04.03.2015 Views

ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2552 - สำนักงานนโยบายและแผน ...

ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2552 - สำนักงานนโยบายและแผน ...

ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2552 - สำนักงานนโยบายและแผน ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ฤดูทํานาปี พ.ศ. 2531/32 มีการคัดเลือกพันธุ ์สังข์หยด (KGTC82239)<br />

จากแหล่งเก็บตําบลท่ามะเดื่อ อําเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง โดยคัดเลือก<br />

แบบหมู่ (mass selection) จนได้สายพันธุ์สังข์หยด (KGTC82239-2)<br />

ซึ ่งมีลักษณะเมล็ดเล็กเรียวยาว แต่จุดเปลี ่ยนสําคัญเกิดขึ ้นในปี พ.ศ. 2543<br />

เมื่อสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถทรงมีพระราชดําริให้ตั้ง<br />

โครงการฟาร์มตัวอย่างตามพระราชดําริ จังหวัดพัทลุง ขึ้นที่ตําบลนาปะขอ<br />

อําเภอบางแก้ว จังหวัดพัทลุง ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุงซึ่งได้รับมอบหมาย<br />

ให้รับผิดชอบแปลงนาในโครงการฯ จึงทดลองปลูกข้าวพันธุ์สังข์หยดและ<br />

ถวายข้าวสังข์หยดแด่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่<br />

24 <strong>กันยายน</strong> 2546 ปรากฏว่าเป็นที่ทรงโปรด<br />

ต่อมา ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ได้ยื่นคําขอหนังสือรับรองพันธุ์พืช<br />

ขึ้นทะเบียนตามพระราชบัญญัติพันธุ์พืช พ.ศ. 2518 โดยกรมวิชาการ<br />

เกษตรได้ประกาศออกหนังสือรับรองพันธุ์พืชขึ้นทะเบียนชื่อพันธุ์ “ข้าว<br />

สังข์หยดพัทลุง” เมื่อวันที่ 4 <strong>กรกฎาคม</strong> 2548 และเสนอคําขอ<br />

ขึ้นทะเบียนเป็นสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน<br />

2549 ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ พ.ศ. 2546<br />

ต่อกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ โดยใช้ชื่อสินค้าว่า<br />

“ข้าวสังข์หยดเมืองพัทลุง”<br />

ด้วยคุณสมบัติพิเศษ ลักษณะข้าวกล้องสีแดง รูปร่างเมล็ดเรียว<br />

ความยาวเมล็ดข้าวกล้อง 6.70 มิลลิเมตร ข้าวซ้อมมือมีสีแดงปนสีขาว<br />

เมื่อขัดสีแล้วบางเมล็ดมีสีขาวใส แต่ส่วนใหญ่มีลักษณะขาวขุ่น คุณสมบัติ<br />

การหุงต้มดี ลักษณะข้าวหุงสุกนุ่ม มีความคงตัวของแป้งสุกอ่อน (94<br />

มิลลิเมตร) ปริมาณอมิโลสต่ํา (15.28-2.08%) ลักษณะทรงต้นสูง 140<br />

เซนติเมตร<br />

(KGTC82267) from Khuan-khanun Sub-district, Khao-chaison<br />

District, Phattalung Province. Certain parts of the collected<br />

seeds were sent to be preserved at the Germplasm Bank,<br />

Pathumthani Rice Research Center and some other parts<br />

were kept at the Phattalung Rice Research Center.<br />

During the rice growing season in 1978-1979,<br />

Sangyod (KGTC82239) breeder seeds were selected from<br />

the rice stock at Tamadae Sub-district, Bangkaew District,<br />

Phattalung Province, through mass selection. This produced<br />

Sangyod (KGTC82239-2) breeders, which have elongated<br />

seeds. However, the significant change happened during<br />

2000 when Her Majesty the Queen initiated the Royal<br />

Farm Project at Phattalung Province, Napakor Sub-district,<br />

Bang Kaew District, Phattalung Province by assigning the<br />

Phattalung Rice Research Center to tend rice plots in<br />

the project. Sangyod rice was grown and the harvested<br />

rice was presented to Her Majesty the Queen on September<br />

24 th , 2003. This rice has become the Queen’s favourite.<br />

Later, the Phattalung Rice Research Center petitioned<br />

for this rice breeder to be registered in accordance with the<br />

Plant Offspring Act B.E. 2518 (1975) and subsequently received<br />

a letter of approval to register seeds under the name<br />

“Sangyod Muang Phattalung Rice” on July 4 th , 2005 and<br />

also submitted the petition for GI (Geographical Indication)<br />

registration on June 23 rd , 2006 to comply with the GI<br />

(Geographical Indication) Act of the Intellectual Property<br />

Department, Ministry of Commerce under the name “Sangyod<br />

Muang Phattalung Rice.”<br />

19<br />

Thailand’s Nature and Environment Journal

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!