04.03.2015 Views

ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2552 - สำนักงานนโยบายและแผน ...

ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2552 - สำนักงานนโยบายและแผน ...

ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม-กันยายน 2552 - สำนักงานนโยบายและแผน ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ นี้มีประโยชน์หลัก 5 ประการ คือ<br />

1. การคุ้มครองตามกฎหมายให้เป็นสิทธิของชุมชนผู้ผลิตในการพัฒนา<br />

คุณภาพสินค้าที่ผลิตในท้องถิ่น 2. เป็นการเพิ่มมูลค่าของสินค้าและเป็น<br />

เครื่องมือทางการตลาด เพื่อพัฒนาทางด้านการค้าต่อไป 3. กระตุ้น<br />

ให้ผู ้ผลิตในท้องถิ ่นมีการดูแลรักษามาตรฐานของสินค้าเพื ่อรักษาภาพพจน์<br />

สินค้าที่ผลิตจากท้องถิ่นตน 4. ส่งเสริมอุตสาหกรรมท้องถิ่นเพื่อเพิ่มและ<br />

กระจายรายได้สู่ท้องถิ่น 5. สร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนและความ<br />

ภาคภูมิใจในการรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่น และอาจเป็นส่วนหนึ่งของการ<br />

ส่งเสริมการท่องเที่ยว<br />

คุณสําเริงกล่าวว่า ข้าวเป็นเมล็ดธัญญาหารที่สําคัญระดับโลก<br />

สายพันธุ์หนึ่ง การปรับปรุงสายพันธุ์ข้าวสังข์หยดให้เป็นสายพันธุ์บริสุทธิ์<br />

หมายความว่า ได้ผลผลิตที่มีลักษณะสม่ําเสมอและมีความเฉพาะถิ่น<br />

ทั้งความสูงของต้นหรือความยาวของเมล็ดจะมีความเสถียร ไม่ว่าจะนํา<br />

ไปปลูกที่ไหนหรือปลูกไปแล้วกี่ปีก็ตาม นอกจากจะมีการเปลี่ยนแปลงยีน<br />

ที่ควบคุมลักษณะของพันธุ์ข้าว<br />

ข้อมูลจากการดําเนินงานของศูนย์สายพันธุ ์ข้าวจังหวัดพัทลุงที ่ได้นํา<br />

พันธุ์ข้าวสังข์หยดแจกจ่ายแก่เกษตรกร ระบุว่า ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548<br />

เป็นต้นมา จนกระทั่งปัจจุบัน จังหวัดพัทลุงมีพื้นที่การปลูกข้าวสังข์หยด<br />

ทั้งจังหวัด 12,900 ไร่ มีชาวนาปลูกข้าวชนิดนี้เพิ่มขึ้น 1,900 คน ความ<br />

นิยมเหล่านี้เกิดมาจากลักษณะพิเศษของพันธุ์ข้าว รวมทั้งแรงสนับสนุน<br />

จากสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถที่ทรงพระราชทาน<br />

วโรกาสให้จัดทําโครงการขยายพื้นที่ทดลองเพาะปลูกข้าวพันธุ์สังข์หยดจน<br />

ได้รับการขึ้นทะเบียนรับรองเป็นสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ที่คนพัทลุง<br />

ภาคภูมิใจ<br />

Data from the Phattalung Rice Research Center<br />

mapped the distribution of Sangyod breeder seeds to<br />

farmers since 2005. Now, Phattalung Province grows<br />

Sangyod rice in 12,900 rais of land with a total of 1,900<br />

rice growers. Their preferences resulted from specific features<br />

of Sangyod rice, including the kind support of Her Majesty<br />

the Queen, in expanding test areas for growing this strain<br />

until it became a registered GI product and the pride of<br />

Phattalung.<br />

From Indigenous Rice to<br />

Export Production<br />

In 2005, Khun Saisunee Kaekao, a 40 year-old<br />

Phattalung farmer became one of the first persons to<br />

grow Sangyod rice from improved breeder seeds by the<br />

Phattalung Rice Research Center on 10 rais of land,<br />

later expanded to 200 rais, which provided a good<br />

yield of over 100 tons that benefited consumers and rice<br />

merchants who came to buy rice directly at her plot.<br />

Later, the Sangyod Housewives’ Group was established with<br />

the support of the Provincial Governor, namely Mr. Prajak<br />

Suwannapakdee, to supply Sangyod rice to domestic<br />

markets.<br />

Furthermore, the Sangyod Cooperative was established<br />

so as to distribute rice breeder seeds to members. Now,<br />

the Sangyod Housewives’ Group owns more than 500 rais of<br />

rice plots. As the pioneer of the Sangyod rice growers, Khun<br />

Saisunee realized that Sangyod rice has a softer texture than<br />

regular rice and is suitable for making into highly nutritional<br />

brown rice.<br />

23<br />

Thailand’s Nature and Environment Journal

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!