

3. <strong>Salmonella</strong> polyvalent O:17 - O:67 antiserum หมายถึง ใน antiserum ชนิดนี้จะ<br />

ประกอบดวย group J (O:17) + group K (O:18) +…………+ group Z (O:50) + O:51<br />

+……….+ O:67<br />

4.<strong>Salmonella</strong> group A, group B, group C antiserum หมายความวาใน antiserum ของ<br />

แตละ group จะมี O antiserum ของ group นั้นประกอบอยู เชน<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร<br />

35


<strong>Salmonella</strong> group A จะมี O:1 + O:2 + O:12 antiserum<br />

<strong>Salmonella</strong> group B จะมี O:1 + O:4 + O:5 + O:12 + O:27 antiserum<br />

<strong>Salmonella</strong> group C จะมี O:6 + O:7 + O:8 + O:14 + O:20 antiserum เปนตน<br />

5.<strong>Salmonella</strong> polyvalent H:H antiserum หมายความวา ใน antiserum ชนิดนี้จะ<br />

ประกอบดวย flagella ของเชื้อ <strong>Salmonella</strong> ทั้งหมด 2 เฟส คือตั้งแต flagella H:a + H:b +<br />

H:c + H:d + H:f +……….+ z 59 + H:1 + H:2 +……….+H:7<br />

6.<strong>Salmonella</strong> polyvalent H:L หมายความวา ใน antiserum ชนิดนี้จะประกอบดวย<br />

flagella ดังนี้ H:l + H:v + H:w + H:z 13 + H:z 28 antiserum<br />

7.<strong>Salmonella</strong> polyvalent H:G หมายความวา ใน antiserum ชนิดนี้ประกอบดวย flagella<br />

ดังนี้ H:f + H:g + H:s + H:t + H:m + H:p + H:q<br />

8.<strong>Salmonella</strong> polyvalent H:Unspecific anteserum หมายความวา ใน antiserum ชนิดนี้<br />

ประกอบดวย flagella ที่เปน Phase 2 ทั้งหมด คือ H:1,2 + H:2 + H:5 + H:6 + H:7 + H:z 6<br />

antiserum เปนตน<br />

ในขณะนี้ไดมีการผลิต Antisera ใหมเพิ่มเติมเพื่อสะดวกในการหา groups งายขึ้นมีดังนี้<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent OMA = O agglutinins of groups:ประกอบดวย<br />

2(A)+4(B)+9(D 1<br />

)+9,46(D 2<br />

)+3,10(E 1<br />

)+1,3,19(E 4<br />

)+21(L)<br />

(O:1,2,12+4,5,12+9.12+3,10+1,3,10+21)<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent OMB = O agglutinins of groups :ประกอบดวย<br />

7(C1)+8(C 2<br />

-C 3<br />

)+11(F)+13(G)+6,14(H)<br />

(O:6,7+6,8+8,20+11+13,22+13,23+6,14,24)<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent OMC = O agglutinins of groupsประกอบดวย<br />

16+17+18+28+30+35+38<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent OMD = O agglutinins of groups<br />

39 +40+41+42+43+44+45<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent OME = O agglutinins of groups<br />

47 +48+50+51+52+53+61<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent OMF = O agglutinins of groups<br />

54 +55+56+57+58+59<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent OMG = O agglutinins of groups<br />

60 +62+63+65+66+67<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร<br />

36


สํ าหรับ Antiserum ที่ใชในการหา flagella ก็ไดมีการจัดกลุมใหมเชนเดียวกันเปน<br />

ดังนี้คือ<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent HMA = a + b + c + d + i + z 10 + z 29<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent HMB = e,h + e,n,x + G<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent HMC = k + y + z + L + Z 4 + r<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent HMD = z 35 + z 36 + z 38 + z 39 + z 41 + z 42 + z 44 + z 60<br />

<strong>Salmonella</strong> Polyvalent HMIII = z52 + z53 + z54 + z55 + z57 + z61 (H factors<br />

of subspecies III only)<br />

ฉะนั้นการเลือกใช antisera <strong>Salmonella</strong> เพื่อทดสอบเชื้อ <strong>Salmonella</strong> สามารถเลือก<br />

ใช <strong>Salmonella</strong> Polyvalent OMA, OMB, OMC, OMD, OME, OMF, OMG แทนไดซึ่งมี<br />

การรวม O-group ที่เฉพาะมากกวาและงายตอการหา group ตาง ๆ และเลือกใช HMA,<br />

HMB, HMC, HMD และ HMIII เพิ่มเติมเพื่อหา flagella ของเชื้อ <strong>Salmonella</strong> ใหงายยิ่งขึ้น<br />

ทางเลือกอื่น (Altemative methods) : วิธีการตรวจวิเคราะหและจํ าแนกเชื้อซัลโม<br />

เนลลาแบบดั้งเดิมเปนวิธีที่ใชแรงงานและระยะเวลาประมาณ 3-5 วัน เพียงเพื่อที่จะบอกวา<br />

มีแนวโนมวาพบเชื้อซัลโมเนลลาหรือไมเทานั้น ดังนั้น จึงมีการพัฒนาวิธีตรวจหาเชื้อซัลโม<br />

เนลลาที่รวดเร็วกวาเดิม ตัวอยางเชน วิธี Fluorescent antibody (Cherry et al, 1975;<br />

Thomson, 1981; Insalata and Chordash, 1984) วิธี DNA/DNA hybridization assays<br />

(DNAH) (Fitts et al,1983; Ewing, 1986) วิธี Enrichment Serology (Sperber and Diebel,<br />

1969) วิธี Enzyme-linked immunosotbent assay (ELISA) (Minnich et al,1982; Mattingly<br />

and Gehle, 1984) วิธี Membrane filter – disc – immunoimmobilization (La Roche et al,<br />

1981) และวิธี <strong>Salmonella</strong> phage tests (Welkos et al, 1974) แตวิธี ELISA และวิธี DNAH<br />

(ไมวาจะเตรียมจาก polyclonal หรือ monoclonal antibodies) และวิธี DNAH เปนวิธีที่ไดรับ<br />

การรับรองจาก AOAC แลว (Flowers et al, 1986 a,b)<br />

แสดงแผนภูมิการตรวจวิเคราะหหาเชื้อ <strong>Salmonella</strong> อาหาร, อุจจาระสัตว ตาม<br />

มาตราฐานขอกํ าหนดของ ISO 6579, FDA (Food and Drug Administration), AOAC<br />

(Association Official Analytical Chemists), BAM<br />

37<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


38<br />

Detection of <strong>Salmonella</strong> in Faces (ISO 6579)<br />

faces:<br />

W eight 25g of food to 225ml of buffered peptone water.<br />

0.1 ml<br />

0.1 ml<br />

.<br />

10mlTetrathionate<br />

Transfer 10ul<br />

XLD agar plates.<br />

XLD-Tetra<br />

BGA agar plates.<br />

BGA-Tetra<br />

10ml RVSP. Broth<br />

loop / plate<br />

XLD agar plates.<br />

37<br />

XLD-RVSP<br />

O C 18 - 24 hr.<br />

BGA agar plates.<br />

37 O C 18 - 24 hr.<br />

BGA-RVSP<br />

Biochemical Tests<br />

TSI LIM<br />

Streak on<br />

Nutrient agar (NA)<br />

O-antigens<br />

H-antigens<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


39<br />

Detection of <strong>Salmonella</strong> in Faces (Modified)<br />

faces:<br />

Weight 25g of food to 225ml of buffered peptone water.<br />

0.1 ml<br />

0.1 ml<br />

Transfer 10ul loop / plate<br />

10mlTetrathionate<br />

Transfer 10ul<br />

10ml RVSP. Broth<br />

loop / plate<br />

.<br />

MSRV agar plates.<br />

42 O C 18 - 24 hr.<br />

XLD agar plates.<br />

XLD-Tetra<br />

BGA agar plates.<br />

BGA-Tetra<br />

XLD agar plates.<br />

37 O C 18 - 24 hr.<br />

XLD-RVSP<br />

BGA agar plates.<br />

37 O C 18 - 24 hr.<br />

BGA-RVSP<br />

MSRV agar<br />

plates.<br />

MSRV-RVSP<br />

MSRV agar plates.<br />

42 O C 18 - 24 hr.<br />

MSRV-RVSP<br />

Biochemical Tests<br />

TSI LIM<br />

Streak on<br />

Nutrient agar (NA)<br />

O-antigens<br />

H-antigens<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


40<br />

Detection of Salm onella in Food (ISO 6579)<br />

Food<br />

W eight 25g of food to 225m l of buffered peptone water.<br />

0.1 m l<br />

0.1 m l<br />

.<br />

10m lTetrathionate<br />

Transfer 10ul<br />

XLD agar plates.<br />

XLD-Tetra<br />

BGA agar plates.<br />

BGA-Tetra<br />

10m l RVSP. Broth<br />

loop / plate<br />

XLD agar plates.<br />

37 O C 18 - 24 hr.<br />

XLD-RVSP<br />

BGA agar plates.<br />

37 O C 18 - 24 hr.<br />

BGA-RVSP<br />

Biochemical Tests<br />

TSI LIM<br />

Streak on<br />

Nutrient agar (NA)<br />

O-antigens<br />

H-antigens<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


41<br />

Detection of <strong>Salmonella</strong><br />

in Food (Modify)<br />

Food<br />

Weight 25g of food to 225ml of buffered peptone water.<br />

0.1 ml<br />

0.1 ml<br />

Transfer 10ul loop / plate<br />

10mlTetrathionate<br />

Transfer 10ul<br />

10ml RVSP. Broth<br />

loop / plate<br />

.<br />

MSRV agar plates.<br />

42 O C 18 - 24 hr.<br />

XLD agar plates.<br />

XLD-Tetra<br />

BGA agar plates.<br />

BGA-Tetra<br />

XLD agar plates.<br />

37<br />

XLD-RVSP<br />

O C 18 - 24 hr.<br />

BGA agar plates.<br />

37 O C 18 - 24 hr.<br />

BGA-RVSP<br />

MSRV agar<br />

plates.<br />

MSRV-RVSP<br />

MSRV agar plates.<br />

42 O C 18 - 24 hr.<br />

MSRV-RVSP<br />

Biochemical Tests<br />

T SI LIM<br />

Streak on<br />

Nutrient agar (NA)<br />

O-antigens<br />

H-antigens<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


FDA / AOAC BAM <strong>Salmonella</strong> Isolation Procedure<br />

Weight 25g of portions to 225ml of pre enrichment medium<br />

24<br />

–<br />

+ 2 h, 37 O C<br />

42<br />

1ml<br />

10 ml<br />

10 ml<br />

10 ml TT Broth<br />

24 – + 2 h, 37 O C<br />

10 ml RV Broth<br />

18 – 24 h, 37 O C<br />

100 ml SC Broth<br />

18 – 24 h, 42 O C<br />

Bismuth Sulphite Agar<br />

Xylose lysine desoxycholate Agar<br />

Hektoen Entric Aagr<br />

24 + 2 h,<br />

37 – O C<br />

Biochemical Confirmation<br />

( 2 or more colonies from each agar plate )<br />

Streak on<br />

Nutrient agar (NA)<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


BSI / ISO <strong>Salmonella</strong> Isolation Procedure<br />

Weight 25g of portions to 225ml of pre enrichment medium<br />

16 20 h, 37 O C<br />

43<br />

0.1 ml<br />

10 ml<br />

10 ml RV Broth<br />

18 24 h, 42 O C<br />

100 ml SC Broth<br />

18 24 h, 37 O C<br />

Brilliant Green Agar<br />

24 h, 35 37 O C<br />

Other solid selective medium<br />

24 h, 35 37 O C<br />

Streak on<br />

Biochemical Confirmation<br />

( 5 colonies from each agar plate )<br />

Nutrient agar (NA)<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


การทํ างานของ WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center<br />

การเฝาระวังและติดตามหาความชุกของโรค Salmonellosis โดยไดรับเชื้อจากโรง<br />

พยาบาล และหนวยสาธารณสุขตาง ๆ ใหความสนใจหาซีโรวารในประเทศไทย เพื่อสํ ารวจ<br />

หาการระบาด และดํ าเนินการควบคุม NSSC ไดดํ าเนินการทดลองหาวิธีการตรวจเชื้อ<br />

<strong>Salmonella</strong> ดวยเทคนิคอื่น ๆ ใหงายยิ่งขึ้น<br />

เอกสารอางอิง<br />

พนิดา ชัยเนตร, ศุภวรรณ บุญสอง, อรุณ บางตระกลูนนท, ดํารง เชี่ยวศิลป. 2531. ซาลโม<br />

เนลโลลิสในประเทศไทย : จุลชีววิทยาและระบาดวิทยา. รามาธิบดีเวชสาร ปที่ 11<br />

ฉบับที่ 4 หนา 233 –245<br />

อรุณ บางตระกูลนนท 2541. การตรวจวินิจฉัยและตรวจยืนยันเชื้อ Non – Typhoidal<br />

<strong>Salmonella</strong> (NTS) การสัมมนาระดับชาติเพื่อกํ าหนดแนวทางการแกไขปญหา Non<br />

– Typhoidal Salmonellosis ในประเทศไทย ครั้งที่ 2 วันที่ 24 – 25 ธันวาคม 2541 ณ<br />

อาคาร 60 ป คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

อรุณ บางตระกูลนนท, ศรีรัตน พรเรืองวงศ, สุมณฑา วัฒนสินธุ และคณะ. 2545. การ<br />

สํารวจเชื้อโรคอาหารเปนพิษในอุจจาระของพนักงานในโรงงานผลิตอาหารแชแข็ง.<br />

นําเสนอในการประชุมวิชาการครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยแมโจ วันที่ 2 – 3 ธันวาคม<br />

2545 ณ ศูนยการศึกษาและฝกอบรมนานาชาติ มหาวิทยาลัยแมโจ จังหวัดเชียงใหม<br />

Archer, D.L. and F. Young. 1988. W Contemporary issues : Diseases with a food<br />

vector. Clinical.<br />

Association Official Analytical Chemists. 2000. AOAC Official Method 999.08<br />

Assurance® Gold <strong>Salmonella</strong> EIA for Visual or Instrumental Identification of<br />

Motile and Non – motile <strong>Salmonella</strong> in all foods. AOAC International 2000.<br />

Bergey’s Manual of Systematic Bacteriology. 1984. N.R. Krieg and J.C. Holt (editors).<br />

Baltimore : Williams and Wilkins.<br />

Brenner, D.T. 1984. Facultatively anaerobic gram-negetive rods. In : Bergery’s Manual<br />

of Systematic Bacteriology (vol. 1) N.R. Krieg and J.C. Holt (editors). Baltimore :<br />

Williams and Wilkins. pp. 408 – 516.<br />

44<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร


Cherry, W.B., B.M. Thomason, J.B., Gladden, N. Holsing and A.M. Murlin. 1975.<br />

Detection of <strong>Salmonella</strong>e in foodstuffs, faeces and water by immunofluorescence.<br />

Ann. New York Academy of Science. 254: 350 – 68.<br />

Chung, K.C. and J.M. Goepfert. 1970. Growth of <strong>Salmonella</strong> at low pH. J.Food Sci. 35:<br />

326 – 328.<br />

D’Aoust, J.Y. 1991. Psychrotrophy and foodborne <strong>Salmonella</strong>. Int. Food Microbiol. 12:<br />

207 – 16.<br />

Ewing, W.H. 1986. The Taxonomy of Enterobacteriaceae, Isolation of<br />

Enterobacteriaceae and Preliminary indentification. The genus <strong>Salmonella</strong>. In :<br />

Edwards, p. and W.H. Ewing (editors). Identification of Enterobacteriaceae. 4 th<br />

ed. New York : Elsevier. Pp. 1-91, 181 – 318.<br />

Fitts, R., M. Diamond, C. Hamilton and M. Neri. 1983. DNA – DNA hybridization assay<br />

for detection of <strong>Salmonella</strong> spp. In foods. Appl. And Environ. Microbiol. 46:<br />

1146 – 51.<br />

Flowers, R.S., K. Eckner, D.A. Gabis, B.J. Robison, J.A. Mattingly and J.H. Silliker.<br />

1986a. Enzyme immunoassay for detection of <strong>Salmonella</strong> in foods : Collaborative<br />

study. J. Assoc. Official Analytical Chemists. 69: 786 – 98.<br />

Flowers, R.S., K. Eckner, D.A. Gabis, B.J. Robison, J.A. Mattingly and J.H. Silliker.<br />

1986b A DNA hybridization assay for the detection of <strong>Salmonella</strong> in foods :<br />

Collaborative study. J. Assoc. Official Analytical Chemists. 70: 521 – 9.<br />

http://www.hhmi.org/biointeractive/animations/salmonella/sal_print.htm<br />

http://www.cdc.gov/ncidod/dbmd/diseaseinfo/salmonellosis_g.htm<br />

http://www.info.gov.hk/fehd/safefood/library/salmonella/salmonella1.html<br />

Insalata, N.E. and R.A. Chordash. 1984. Flurescent antibody detection of <strong>Salmonella</strong>e.<br />

In : Speck, M.L. (editor), 2 nd edtion. Compendium of Methods for the<br />

Microbiological Examination of Foods. Washington DC. American Public Health<br />

Association: 327 – 42.<br />

International Commission on Microbiological Specifications for Foods (ICMSF). 1978.<br />

Microorganisms in Foods I : Their Significance and Methods of Enumeration. (2 nd<br />

ed.), Toronto: Univ. of Toronto Press: 160 – 72.<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร<br />

45


International Commission on Microbiological Specifications for Foods (ICMSF). 1996.<br />

<strong>Salmonella</strong> Microorganisms in Foods 5. Blackie Academic & Professional. New<br />

York. Pp. 217 – 264<br />

ISO 6579 :1993(E) 3 rd ed. Microbiology – General guidance on method for the detection<br />

of <strong>Salmonella</strong><br />

Jay, J.M. 1996. Chapter 23 : Foodborne Gastroenteritis Caused by <strong>Salmonella</strong> and<br />

Shigella. In: Modern Food Microbiology. 5 th edition. Chapman & Hall<br />

(International Thomson Publishing) Singapore.<br />

Koo, F.C.W. and J.W. Peterson. 1983. Cell-free extracts of <strong>Salmonella</strong> inhibit protein<br />

synthesis and cause cytotoxicity in enkaryotic cells. Toxicon. 21:309 – 320.<br />

Koo, F.C.W., J.W. Peterson, C.W. Houston and N.C. Molina. 1984. Pathogenesis of<br />

experimental Salmonellosis: Inhibition of protein synthesis by cytotoxin. Infec.<br />

Immun. 43: 93 – 100.<br />

Koupal, L.P. and R.H. Diebel. 1975. Assay characterization, and localization of an<br />

enterotoxin produced by <strong>Salmonella</strong>. Infect. Immun. 11: 14 – 22.<br />

La Roche, R.N., V. Desai, B. Friedman and B. Swaminathan. 1981. Field evaluation of<br />

the membrane filter-disc immuno-immobilization technique in the detection of<br />

<strong>Salmonella</strong>e in egg products. Poultry Sci. 60: 2265 – 9.<br />

Mattingly, J.A. and W.D. Gehle. 1984. An improved enzyme immunoassay for the<br />

detection of <strong>Salmonella</strong>. J. Food Sci. 49: 807 – 9.<br />

Michel Y. Popoff. 1997 Antigenic formulas of the <strong>Salmonella</strong> serovars, 7 th edition. WHO<br />

Collaborating Center for Reference and Research on <strong>Salmonella</strong>. Institut Pasteur,<br />

Paris, France<br />

Michel Y. Popoff. 2001 Antigenic formulas of the <strong>Salmonella</strong> serovars, 8 th edition. WHO<br />

Collaborating Center for Reference and Research on <strong>Salmonella</strong>. Institut Pasteur,<br />

Paris, France<br />

Minnich, S.A., P.A. Hartman and R.C. Heimsch. 1982. Enzyme immunoassay for<br />

detection of <strong>Salmonella</strong>e in foods. Appl. Environ. Microbiol. 43: 877 – 83.<br />

NMKL method no 71,2 nd ed., 1999: <strong>Salmonella</strong>. Detection in food. Nordic committee on<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร<br />

46


food analysis.<br />

Post, D.E. Food – borne pathogens monograph number 1 <strong>Salmonella</strong>. Oxid.<br />

Smith, J.L., S.A. Palumbo and I. Walls. 1993. Relationships between foodborne bacteria<br />

pathogens and reactive arthritides. J. Food Safety. 13:209 – 236.<br />

Sperber, W.H. and R.H. Diebel. 1969. Accelerated procedure for <strong>Salmonella</strong> detection in<br />

dried foods and feeds involving only broth cultures and serological reaction.<br />

Appl. Microbiol. 17:533 – 9.<br />

Thomson, J.E., N.A. Cox, J.S. Bailey and M.N. Islam. 1981. Minimizing <strong>Salmonella</strong><br />

contamination on broiler carcasses with polyhexamethylenebiguanide<br />

hydrochloride. J. Food Protect. 44:440<br />

Vassiliadis, P. 1983. The Rappaport-Vassiliadis (RV) enrichment medium for the<br />

isolation of <strong>Salmonella</strong>e. an overview. J. Appl. Bacteriol. 54: 69 – 76.<br />

Welkos, S., M. Schreiber and H. Bare. 1974. Identification of <strong>Salmonella</strong> with the O-1<br />

bacteriophage. Appl. Microbiol. 28: 618 – 22.<br />

47<br />

เรียบเรียงโดย อรุณ บางตระกูลนนท1 , สุมณฑา วัฒนสินธุ2 และชัยวัฒน พูลศรีกาญจน1<br />

1 WHO National <strong>Salmonella</strong> and Shigella Center, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรสาธารณสุข นนทบุรี<br />

2 ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีการอาหาร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!