04.07.2018 Views

ASA CREW VOL.9

E-SAN FUTURE

E-SAN FUTURE

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ISSUE 09<br />

MAR-APRIL<br />

2018<br />

วารสารของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

Journal of The Association of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

- E-SAN FUTURE -


- 3 -<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09


่<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2559-2561<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา / Chairman of Northern Region (Lanna)<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน / Chairman of Northeastern Region (E-San)<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ / Chairman of Southern Region (Taksin)<br />

<strong>ASA</strong><br />

BOARD<br />

นายกสมาคม / President<br />

อุปนายก / Vice President<br />

OF DIREC-<br />

เลขาธิการ / Secretary General<br />

นายทะเบียน / Honorary Registrar<br />

TORS<br />

เหรัญญิก / Honorary Treasurer<br />

ปฏิคม / Social Event Director<br />

ประชาสัมพันธ์ / Public Relations Director<br />

กรรมการกลาง / Executive Committee<br />

<strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong><br />

EDITORIAL<br />

DEPART-<br />

MENTS<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

248/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนพระรามที ่ 9 แขวงบางกะปิ<br />

เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310<br />

The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4, Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok, 10310 Thailand<br />

Tel: 0-2319-6555 Fax: 0-2319-6555 press 120 or 0-2319-6419<br />

www.asa.co.th / Facebook : asacrew / Email: asacrewmag@gmail.com<br />

COVER<br />

CONCEPT<br />

อีสานในอนาคต<br />

อัชชพล ดุสิตนานนท์ / Ajaphol Dusitnanond<br />

เมธี รัศมีวิจิตรไพศาล / Metee Rasameevijitpisal<br />

ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์ / Asst.Prof.Thana Chirapiwat, Ph.D.<br />

ผศ.สุดจิต สนั่นไหว / Asst.Prof.Sudjit Sananwai<br />

ผศ.กิจโชติ นันทนสิริวิกรม / Asst.Prof.Quijxote Nuntanasirivikrom<br />

ปรีชา นวประภากุล / Preecha Navaprapakul<br />

ชาติเฉลิม เกลียวปฏินนท์ / Chartchalerm Klieopatinon<br />

พ.ต.ท.สักรินทร์ เขียวเซ็น / Pol.Lt.Col.Sakarin Khiewsen<br />

ภิรวดี ชูประวัติ / Pirawadee Chuprawat<br />

ทรงพจน์ สายสืบ / Songpot Saisueb<br />

ผศ.ดร.สุรพงษ์ เลิศสิทธิชัย / Asst.Prof.Surapong Lertsithichai, Ph.D.<br />

พ.ต.ท.ดร.บัณฑิต ประดับสุข / Pol.Lt.Col.Bundit Pradabsook, Ph.D.<br />

ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ / M.L.Varudh Varavarn<br />

ผศ.ดร.ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์ / Asst.Prof.Nattawut Usavagovitwong, Ph.D.<br />

ณคุณ กนลมาศ / Nakhun Kumnolmas<br />

ขวัญชัย สุธรรมซาว / Khwanchai Suthamsao<br />

ผศ.สุรศักดิ์ โล่ห์วนิชชัย / Asst.Prof.Surasak Lowanitchai<br />

วิวัฒน์ จิตนวล / Wiwat Chitnuan<br />

กองบรรณาธิการอาษาครู<br />

บรรณาธิการบริหาร / Editor-in-Chief<br />

บรรณาธิการ / Editor<br />

กองบรรณาธิการ / Editorial Staffs<br />

บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ / Art Director<br />

กองบรรณาธิการฝ่ายศิลป์ / Art Editorial Staff<br />

กองบรรณาธิการ โซเชียลมีเดีย / Social Media Staff<br />

นักแปล / Translator<br />

การตลาด / Marketing<br />

พิมพ์โดย / Printed By<br />

อีสานในอนาคตที่อาศัยภูมิปัญญาท้องถิ ่นในอดีต เพื่อขับเคลื่อนไปสู่อนาคต<br />

เป็นแนวคิดหลักในการออกแบบปกวารสาร<br />

ฉบับนี ้ โดยอาศัย<br />

องค์ประกอบศิลป์เชิงสัญญะจากสิ ่งซึ่งอยู่คู่กับวิถีชีวิตชาวอีสาน นั ่นคือการทอผ้า<br />

โดยเฉพาะผ้าขาวม้าที ่เป็นผ้าอเนกประสงค์ของชาวอีสาน เป็นภูมิปัญญาที<br />

สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ การวางโครงสีที ่หลากหลายจากลวดลายและสีสันผ้า<br />

อีสานโดยให้มีความร่วมสมัยยิ ่งขึ้น ด้วยการลดทอนลายละเอียดแต่ยังคงสื่อสาร<br />

โดยเน้นอารมณ์ความรู้สึกที่สนุกสนานแบบของวิถีชีวิตชาวอีสาน ผสมผสานกับ<br />

แนวคิดการเติบโตของจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดขอนแก่นที่เป็นเนื้อหาหลัก<br />

ภายในเล่ม ด้วยการวางตำแหน่งเชิงสัญลักษณ์ตามพิกัดในลักษณะเชิงภูมิศาสตร์<br />

เพื ่อสื ่อความหมายถึงการเชื ่อมโยงและขยายตัวของเมืองที ่เติบโตและเต็มเปี ่ ยม<br />

ไปด้วยศักยภาพของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในอนาคต<br />

วีรพล เจียมวิสุทธิ์ / Werapon Chiemvisudhi<br />

บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ และอาจารย์ด้านกราฟิกดีไซน์<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<br />

ผศ.ดร.กมล จิราพงษ์ / Asst.Prof.Kamon Jirapong, Ph.D.<br />

รติรัตน์ นิมิตรบรรณสาร / Ratirat Nimitrabannasarn<br />

ยินดี พุฒศิรยากร / Yindee Phuttasirayakorn<br />

วีรภา ดำสนิท/ Weerapa Dumsanit<br />

ณฤทัย เรียงเครือ-อิเดอมา / Narutai Riangkruar-Idema<br />

วีรพล เจียมวิสุทธิ์ / Werapon Chiemvisudhi<br />

เพ็ญประภา ศรีเสน่ห์ / Penprapa Srisane<br />

พิมพ์ชนก ดำสนิท / Pimchanok Dumsanit<br />

นิศาชล บุญช่วยคุ้ม / Nisachon Boonchuaykum<br />

พิมพ์วิมล วงศ์สมุทร / Pimwimol Wongsamut<br />

เค.ซี.เพรส / K.C.PRESS<br />

E-San FUTURE<br />

59.2 gsm<br />

www.papergreen.co.th<br />

02-682-8852-4<br />

E-San of the future will rely on its own local wisdoms of to achieve all aspects<br />

of progress. Among the adaptation of the region’s local eclectic know-is the<br />

incorporation of the symbolic elements of a local textile, particularly the loin<br />

cloth known as Pa Khao Ma, which has always been an integral part of the<br />

E-San way of life through generations. The multifunctional cloth contains highly<br />

diverse color compositions and as the contemporary time brings the more<br />

contemporary design, the details and patterns are simplified with the E-San<br />

spirit still celebrated. Featured as the main content of the issue is the combined<br />

elements of E-San locality and the emerging development concepts surrounding<br />

Khon Kaen and Nakornratchasima, two of the region’s important city.<br />

The design symbolically presents the region’s geographical characteristics<br />

into a series of coordinates, conveying the flourishing urban connection and<br />

expansion of E-San cities and their potential.<br />

CONTENTS<br />

06 10 12<br />

<strong>ASA</strong> UPDATE<br />

(New) Vemacular Living Exhbition<br />

in Architect Expo’61<br />

นิทรรศการ (New) Vernacular<br />

living งานสถาปนิก’61<br />

16 24 25 26<br />

COVER STORY<br />

E-San future<br />

อีสาน ฟิวเจอร์<br />

30<br />

TRAVEL<br />

Back to Origin<br />

เที่ยวไปในตัวตน<br />

SPOTLIGHT<br />

Mr. Sathirat Tantanan<br />

The Challenging Role on<br />

International Stage<br />

สถิรัตร์ ตัณฑนันทน์<br />

บทบาทท้าทายบนเวทีสากล<br />

สำรวจ “อีสำาน ฟิวเจอร์”<br />

หลังจากสมาคมสถาปนิกสยามฯ​ ตั้งใจนำเสนอเรื่องราวสถาปัตยกรรมในภูมิภาคมาแล้ว 2 ฉบับ<br />

เริ่มตั้งแต่ภาคเหนือ ต่อด้วยภาคใต้ฉบับนี้เราจะปิดท้ายด้วยภาคอีสาน ภูมิภาคที่กำลังจะเปลี่ยนโฉมหน้า<br />

ไปอย่างมากในอนาคตอันไม่ไกลนับจากนี้ กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน สมาคมสถาปนิกสยามฯ จะพา<br />

คุณผู้อ่านไปสำรวจอีสานวันนี้ที่กำลังจะเปลี่ยนไป โฉมหน้าอนาคตของอีสานจะเป็นอย่างไร และสถาปนิก<br />

อีสานควรมีบทบาทอย่างไรกับการพัฒนาในครั้งนี้ ไม่อยากให้พลาดจริงๆ ครับ<br />

Exploring the ‘E-San Future’<br />

INTERVIEW<br />

A talk with E-San Architects<br />

คุยกับสถาปนิกอีสาน<br />

34<br />

CUISINE<br />

Exploring the taste of<br />

Isan today<br />

สำ รวจรสชาติของอีสานในวันนี้<br />

<strong>ASA</strong> WORLD<br />

When I study architecture in<br />

Finland The country with the<br />

world’s best education system<br />

เมื่อฉันไปเรียนสถาปัตย์ที่ฟินแลนด์<br />

ประเทศที่มีการศึกษาดีที่สุดในโลก<br />

DETAILS<br />

Carnavalet<br />

แลนด์มาร์กใหม่ของโคราช<br />

37<br />

FILM<br />

Villains We Love to Hate<br />

รักเพราะร้าย<br />

ผศ.ดร.กมล จิราพงษ์<br />

บรรณาธิการบริหาร<br />

asacrewmag@gmail.com<br />

After the Association of Siamese Architects under Royal Patronage’s intention to feature<br />

the intriguing vernacular architecture of Thailand’s regions in the past two issues beginning<br />

with the north and followed by the south, to end the series, we bring you many stories about<br />

the then, the now and the future of E-San (northeastern region). With the northeastern territory<br />

preparing to cope with many significant transformations in the near future to come, the<br />

Commission of E-San Architects takes you on a journey to explore the contemporary E-San<br />

and the changes coming its way. What will the face of future E-San look like and what should<br />

be the role of E-San architects in this monumental development? Don’t miss.<br />

Asst.Prof.Kamon Jirapong, Ph.D.<br />

Editor-in-Chief<br />

asacrewmag@gmail.com<br />

14<br />

TIPS<br />

Alternative Dwellings Soil and<br />

Bamboo Natural Innovation<br />

from the Past to the Future<br />

บ้านทางเลือก ดิน และไม้ไผ่<br />

นวัตกรรมธรรมชาติจากอดีตสู่อนาคต<br />

CLASSIC<br />

E-SAN CLASSIC<br />

Exploring the valuable ancient<br />

architecture which fully<br />

maintains E-San being<br />

สำ รวจสถาปัตยกรรมเก่าแก่ทรง<br />

คุณค่าที่เชื่อมโยงความเป็นอีสาน<br />

ดั้งเดิมไว้เต็มเปี่ยม<br />

CONTRIBUTORS<br />

กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

Commissioner of E-San Architects<br />

ฉบับนี้ได้รับเกียรติจากทีมสถาปนิกอีสานมา<br />

นำเสนอแง่มุมที่น่าสนใจของวงการสถาปัตยกรรมในภูมิภาคนี้<br />

E-SAN ซึ่งกำลังจะมีการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ด้วยการมาถึงของ<br />

ระบบขนส่งสาธารณะขนาดใหญ่ที่จะทำให้ภูมิภาคแห่งนี้พลิกโฉมเข้าสู่สังคมเมือง<br />

โฉมหน้าฟิวเจอร์ของอีสานจะเป็นอย่างไรและสถาปนิกอีสานควรมีบทบาทอย่างไร<br />

กับการพัฒนาในครั้งนี้พลิกอ่านกันได้ในคอลัมน์Cover Story รวมทั้งคอลัมน์อื่นๆ<br />

ที่น่าสนใจไม่แพ้กันอย่าง Details, Cover Story, Interview, Classic, Travel และ<br />

Cuisine<br />

This issue of<br />

features some very interesting insights<br />

from the architects of E-San about the present and future of architecture<br />

in the northeastern part of Thailand as the region is expecting<br />

the arrival of mega transportation infrastructures that will transform<br />

this vast rural land of the country into an urbanized society. What<br />

the future holds for E-San and how can the architects of E-San take<br />

part in the development, read all about it in our Cover Story piece<br />

with many other interesting contents from this issue’s columns from<br />

Details, Classic, Travel, Interviews to Cuisine.<br />

C1 : พนินทร โชคประเสริฐถาวร<br />

<strong>ASA</strong> WORLD<br />

Panintorn Chokprasertthaworn<br />

บัณฑิตจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากรที่ยังคงหลงรักและตื่นเต้น<br />

กับการดูงานสถาปัตยกรรมอยู่ทุกครั้ง แต่ด้วย<br />

ความต้องการศึกษาสาขาที่เพิ่มเติมความรู้ใน<br />

อีกศาสตร์ เพื่อต่อยอดให้กับการทำงานด้าน<br />

สถาปัตย์ จึงบินลัดฟ้าไปเรียนต่อปริญญาโท<br />

ด้าน Construction and Real Estate Management<br />

(ConREM) ซึ่งเป็นคอร์สของมหาวิทยาลัย HTW Berlin เปิดร่วมกับ Helsinki<br />

Metropolia ฉบับนี้เธอจะมาถ่ายทอดประสบการณ์การเรียนหลักสูตรดังกล่าว<br />

ในดินแดนสองประเทศ อย่างฟินแลนด์และเยอรมนี<br />

The passion and love this architecture graduate from Silpakorn<br />

University has for architecture never wears off. With her desire to<br />

further expand the spectrum of her architectural knowledge, Panintorn<br />

travels across the world to pursue her master degree education. She<br />

enrolls in Construction and Real Estate Management (ConREM), the<br />

course provided by the renowned education institute, HTW Berline<br />

and Helsinki Metropolia. She will be sharing her experience studying<br />

the curriculum in Finland and Germany with us in this issue of<br />

TIPS<br />

C2 : ธนา อุทัยภัตรากูร<br />

Thana Uthaipattrakoon<br />

จบการศึกษาปริญญาตรีคณะสถาปัตยกรรม-<br />

ศาสตร์บัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร และปริญญาโทสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรมเพื่อชุมชนและ<br />

สิ่งแวดล้อม ปัจจุบันด ำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำ<br />

ภาควิชาสถาปัตยกรรมเพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม<br />

สถาบันอาศรมศิลป์ผู้เชี่ยวชาญการทำบ้านดิน<br />

และอาคารไม้ไผ่ ผ่านการทำงานเป็นวิทยากร<br />

ผู้จัดการโครงการ และสร้างเครือข่ายบ้านดินทั่วประเทศรวมทั้งการศึกษาออกแบบ<br />

ก่อสร้างอาคารไม้ไผ่ที่สถาบันอาศรมศิลป์<br />

With a bachelor degree in architecture from the Faculty of<br />

Architecture of Silpakorn University and master degree in Architecture<br />

for the Community and Environment, Thana Uthaipattrakoon is<br />

currently working as one of the professors in the Department of<br />

Architecture for the Community and Environment of Arsom Silp<br />

Institute of the Arts. He is also an expert, earth house and bamboo<br />

structure design who still continues to pursue his knowledge in the<br />

study of bamboo architecture with extensive experience as a lecturer<br />

and a facilitator of earth house projects and earth house network<br />

nationwide.<br />

C3 : ณฤทัย เรียงเครือ<br />

FILM<br />

Narutai Riangkruar<br />

จากบัณฑิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์สถาบัน<br />

เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

ที่คิดว่าการเขียน การอ่านไม่สำคัญสำหรับงาน<br />

สถาปัตยกรรม กลายเป็นหลงใหลทฤษฎีสถาปัตย-<br />

กรรม ประวัติศาสตร์โลกและปรัชญาการออกแบบ<br />

เพราะเชื่อว่าความเคลื่อนไหวทางสังคมเป็นสิ่ง<br />

หล่อหลอมมนุษย์ผู้สร้างสถาปัตยกรรมที่สะท้อน<br />

จิตวิญญาณ และอุดมการณ์ของสังคมหนึ่งๆ จึงเดินทางไปเรียนต่อที่ Delft<br />

University of Technology ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในทวีปเล็กๆ ที่สร้างสรรค์สิ่ง<br />

ประดิษฐ์ และแนวความคิดเปลี่ยนโลกมากมาย เพื่อหวังจะเข้าใจที่มาที่ไปของ<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรมแต่ละยุค และเข้าใจสังคมที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง<br />

เหล่านั้น ปัจจุบันได้นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้มาถ่ายทอดให้กับนักศึกษา<br />

โดยหวังว่าคงจะได้เปิดมุมมองสู่โลกกว้างให้พวกเขาได้ออกไปค้นหา และพบ<br />

เจอทิศทางการออกแบบของตนเอง<br />

From an architecture graduate from King Mongkut’s Institute<br />

of Technology Ladkrabang who used to think that reading wasn’t<br />

important to the creation of architecture to an architectural theories,<br />

world history and design philosophy enthusiast, Narutai believes in<br />

the power of social movements and their ability to enlighten human<br />

beings who are the creator of architecture-the creation that reflects<br />

a society’s spirit and ideology. Narutai furthers her education at Delft<br />

University of Technology in the Netherlands, a country on a small<br />

continent that originates countless world-changing inventions and<br />

ideas. Her hope is to be able to understand the origin and history of<br />

architecture from each different period as well as to attain a better<br />

comprehension about the society from which such changes are<br />

generated. Her accumulating knowledge is now being transmitted to<br />

her students as she hopes to help broaden their perspective and<br />

encourage them to explore and discover their own design direction.


เรื่อง : ดร.พีรียา บุญชัยพฤกษ์<br />

รูป : The Real One Co., Ltd. (TR1)<br />

ผู้สนับสนุนการจัดทำ VR และ AR ในนิทรรศการสถาปนิก’61<br />

<strong>ASA</strong> UPDATE<br />

(New) Vemacular Living Exhibition<br />

in Architect Expo’61<br />

นิทรรศการ (New) Vernacular Living งานสถาปนิก’61<br />

แนวคิดหลักในการจัดงานนิทรรศการของสมาคมสถาปนิกสยามฯ ในงานสถาปนิก’61 ถูกกำหนดภายใต้หัวข้อ Vernacular Living โดยเนื้อหาของนิทรรศการถ่ายทอดการเปลี่ยนแปลง<br />

ของวิถีชีวิตผู้คนในสังคมในปัจจุบันที่ได้รับผลกระทบจากการแปรเปลี่ยนไปของสภาพแวดล้อม บริบททางสังคม กระแสโลกาภิวัตน์ และการพัฒนาของเทคโนโลยีสมัยใหม่ ซึ่งสัมพันธ์กับการ<br />

เปลี่ยนแปลงและปรับตัวของสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น ตลอดไปจนถึงลักษณะทางกายภาพของเมืองท้องถิ่น โดยนิทรรศการสื่อถึงการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวผ่านกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวันในพื้นที่<br />

4 ประเภท ได้แก่ พื้นที่พักอาศัย พื้นที่ประกอบอาชีพ พื้นที่สาธารณะ และรูปแบบการเดินทางและขนส่งในเมืองที่ปรากฏอยู่ในพาวิเลียนหลัก 4 พาวิเลียน ได้แก่ Living Space Pavilion, Working<br />

Space Pavilion, Meeting Space Pavilion, Moving System Pavilion ซึ่งผู้ออกแบบเนื้อหาของแต่ละนิทรรศการได้ขยายความในรายละเอียด และประยุกต์ใช้สื่อที่หลากหลายเพื่อสื่อสารกับ<br />

ผู้เข้าชมนิทรรศการ ทั้งภาพถ่าย ภาพวาดเล่าเรื่อง หนังสั้นเชิงทดลอง ตลอดไปจนถึงการใช้เทคโนโลยี VR (Virtual Reality) เพื่อให้สอดคล้องกับเนื้อหาและประเด็นสำคัญที่ทางผู้ออกแบบ<br />

ต้องการสื่อสารไปยังผู้ชมนิทรรศการ<br />

เทคโนโลยี AR ผสำานโลกแห่งความจริงเข้ากับ<br />

โลกเสำมือน<br />

นอกจากสื่อที่ติดตั้งอยู่ในพาวิเลียนหลักแล้วนิทรรศการทั้ง<br />

4 พาวิเลียนยังถูกถ่ายทอดผ่านเทคนิคAR (Augmented Reality)<br />

ซึ่งเป็นเทคนิคการรวมสภาพแวดล้อมจริงกับวัตถุเสมือนเข้าไว้<br />

ในเวลาเดียวกัน โดยวัตถุเสมือนนั้นจะเป็นภาพหรือวิดีทัศน์ที่ช่วย<br />

ขยายความเข้าใจต่อเนื้อหาของแต่ละนิทรรศการที่ไม่สามารถจัด<br />

ทำเป็นสภาพแวดล้อมจริงได้รวมไปถึงกระบวนการก่อสร้างและ<br />

ขึ้นรูปของพาวิเลียนโดยผู้เข้าชมสามารถดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น<br />

ในมือถือที่จัดท ำขึ้นเฉพาะในงานนี้เพื่อใช้ในการชมนิทรรศการ<br />

แต่ละจุด รวมไปถึงมีการติดตั้งอุปกรณ์ให้ผู้เข้าชมได้ทดลองสร้าง<br />

ประสบการณ์ดังกล่าวใน Introduction Pavilion อีกด้วย<br />

งานสถาปนิก’61 ประกอบไปด้วยนิทรรศการและกิจกรรม<br />

มากมายที่ตั้งค ำถามถึงการอยู่อาศัยพื้นถิ่นและสถาปัตยกรรม<br />

พื้นถิ่นในมุมมองใหม่ๆงานปีนี้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการออกแบบ<br />

นิทรรศการ โดยมีการเชิญสถาปนิกที่มีความสนใจหลากหลาย<br />

แนวทางทั้งสิ้น18 กลุ่มมาออกแบบพาวิเลียนโดยสถาปนิกแต่ละ<br />

กลุ่มได้รับโจทย์ทางด้านวัสดุพื้นถิ่น เพื่อนำไปกำหนดแนว<br />

ความคิดในการออกแบบพาวิเลียนที่สื่อให้เห็นถึงมุมมองต่อ<br />

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นของสถาปนิกแต่ละกลุ่ม<br />

นิทรรศการ (New) Vernacular living<br />

งานสำถาปนิก’61 เปิดให้ชม 1 - 6 พฤษภาคม 2561<br />

ณ อาคารชาเลนเจอร์ 1 - 3 อิมแพคเมืองทองธานี<br />

Creating new experiences with VR<br />

technology<br />

ภาพจำลองประสบการณ์เทคนิค AR ที่เมื่อผู้เข้าชมนิทรรศการใช้มือถือส่องไปยังจุดที่กำหนดจะเกิดภาพ 3 มิติ ของกระบวนการก่อสร้างของพาวิเลียนมาจนสมบูรณ์<br />

AR technique showing 3D image of the full construction process of pavilions when the audiences point their mobile phones at the specific area<br />

ภาพจำลองประสบการณ์ที่ผู้ชมนิทรรศการ The Superimposed Layers on the (Contemporary) Public Space จะพบเห็นผ่านเทคนิค VR<br />

The simulation showing what the audience will experience in The Superimposed Layers on the Contemporary Public Space Exhibitiom through VR technique<br />

สำร้างประสำบการณ์ใหม่ด้วยเทคโนโลยี VR<br />

การประยุกต์ใช้เทคนิค VR หรือ Virtual Reality นับเป็น<br />

เทคนิคการสื่อสารและสร้างประสบการณ์ที่กำลังแพร่หลาย<br />

และได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในปัจจุบัน เทคนิค VR<br />

คือ การจำลองสภาพแวดล้อมจริงผ่านการรับรู้จากการมอง<br />

เห็น การได้ยิน และการสัมผัสเพื่อให้เกิดความเสมือนจริง<br />

โดยจะตัดขาดผู้ใช้ออกไปจากสภาพแวดล้อมปัจจุบัน เพื่อ<br />

เข้าไปสู่สภาพแวดล้อมที่จำลองขึ้น เสมือนเราเข้าไปอยู่ใน<br />

สถานที่นั้นจริงๆ นิทรรศการในงานสถาปนิก’61 ได้นำเอา<br />

เทคนิค VR นี้มาประยุกต์ใช้ เพื่อสื่อสารเนื้อหานิทรรศการ<br />

และสร้างประสบการณ์ใน Meeting Space Pavilion<br />

นิทรรศการของ Meeting Space Pavilion ถูกออกแบบ<br />

เนื้อหาภายใต้ชื่อ The Superimposed Layers on the<br />

(Contemporary) Public Space หรือมิติซ้อนทับบนพื้นที่<br />

สาธารณะ (สมัยใหม่) เล่าถึงการซ้อนทับของกิจกรรมที่<br />

หลากหลายบนพื้นที่สาธารณะและการสร้างพื้นที่ทางสังคม<br />

เฉพาะถิ่นแบบไทยๆ และชี้ให้เห็นการซ้อนทับมิติของโลก<br />

ออนไลน์และพื้นที่ทางกายภาพของเมืองในสังคมปัจจุบันที่<br />

ผู้คนใช้เวลาส่วนมากไปบนพื้นที่โลกออนไลน์และโซเชียล<br />

มีเดีย ในขณะที่ตระหนักถึงสภาพแวดล้อมรอบตัวลดน้อย<br />

ลงไป<br />

โลกเสมือนจริงที่ซ้อนทับ<br />

อยู่บนพื้นที่สาธารณะของพาวิเลียน<br />

นอกจากนี้การเกิดขึ้นของ Urban Gamification อย่าง<br />

Pokemon - go สร้างมิติการซ้อนทับของโลกเสมือนที่ถูก<br />

สร้างขึ้นโดยเลียนแบบสภาพแวดล้อมจริงด้วยการใช้ที่ตั้ง<br />

ของสถานที่จริง (Location - based) เกม Pokemon - go<br />

สร้างปรากฏการณ์ที ่ทำให้คนออกไปสู่พื้นที่สาธารณะและ<br />

กึ่งสาธารณะของเมือง และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้คนรอบๆ<br />

ที่มีความสนใจใกล้เคียง เป็นนวัตกรรมที่เชื่อมมิติการซ้อนทับ<br />

ของสังคมออนไลน์และโลกเสมือนจริงที่เป็นรูปธรรม จนอาจ<br />

กล่าวได้ว่า นี่อาจจะเป็นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้<br />

พื้นที่สาธารณะร่วมสมัย ที่อาจทำให้เราสร้างความเข้าใจ<br />

พื้นที่สาธารณะในนิยามใหม่ การตั้งคำถามถึงสิทธิการใช้<br />

พื้นที่สาธารณะ และรวมไปถึงคำถามที่ว่าคนในเมืองอาจ<br />

ต้องการแนวทางการออกแบบพื้นที่สาธารณะแบบใหม่<br />

นิทรรศการ The Superimposed Layers on the<br />

(Contemporary) Public Space ตั้งคำถามถึงมิติการซ้อน<br />

ทับระหว่างโลกออนไลน์และพื้นที่ทางกายภาพ โดยผ่าน<br />

เทคนิค Virtual reality ว่า หากพาวิเลียน Meeting Space<br />

ถูกตั้งอยู่ในพื้นที่ทางสาธารณะและทางสังคมของไทยใน<br />

บริบทอื่นๆ จะมีลักษณะอย่างไร พร้อมกับการนำเอารูป<br />

แบบการสื่อสารบนโซเชียลมีเดีย เช่น Twitter แบบเรียลไทม์<br />

ซ้อนทับลงบนแบ็กกราวน์ของสถานที่จุดนัดพบต่างๆ ที่มีชื่อ<br />

เสียงของกรุงเทพมหานคร จุดมุ่งหมายเชิงลึกของการใช้<br />

เทคนิค Virtual Reality นี้ มุ่งตั้งคำถามถึงการดำรงอยู่ของ<br />

ร่างกายและความคิด (Body and Mind) ของผู้เล่นใน<br />

นิทรรศการบนโลกเสมือนจริงที่ซ้อนทับอยู่บนพื้นที่สาธารณะ<br />

ของพาวิเลียนในงานสถาปนิก’61 ว่าเราควรจะหัน กลับมามี<br />

ความตระหนักต่อการดำรงอยู่ในสภาพแวดล้อม ณ ตอนนี้<br />

อย่างไร และสร้างความสมดุลระหว่างการปฏิสัมพันธ์บนโลก<br />

ออนไลน์และการพบปะแบบประจันหน้าอย่างไร<br />

The concept of the Architect Expo’61 by The<br />

Association of Siamese Architects is under the<br />

theme of Vernacular Living. The exhibition shows<br />

the changes of lifestyle in the present society,<br />

which are affected by environmental changes, social<br />

context, globalization and new technologies, involving<br />

the improvement of local architecture and physical<br />

change of cities. The exhibition will show these<br />

changes through various daily activities in 4 areas<br />

which are living space, working space, public space<br />

and transportation platforms in the city. They will<br />

be displayed in 4 main pavilions including Living<br />

Space Pavilion, Working Space Pavilion, Meeting<br />

Space Pavilion and Moving System Pavilion. The<br />

exhibition designers will describe in details using<br />

various media such as pictures, drawings, short films<br />

and even VR technology (Virtual Reality) according<br />

to the content and main points that designers<br />

wanted to communicate with the audience.<br />

The application of VR or Virtual Reality technique<br />

is very popular at this moment. The Virtual Reality<br />

technique is to simulate real environments through<br />

vision, hearing, and touching to create virtual effect.<br />

It will put the audience into the simulated scenes<br />

and make them feel like being in the real situations.<br />

The Architect Expo’61 uses the VR technique to<br />

express contents and create experiences for the<br />

audience in the Meeting Space Pavilion.<br />

The exhibition in Meeting Space Pavilion is entitled<br />

The Superimposed Layers on the (Contemporary) Public<br />

Space or the Overlapping Dimensions of Modern<br />

Public Space. The exhibition shows various overlapping<br />

activities in public spaces and how Thai endemic<br />

social spaces are created. It also points out on the<br />

overlapping dimensions of the online world and the<br />

physical space of the city in the present society<br />

where people spend most of their time online and<br />

social media but aware of the surrounding environment<br />

less.<br />

The occurrence of Urban Gamification, such as<br />

Pokemon-go, builds the overlay virtual world by<br />

imitating the real environment with real location-based.<br />

The Pokemon-go game creates a phenomenon that<br />

takes people out into the public and semi-public<br />

areas of the city to interact with the people who<br />

have the same interest. It is an innovation that<br />

connects the overlapping dimensions of online<br />

society and the virtual reality world. So this might<br />

change of the contemporary public space usage<br />

that makes us redefine the new meaning of public<br />

space and question about the right to use public<br />

space. It might also suggest that people want the<br />

public space to be designed differently.<br />

The Superimposed Layers on the Contemporary<br />

Public Space exhibition is to question about the<br />

overlapping dimensions between online and physical<br />

space. What happens in the public and social space<br />

of Thai society will be shown in the simulated<br />

Meeting Space Pavilion by virtual reality technique<br />

including with the real time communication on<br />

social media format, such as twitter, overlaid on<br />

the background of famous meeting points of Bangkok.<br />

The purpose of using virtual reality technique<br />

is to question the existence of body and mind of the<br />

audience in the Architect Expo’61 about how we should<br />

consider the present environment and how to balance<br />

the interaction of online and face-to-face communication.<br />

AR Technology combines the real<br />

world into the simulated world<br />

Besides the installed media in the main Pavilion,<br />

all 4 exhibition pavilions are also transmitted<br />

through AR (Augmented Reality) technique, which<br />

combines the real environment and virtual objects<br />

in the same time. The virtual objects, either pictures<br />

or videos, will enhance the construction process of<br />

Pavilions and the content of each exhibition that<br />

cannot be made in the real environment. Visitors<br />

can download mobile application, which is especially<br />

created for this exhibition, to view each exhibition.<br />

Some special equipment will be provided for the<br />

audience to try in the Introduction Pavilion as well.<br />

The Architect Expo’61 contains many exhibitions<br />

and activities which question about local living and<br />

architecture through new perspective. The exhibition<br />

design process is different in this year. Different 18<br />

groups of talented architects are invited to design<br />

pavilions. The specific local material is assigned to<br />

each group to create the design concept which<br />

reflects their perspectives of the local architecture.<br />

Come to find out your own style local architecture<br />

at The Architect Expo’61 which will be held on May<br />

1-6, 2018 at Challenger 1 - 3, Impact, Muang Thong<br />

Thani.<br />

(New) Vemacular Living<br />

Exhibition in Architect Expo’61 Open days 1 - 6 May 2018<br />

At Challenger 1 - 3, Impact, Muang Thong Thani.<br />

- 6 -<br />

- 7 -<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09


เรื่อง : วิชุดา เครือหิรัญ และ 56th Studio<br />

รูป : 56th Studio<br />

Look Isan Now<br />

Before the first exhibition at TCDC Khonkaen happens<br />

ลูกอีสานวันนี้ เรื่องเล่าก่อนจะเป็นนิทรรศการแรกที่ TCDC ขอนแก่น<br />

ที่ปรับตัวให้เข้ากับบริบทสังคมในปัจจุบันพวกเขาสร้างสรรค์<br />

อะไรที่บ้านบ้าง แม้บางคนจะไม่ได้กลับมาแบบเต็มตัวก็ตาม<br />

พวกเขามีวิธีคิด วิธีการอย่างไร<br />

โซนที่สาม เมื่อโลกหมุนมาหาอีสาน ความนิยมอีสานได้<br />

เกิดขึ้นไปทั่วโลกร้านอาหารอีสานเคยคว้ามิชลินสตาร์ วงดนตรี<br />

อีสานเคยขึ้นเวทีในเทศกาลดนตรีระดับโลก รวมไปถึง<br />

นโยบาย การลงทุนต่างๆ จากทั้งในและต่างประเทศที่เป็น<br />

ประโยชน์กับภูมิภาคนี้ เราพยายามเล่าเรื่องเหล่านี้ภายในพื้นที่<br />

อันจำกัด อยากให้คนที่มาดูได้ภูมิใจในบ้านเกิดของตัวเอง”<br />

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ ขอนแก่น หรือ TCDC Khon Kaen สาขาแห่งที่สอง (สาขาแรกคือ TCDC Chiang Mai) จะเปิด<br />

ให้บริการที่จังหวัดขอนแก่น เพื่อเป็นศูนย์ความรู้ด้านการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์แห่งภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ที่ประกอบด้วยบริการหลัก 3 ด้าน คือ การเป็นศูนย์ความรู้ด้านการออกแบบและความคิดสร้างสรรค์การเป็นศูนย์วัสดุท้องถิ่น<br />

อีสาน และการพัฒนาผู้ประกอบการให้เกิดการนำความคิดสร้างสรรค์ไปใช้ในการพัฒนาธุรกิจพร้อมกับการเปิดนิทรรศการ<br />

“Look Isan Now: ลูกอีสานวันนี้” ด้วย หลายบรรทัดด้านล่างนี้คือเรื่องราวร่วมๆ หนึ่งปีก่อนวันเปิดนิทรรศการจากภัณฑารักษ์<br />

และนักออกแบบนิทรรศการ<br />

นิทรรศการแรกของ TCDC ขอนแก่น แต่เป็นนิทรรศการเรื่อง “อีสาน” ครั้งที่สองของ TCDC<br />

“ย้อนกลับไปเมื่อประมาณ 13 ปีที่แล้ว “กันดารคือสินทรัพย์ : อีสาน” เป็นนิทรรศการแรกเมื่อครั้ง TCDC เริ่มต้นเปิดให้<br />

บริการ เราจะหยิบจับเรื่องราวในตอนนั้นกลับมาเล่าใหม่เหมือนเป็นภาคต่อใน พ.ศ. นี้ดีไหม คือสิ่งที่ทีมภัณฑารักษ์ต้องกลับไป<br />

ทำการบ้าน”<br />

เมื่อต้องเล่าเรื่องอีสานให้คนอีสานฟัง<br />

“ความท้าทายครั้งนี้คือเราจะเล่าเรื่องที่ลูกหลานชาว<br />

อีสานพบเห็นทุกวันจนเกือบจะเคยชินออกมาอย่างไรให้<br />

น่าสนใจ ต่างจากนิทรรศการครั้งที่แล้วที่เล่าเรื่องคนอีสาน<br />

ให้คนต่างถิ่นอย่างคนกรุงเทพฯ ฟัง ประมาณกลางปี 2560<br />

เราจึงเริ่มต้นลงไปเก็บข้อมูลของภูมิภาคอีสานในวันนี้<br />

และตระเวนคุยกับผู้คนมากหน้าหลายตาที่ต้อนรับเรา<br />

อย่างดี พร้อมที่จะเล่าเรื่องราวให้ฟังอย่างออกรส จนช่วง<br />

ปลายปีก็ได้เวลารวบรวมข้อมูลมหาศาล มาวางโครงสร้าง<br />

เนื้อหานิทรรศการ โดยตัดสินใจว่าเราจะเล่าเรื่องใหม่ที่ต่าง<br />

ไปจากนิทรรศการเดิม”<br />

เด็กชายคูนในวันนี้เป็นอย่างไร<br />

“แน่นอนว่า หนังสือเรื่องลูกอีสาน ของคำพูน บุญทวี<br />

ช่วยให้เราเข้าใจและเห็นภาพของภูมิภาคเมื่ออดีต แต่ภาพ<br />

ที่เราเห็นและพูดคุยกับผู้คนมันมีความเหมือนและความ<br />

ต่างออกไป ภูมิภาคนี้มีเรื่องราวหลากหลายมิติที่น่าหยิบจับ<br />

มาเล่าเต็มไปหมด แต่ภายในพื้นที่ขนาด 180 ตารางเมตร<br />

ซึ่งไม่ได้ใหญ่โตอะไร เราควรจะเล่าเรื่องไหนดี ก็มาได้ข้อ<br />

ตกลงว่า ทักษะ ลักษณะเฉพาะตัวและหัวใจนักสู้ ที่เป็น<br />

เหมือนดีเอ็นเอของลูกอีสาน เมื่อมาผนวกเข้ากับเทคโนโลยี<br />

ไลฟ์สไตล์ในวันนี้ พวกเขามีวิธีเปิดรับ ประยุกต์และรับมือ<br />

กับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างไร เราจึงอยากชวนให้<br />

ผู้เข้าชมได้เห็นมวลของความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ใน<br />

นิทรรศการ”<br />

กลับบ้าน ไม่มีที่ไหนเหมือนบ้านเรา<br />

”ปริมาณนักสร้างสรรค์ในภูมิภาคที่นับกันไม่ถ้วน ความ<br />

ท้าทายอีกอย่างของทีมภัณฑารักษ์ก็คือจะลำดับและเล่าเรื่อง<br />

อย่างไร เราควรหยิบประเด็นไหนมาเล่า ทุกอย่างเป็นสิ่งที่<br />

คิดกันหลายตลบ จนเวอร์ชั่นของเนื้อหานิทรรศการวิ่งไป<br />

แตะที่เวอร์ชั่น 18<br />

ร่างสุดท้ายของนิทรรศการจึงแบ่งออกเป็น3 โซน โซนแรก<br />

เล่าเรื่องความเดิมตอนที่แล้วที่แม้จะเป็นภูมิภาคที่ขึ้นชื่อเรื่อง<br />

คนออกไปแสวงหาโอกาสนอกบ้านเกิดเมืองนอน แต่การออก<br />

ไปเห็นโลกกว้างนี่แหละทำให้ได้เรียนรู้ได้ประสบการณ์รวม<br />

ไปถึงทักษะใหม่ๆ<br />

โซนที่สอง การกลับบ้านของลูกอีสาน โซนใหญ่ที่กินพื้นที่<br />

60 เปอร์เซ็นต์ของนิทรรศการ มีเรื่องอยากเล่าร่วมๆ 50 เรื่อง<br />

ทั้งในแง่บุคคล กลุ่มคน และเมือง เมื่อพวกเขากลับมาที่บ้าน<br />

เกิด นักสร้างสรรค์ลูกอีสานได้สร้างธุรกิจสร้างสรรค์ใหม่ๆ<br />

ที่มาที่ไปของการออกแบบนิทรรศการจาก<br />

56th Studio<br />

“การ ‘กลับบ้าน’ ไปสำรวจสิ่งรอบตัวหรือภูมิปัญญาท้อง<br />

ถิ่นที่ครั้งหนึ่งเคยถูกมองข้าม และใช้ความสร้างสรรค์<br />

เป็นต้นทุนในการคิดค้นสิ่งใหม่ๆ (Vernacu-ristic) คือหัวใจ<br />

ในการออกแบบนิทรรศการในครั้งนี้โดยรูปแบบของการนำ<br />

เสนอเนื้อหาต่างๆ ในนิทรรศการนั้น ไม่เพียงแต่เน้นย้ำให้<br />

เห็นถึงทัศนคติของคนอีสานที่เปลี่ยนไป โดยหยิบยืมเอา<br />

Visual Culture ในแบบอีสานที่คุ้นตา เช่น ภาพวาดสีน้ำมัน<br />

บนรถสิบล้อ หรือยานพาหนะที่ใช้ในการโดยสาร เช่น รถ<br />

สองแถว รถอีแต๋น มาดัดแปลงใช้ แต่ยังสะท้อนให้เห็นถึง<br />

การเดินทางของ ‘ลูกอีสานวันนี้’ ซึ่งได้สะสมมุมมองที่เป็น<br />

สากลและสามารถพลิกแพลงสรรสร้างวัฒนธรรมใหม่ๆ ให้<br />

เกิดขึ้นบนภูมิภาคที่ครั้งหนึ ่งเคยแห้งแล้งได้ ไม่ว่าจะเป็น<br />

ความบันเทิง ดนตรีอาหาร งานหัตถกรรม แฟชั่น หรือแม้กระทั่ง<br />

โอกาสทางสังคมและเศรษฐกิจในอนาคต มาเล่าผ่านวัสดุและ<br />

วัตถุที่คุ้นชิน เช่น ผ้าพลาสติกทอสีรุ้ง ผ้าเดรป บนกลองยาว<br />

แคร่ไม้ไผ่ ฯลฯ เพื่อให้ประสบการณ์การเข้าชมนิทรรศการ<br />

ครั้งนี้เปรียบเสมือนกับการกลับเข้าไปสำรวจ และค้นหา<br />

มุมมองใหม่ๆ ที่อีสานในวันนี้สามารถมอบให้ได้อย่างแท้จริง”<br />

พบกับนิทรรศการ<br />

“LOOK ISAN NOW: ลูกอีสำานวันนี้”<br />

ณ TCDC ขอนแก่น ถนนกัลปพฤกษ์<br />

ย่านกังสดาลเร็วๆ นี้<br />

TCDC Khonkaen is the second branch of TCDC and<br />

the first is TCDC Chiang Mai. It is meant to be the design<br />

and creative center of the northeast region which contains<br />

3 main services. Those services are being the design and<br />

creative center, being the northeast materials center and<br />

training center to develop entrepreneurs’ skill in creative<br />

thinking and raise their business. The opening exhibition<br />

“Look Isan Now” will be shown and this is the story that<br />

had happened about a year before the opening day told<br />

by the curator and the exhibition designer.<br />

The first exhibition of TCDC Khonkaen,<br />

but it is the second exhibition about<br />

Isan of TCDC<br />

“Our first exhibition about Isan, “The Barren Land is<br />

The Asset : Isan” happened 13 years ago when TCDC first<br />

opened to serve the public. The curator had to consider<br />

if we should pick that story to continue it in this year.”<br />

When you have to tell story about Isan<br />

to Isan native<br />

“The challenge of this exhibition is to figure how to<br />

interest northeast people with the story of their ordinary<br />

daily lives. It is different from the last exhibition that we<br />

told northeastern story to Bangkok people. So about<br />

the middle of 2017 we went to do a survey and collect<br />

information of present northeastern. We talked to many<br />

people who gave us very warm welcome. Until at the end<br />

of 2017, we had enough information to plan the exhibition’s<br />

content and we decided to tell the different story this time.”<br />

How is the young Koon today?<br />

“The book “Look Isan” (The Northeastern Natives) by<br />

Kumpoon Boontawee made us see and understand how<br />

the northeastern region was in the past. But things we<br />

saw when we talked to people nowadays are different.<br />

There are so many interesting things about this region<br />

but the 180 Sq.m. area might not be big enough to show<br />

all of them. Finally we decided to tell story about skill,<br />

identity, and the brave hearts of northeastern natives<br />

combined with their modern lifestyle and new technology.<br />

We would like to tell about story how the northeastern<br />

people apply and handle the change that happens. We<br />

would like to invite people to come see the mass of<br />

changes in this exhibition.”<br />

Come back home, there’s no place like<br />

our home<br />

“The big amount of creators in the region is a challenge<br />

for the curator to edit the story. We have to consider<br />

carefully about which objects should be picked and it<br />

ended in our 18th version.”<br />

“The final plan of the exhibition is divided into 3 zones.<br />

The first zone shows the last story. Even most of people<br />

in this region move to work out of their homeland, but their<br />

journeys gave them a lot of knowledge and experiences,<br />

including new skills.”<br />

“The second zone is about northeastern people coming<br />

back home. This zone takes over 60% of the exhibition area.<br />

There are about 50 stories that we want to tell either about<br />

people or the cities. When they come back, what Isan creators<br />

do to create new business which is adapted to the present<br />

social context. What did they do for their homeland?”<br />

“The third zone tells the story about when the world<br />

turns to Isan and it becomes worldwide popular. Isan<br />

restaurant awarded the Michilin Star. Isan local band was<br />

on stage in many international music festivals. There are<br />

also a lot of policies and investments from both inside<br />

and outside the country which give benefit to this region.<br />

And we try to tell about these reputations to let the Isan<br />

natives be proud of their homeland.”<br />

The journal of the exhibition designing<br />

by 56th Studio<br />

“Coming back home to explore things or local intellectual<br />

which once were neglected and using creativity to invent<br />

innovation are the heart of the exhibition design. The<br />

pattern of presentations does not only emphasize the<br />

changing attitude of Isan people, but also reflects the<br />

journey of their lives. The familiar Isan visual culture such<br />

as oil painting on trucks and some applied vehicles are<br />

used to represent new generation of Isan people who<br />

can apply and create new innovations on the once was<br />

barren land. Those creations are about entertainment,<br />

music, food, crafts, fashion, and opportunities for better<br />

society and economic in the future. The exhibition is<br />

presented with some vernacular materials to make the<br />

audience feel comfortable as they come back home to<br />

explore new visions of the present Isan region.<br />

The “LOOK ISAN NOW: ลูกอีสำานวันนี้”<br />

Exhibition at TCDC Khonkaen, Gulpapruk Road,<br />

Gangsadal neighborhood is coming soon.<br />

- 8 -<br />

- 9 -<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09


เรื่อง :<br />

SPOTLIGHT<br />

Mr. Sathirat Tantanan<br />

สำถิรัตร์ ตัณฑนันทน์ คือคนไทยคนแรกที่ดรง<br />

ตแหน่งประธานสมาพันธ์สถาปนิกแห่งเอเชีย และอีก<br />

หนึ่งบทบาทเป็นประธานบริหาร บริษัท เทวนันท์ จกัด<br />

จบการศึกษาระดับปริญญาโทด้าน Architecture &<br />

Urban Design จาก Columbia University และ<br />

ปริญญาตรี 2 ใบ ด้านสถาปัตยกรรม และ Environmental<br />

Design จาก University of Minnesota<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา รวมถึงมีประสบการณ์การทงาน<br />

ด้าน Urban Design ในต่างประเทศทั้งจีน เวียดนาม<br />

และไนจีเรีย<br />

The Challenging Role on<br />

International Stage<br />

สถิรัตร์ ตัณฑนันทน์<br />

บทบาทท้าทายบนเวทีสากล<br />

เขาทิ้งท้ายว่า การเป็นสถาปนิกคือวิชาชีพที่ หลอม<br />

รวมกันระหว่าง Design และ Construction ดังนั้น<br />

สถาปนิกต้องเป็นผู้น และรู้ทุกกระบวนการ ของการ<br />

ออกแบบ ตลอดจนการมองภาพรวมการบริหารบริษัท<br />

ด้านสถาปนิก เป็นเรื่องน่าเสียดายที่ 20 เปอร์เซ็นต์ของ<br />

นักเรียนสถาปนิกเรียนจบมาและยังคงเดินในเส้นทาง<br />

สายนี้อีก 80 เปอร์เซ็นต์ มักหันไปทธุรกิจหรือสาย<br />

งานอื่น หากทให้วิชาชีพสถาปนิกยืนหยัดได้ ต้องการ<br />

มีส่งเสริมทั้งเชิงความรู้และจุดยืนของวิชาชีพ<br />

In the talk with Mr. Sathirat Tantanan, the chairman<br />

of ARCASIA, about his another pride of Honorary Fellowship<br />

of the American Institute of Architects (Hon. FAIA) which<br />

will be granted by American Architects Institute in June<br />

2018, he told about the fun and challenging<br />

experience of the path of his career.<br />

พูดคุยกับคุยคุณสถิรัตร์ตัณฑนันทน์ประธานสมาพันธ์<br />

สถาปนิกแห่งเอเชีย กับอีกหนึ่งความภาคภูมิใจในการเข้า<br />

รับรางวัลกิตติมศักดิ์Honorary Fellowship of the American<br />

Institute of Architects (Hon. FAIA) จากสถาบันสถาปนิก<br />

อเมริกัน ในเดือนมิถุนายน 2561<br />

คุณสถิรัตร์ชวน ย้อนไปยังเส้นทางการทำ<br />

งานในการเป็นสถาปนิกผ่านความสนุกและความท้าทาย<br />

ไปสู่การทำงานบนเวทีระดับสากล<br />

สู่เส้นทางสถาปนิกบนเวทีแห่งเอเชีย<br />

จุดเริ่มต้นของเส้นทางทั้งหมด ผมเริ่มต้นที่นี่ สมาคม<br />

สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผมเป็นอุปนายก<br />

สมาคม ในยุคของคุณนิธิสถาปิตานนท์เป็นนายกสมาคมฯ<br />

(พ.ศ.2535 – 2537) บทบาทหลักของผมคือดูแลในส่วนต่าง<br />

ประเทศ ในยุคนั้นนายกสมาคมฯ มีวิสัยทัศน์ว่า อยากให้<br />

สมาคมฯ มีส่วนร่วมกับสมาคมสถาปนิกในประเทศอื่นๆ<br />

ต่อยอดจากปีที่ผ่านๆ มา จนกระทั่งมาสู่ยุคของนายกสมาคมฯ<br />

คุณทวีจิตร จันทรสาขา ได้ผลักดันให้ผมเข้ามาดูแลในส่วน<br />

Tri Nations ทำงานร่วมกัน 3 สมาคม คือ สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

สมาคมสถาปนิกสิงคโปร์และสมาคมสถาปนิกมาเลเซีย โดย<br />

มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านวิชาการวิชาชีพ ปัจจุบันได้ต่อย<br />

อดมาเป็น Four Nations โดยมีอินโดนีเซียเข้ามาร่วมด้วย<br />

และในยุคของคุณทวีจิตรนั่นเอง ที่มีนโยบายผลักดัน<br />

การทำงานร่วมกับต่างประเทศ และผมได้เข้ามามีบทบาท<br />

เป็นรองประธานของสมาพันธ์สถาปนิกแห่งเอเชีย(ARCASIA)<br />

และในขณะเดียวกันเราก็มองว่าในบทบาทของ ARCASIA<br />

คำตอบคือเราดำเนินงานค่อนข้างดีในด้านการพัฒนาชุมชน<br />

ในประเทศ รวมไปถึงการผลักดันแนวคิด Universal Design<br />

การออกแบบอาคารต่างๆ ที่เอื้อต่อการใช้งานของประชาชน<br />

ดังนั้นเราจึงก่อตั้งคณะกรรมการขึ้นมาเป็นหน่วยย่อย คือ<br />

ACSA : ARCASIA Committee on Social Responsibility<br />

และเป็นการต่อยอดโครงการเพื่อสังคมด้านต่างๆ ของสมาคม<br />

สถาปนิกสยามฯ (<strong>ASA</strong>) บนเวทีสากล<br />

คนไทยคนแรกในตแหน่งประธานสภาสถาปนิก<br />

เอเชีย<br />

ต่อมาเมื่อมีโอกาสได้เข้ามาเป็นประธานสมาพันธ์<br />

สถาปนิกแห่งเอเชีย ผมได้วางเป้าหมายการพัฒนา 2 ส่วน<br />

นั่นคือ Professional practice เพราะว่าเศรษฐกิจในเอเชีย<br />

กำลังพัฒนา การผลักดันให้สถาปนิกทำงานในระดับสากล<br />

มากขึ้นถือเป็นสิ่งสำคัญ และข้อสอง ผมอยากผลักดัน<br />

สถาปนิกรุ่นใหม่เราต้องมีเวทีให้เขา ผมจึงตั้งคณะกรรมการ<br />

อีกหนึ่งกลุ่ม คือ ACYA : ARCASIA Committee on Young<br />

Architect โดยสนับสนุนทั้งการให้ทุนการศึกษา ประกวด<br />

แนวคิดการออกแบบ รวมไปถึงการเปิดกว้างให้สถาปนิก<br />

รุ่นใหม่ได้เรียนรู้ โดยเดินทางไปศึกษาโครงการในประเทศ<br />

อื่นๆ แต่ละประเทศก็จะมีหัวข้อการศึกษาที่แตกต่างกัน เช่น<br />

ปีนี้เดินทางไปศึกษาการก่อสร้างด้วยไม้ที่ญี่ปุ่น อีกหนึ่ง<br />

ประเด็นที่สำคัญ ในฐานะที่ผมเป็นประธาน จะทำอย่างไรให้<br />

องค์กรของ 19 ประเทศรวมตัวกันได้มากที่สุด เพื่อพัฒนา<br />

วิชาชีพสถาปนิก<br />

ก้าวสคัญอันทรงเกียรติ<br />

การเข้ารับรางวัลเกียรติคุณ Honorary Fellowship of<br />

the American Institute of Architects (Hon. FAIA) สำหรับผม<br />

แม้ไม่ได้อยู่ในเป้าหมายชีวิต เป็นเส้นทางที่บังเอิญ แต่ก็เป็น<br />

ก้าวสำคัญที่มีคุณค่า ต้องขอขอบคุณคณะกรรมการรวมไป<br />

ถึงพี่เลี้ยงที่คอยผลักดันให้ผมขึ้นมาอยู่จุดนี้ และผู้ที่ให้การ<br />

สนับสนุน ทั้งอาจารย์อัชชพล ดุสิตนานนท์ นายกสมาคม<br />

สถาปนิกสยามฯ และคุณนิธิ สถาปิตานนท์ ที่ให้การรับรอง<br />

ซึ่งรางวัลในปีนี้พบว่ามีผู้ที่ได้รับคัดเลือกเพียง 2 คน คือผม<br />

และอดีตนายกสมาคมสถาปนิกญี่ปุ่น Taro Ashihara จาก<br />

ผู้ลงสมัครทั้งหมด<br />

รางวัลนี้นับเป็นอีกหนึ่งก้าวสำคัญเป็นช่องทางในการ<br />

เปิดประตูและเชื่อมต่อกับสมาคมสถาปนิกชาติอื่นๆ ในการ<br />

ช่วยเหลือพัฒนาซึ่งกันและกัน และผมคิดว่าผมจะใช้โอกาส<br />

ตรงนี้ให้เป็นประโยชน์มากที่สุดในการไปเปิดเวทีต่างๆ ทั้ง<br />

ในเอเชียและอเมริกา เพื ่อส่งเสริมสถาปนิกรุ่นใหม่และนำ<br />

ความเป็นมาตรฐานสากลร่วมส่งเสริมความรู้ในด้านทฤษฎี<br />

และปฏิบัติแก่สมาชิก และส่งเสริมจุดยืนของวิชาชีพ<br />

สถาปนิกอย่างเป็นสากล<br />

On the path to the stage of ASEAN<br />

architects<br />

The beginning of my journey started here, at The<br />

Associates of Siamese Architects under Royal Patronage.<br />

I was the vice president while Mr. Nithi Satapitanont<br />

being the president (1992-1994). My main role was to<br />

take care of international activities. At that time, the<br />

president aimed to lead <strong>ASA</strong> to have more participation<br />

with architects associations from other countries. Then<br />

in the term of Mr. Taweejit Jantarasaka as the president,<br />

I was put to work in “Tri Nations” project which is the<br />

collaboration between architects associations from<br />

Thailand, Singapore and Malaysia. Now it is “Four Nations”<br />

as Indonesia has joined in.<br />

With the policy on international events of <strong>ASA</strong> in<br />

Mr. Taweejit’s term, I was elected to be the vice president<br />

of the ARCASIA. The outstanding role of <strong>ASA</strong> in ARCASIA<br />

was about developing communities in our country and<br />

driving the idea of Universal Design to comfort people<br />

in various kinds of buildings. So we have set up ACSA:<br />

ARCASIA Committee on Social Responsibility to continue<br />

<strong>ASA</strong>’s social responsibility on the international stage.<br />

The first Thai architect as the president<br />

of ARCASIA<br />

Later when I had a chance to be the president of<br />

ARCASIA, I planned to develop 2 parts. The first is about<br />

Professional Practice because the economy in ASEAN<br />

is growing so we have to push our architects to have<br />

more international works. The second is to give young<br />

architects more opportunities to show their ability, so I<br />

set up ACYA: ARCASIA Committee on Young Architect.<br />

The project supports young architects on scholarship,<br />

idea competitions and abroad field trips. The field trip<br />

in this year is to study wood construction in Japan. As<br />

the president, another important duty is to connect all<br />

associations from 19 countries for collaboration on<br />

developing the architectural industry.<br />

The important honored step<br />

To be granted the Honorary Fellowship of the American<br />

Institute of Architects (Hon. FAIA) is unexpected but it<br />

is my honored. I would like to thank the board and all<br />

supporters including Prof. Atchapol Dusittanont and<br />

Mr.Nithi Satapitanont who recommended me. There are<br />

only 2 winners this year, one is myself and another is<br />

Mr. Taro Ashihara, the ex-president of Japanese architects<br />

association.<br />

This award is another big step to open and connect<br />

with architects associations from other countries to help<br />

develop each other. This will be a good opportunity for<br />

Thai architects to step up on the international stage.<br />

I would like to use this opportunity to support our young<br />

architects, to bring the international standard for elevating<br />

theoretical and practical knowledge for members, and<br />

to support the ground of architectural career universally.<br />

Mr. Sathirat Tantanant is the<br />

first Thai architect who took a position of<br />

the president of ARCASIA. He is also the<br />

executive director of Thevanant Co.Ltd. He<br />

graduated Master Degree of Architecture<br />

& Urban Design from Columbia University, 2<br />

diplomas of Architectural and Environmental<br />

Design from University of Minnesota, USA.<br />

He also has experience of Urban Design<br />

work in China, Vietnam, and Nigeria.<br />

He said, “Architect is the career which<br />

works with the collaboration of designing<br />

and construction. Architects must be the<br />

leaders and know every procedure of the<br />

design and also have the overall vision of<br />

business running. It is a pity that only 20%<br />

of architect students graduate and continue<br />

their career as architects, while 80% turn<br />

to earn their lives on different careers. If<br />

we want architectural career to be insistent,<br />

there should be more supporting on both<br />

knowledge and the career standpoint.<br />

- 10 -<br />

- 11 -<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09


C1<br />

เรื่องและภาพ : พนินทร โชคประเสริฐถาวร<br />

(see CONTRIBUTORS PAGE)<br />

<strong>ASA</strong> WORLD<br />

When I study architecture in Finland<br />

The country with the world’s best education system<br />

เมื่อฉันไปเรียนสถาปัตย์ที่ฟินแลนด์ ประเทศที่มีการศึกษาดีที่สุดในโลก<br />

ระบบการศึกษาของฟินแลนด์<br />

เป็นไปในทิศทางเดียวกันในทุกระดับชั้น<br />

การมาเรียนปริญญาโทที่นี่ก็ไม่แตกต่างกันมากนัก<br />

จึงได้เข้าใจรูปแบบการสอนที่เขาบอกว่ามีคุณภาพ<br />

ก่อนอื่นขอเกริ่นว่าฉันเลือกเรียน Construction and<br />

Real Estate Management (ConREM) ซึ่งเป็นคอร์สของ<br />

มหาวิทยาลัย HTW Berlin เปิดร่วมกับ Helsinki Metropolia<br />

จัดระบบการเรียนการสอนประเทศละ 1 ปีหลักสูตรรวม 2 ปี<br />

โดยเริ่มเทอม 1-2 ที่เฮลซิงกิในปีแรก และย้ายมาเรียนเทอม<br />

3-4 ที่เบอร์ลินในปีถัดมา จากเดิมที่ HTW Berlin มีเฉพาะ<br />

การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้หรือคณาจารย์กับทาง Helsinki<br />

Metropolia เท่านั้น<br />

ถ้าพูดถึงภาพรวมของสาขา ConREM จะเน้นไปในด้าน<br />

Life Cycle Management, Real Estate Development,<br />

Construction and Real Estate Technology, Business and<br />

Management Science, International and Intercultural<br />

Collaboration, Renovation and Leadership Competence<br />

ซึ่งเป็นการเรียนที่ส่งเสริมให้เกิดการจัดการวางแผนและมี<br />

ส่วนร่วมของการทำงานกลุ่ม เพื่อเพิ่มทักษะในการมีปฏิสัมพันธ์<br />

multi-culture ไปพร้อมๆ กับการเรียนรู้ภาคทฤษฎีควบคู่กับ<br />

การปรับความรู้เข้าสู่การปฏิบัติจากสถานที่จริง<br />

ที่สุดคือการศึกษา<br />

การมาเรียนในประเทศที่ได้รับการการันตีระบบการศึกษา<br />

ในระดับชั้นนำของโลกนั้น กระตุ้นความอยากทำความเข้าใจ<br />

ทุกสิ่งทุกอย่างของที่นี่ “เมืองเฮลซิงกิ ฟินแลนด์”<br />

ตลอดระยะเวลา 1 ปี คำตอบที่ได้มาจากการเรียนรู้<br />

ประเทศนี้ไม่ได้ทำให้เกิดความประหลาดใจใดๆ สำหรับมุม<br />

มองของนักเรียนสถาปัตย์คนหนึ่งที่พยายามทำความเข้าใจ<br />

ระบบระเบียบและความเป็นอยู่ของผู้คนที่นี่ที่ทุกอย่างผสม<br />

ผสานเข้าด้วยกัน ทำให้เกิดศักยภาพแก่ระบบที่สำคัญที่สุด<br />

ของสังคมคือ “การศึกษา” ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของคนฟิน<br />

นิชมีความสุขและสะดวกสบาย อาจเพราะเมืองเฮลซิงกิไม่<br />

ได้มีขนาดใหญ่มากนัก จำนวนประชากรทั้งประเทศยังน้อย<br />

กว่าครึ่งหนึ่งของกรุงเทพฯ ทั้งเมือง อีกทั้งรัฐบาลก็ให้การ<br />

สนับสนุนการศึกษากับคนทุกคน ตั้งแต่เด็กแรกเกิดไปจนถึง<br />

ผู้ใหญ่ที่สามารถเรียนในสายอาชีพที่ต้องการทำงานได้<br />

ตลอดเวลา ที่สำคัญทุกอย่างเรียนฟรีรวมไปถึงนักเรียนต่าง<br />

ชาติที่เสียแค่ค่าธรรมเนียมและหลักสูตรภาษาอังกฤษ<br />

เพราะที่ฟินแลนด์สอนและสื่อสารกันด้วยภาษาฟินนิชเป็น<br />

ภาษาหลัก แต่ไม่ต้องเป็นกังวล เพราะความมีรากฐานการ<br />

ศึกษาดีที่สุดในโลกนั้นได้สะท้อนให้เห็นได้จากเด็กทุกคน<br />

ประชากรทุกวัย สามารถสื่อสารภาษาอังกฤษได้ดี และทุก<br />

คนมีอัธยาศัยไมตรียิ้มแย้มให้ผู้มาเยี่ยมเยียนอยู่เสมอ<br />

เนื่องด้วยระบบการศึกษาของฟินแลนด์เป็นไปใน<br />

ทิศทางเดียวกันในทุกระดับชั้น การมาเรียนปริญญาโทที่นี่<br />

ก็ไม่แตกต่างกันมากนัก จึงได้เข้าใจรูปแบบการสอนที่เขา<br />

บอกว่ามีคุณภาพ ซึ่งคำว่า “มีคุณภาพ” นี้ไม่ใช่หลักสูตรที่<br />

ทำให้เด็กเรียนเก่งหรือได้เกียรตินิยม แต่เป็นการกระตุ้นให้<br />

เด็กเล่นมากกว่าเรียน เพราะการเล่นคือการเรียนรู้ในรูป<br />

แบบหนึ่ง เรียนรู้จากการทำจริง สังเกตจากธรรมชาติรอบ<br />

ตัว เข้าใจจากความสนใจของตัวเองจริงๆ ไม่ได้ผ่านการ<br />

บังคับ หรือยัดเยียดจนทำให้คุณภาพและความสุขของการ<br />

เรียนถูกทำลายลงไป อีกทั้งคำว่ามาตรฐานสำหรับประเทศนี้<br />

คือการมีอยู่จริง เพราะไม่ว่าจะโรงเรียนใดหรือมหาวิทยาลัย<br />

ใด ความเป็นมาตรฐานทางการสอนและการอำนวยสะดวก<br />

ต่างๆ ของโรงเรียนมีค่าเท่าเทียมกัน และนี่คือประเทศที่มีการ<br />

ศึกษาที่ดีที่สุดในโลก<br />

- 12 -<br />

ระบบที่ดีนไปสู่เมืองที่ดี<br />

การจัดการระบบผังเมืองและการคมนาคมต่างๆ ของ<br />

เมืองเฮลซิงกิเป็นไปอย่างเรียบง่ายและเป็นระเบียบเรียบร้อย<br />

ทางคนเดิน ทางจักรยาน ทางรถราง ทางรถไฟ และทาง<br />

รถยนต์แบ่งแยกกันชัดเจน รวมไปถึงการจัดสรรแบ่งพื้นที่ของ<br />

เมืองให้เกิดเป็นย่าน เช่น ย่านชอปปิ้ง ย่านพิพิธภัณฑ์ ย่าน<br />

การสร้างสรรค์ออกแบบ และย่านที่อยู่อาศัยที่อยู่รอบนอก<br />

ของเมือง ทำให้ระบบเมืองของเฮลซิงกิเป็นระบบและมี<br />

เอกลักษณ์แต่ละจุดที่ชัดเจน ยิ่งไปกว่านั้นสถาปัตยกรรม<br />

แทบทุกสถานที่ล้วนเน้นทำจากวัสดุไม้เพราะพื้นที่มากกว่า<br />

ครึ่งหนึ่งของฟินแลนด์เป็นป่าไม้สน สถาปัตยกรรมแต่ละ<br />

แห่งจะแตกต่างกันด้วยวิธีการออกแบบและรูปแบบการติดตั้ง<br />

องค์ประกอบของวัสดุไม้เข้ากับตัวอาคารนั้นๆ รูปแบบของ<br />

สถาปัตยกรรมที่นี่เป็นแบบเรียบง่าย เน้นพื้นที่การใช้งาน<br />

ร่วมกับแสงธรรมชาติให้มากที่สุด<br />

นเทคโนโลยีมาใช้อย่างชาญฉลาด<br />

ฉันได้ศึกษาและสังเกตความเป็นไปรอบตัวภายในเมือง<br />

ทั้งสถาปัตยกรรม บ้านเรือนและขนาดของเมืองเฮลซิงกิน ำมา<br />

ปรับใช้กับบทเรียนภาคทฤษฎีที่เรียนในห้องเรียนทุกๆ วัน<br />

ตลอดหนึ่งปีเนื่องจากทุกอย่างที่นี่มีความแตกต่างจากสังคม<br />

ไทย ที่ฟินแลนด์เริ่มนำเทคโนโลยีของซอฟต์แวร์ BIM มาใช้<br />

ทำให้เกิดความเข้าใจร่วมกันในการทำงานทั้งวงการก่อสร้าง<br />

และอสังหาริมทรัพย์อีกทั้งการได้ไปเยี่ยมชมโครงการก่อสร้าง<br />

ทำให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการใช้เทคโนโลยีนี้ เพื่อการ<br />

อำนวยความสะดวกและลดข้อผิดพลาดต่างๆ<br />

ยิ่งไปกว่านั้นการได้ดูแผนแม่บทการพัฒนาเฮลซิงกิ ทำให้<br />

เข้าใจการควบคุมความสูงของอาคาร ปัจจุบันในเมืองหลวงแห่ง<br />

นี้ยังไม่มีตึกสูงขึ้นมาเลย เนื่องมาจากการแบ่งเขตเศรษฐกิจ<br />

และย่านต่างๆ การควบคุมพื้นที่ว่างและพื้นที่สีเขียวของเมือง<br />

รวมไปถึงอัตราส่วนของประชากรที่ยังนับว่าน้อยมากเมื่อเทียบ<br />

กับขนาดของพื้นที่ในแง่ของอสังหาริมทรัพย์<br />

เมืองนี้จึงเป็นเมืองที่เพิ่งเริ่มต้นพัฒนาขยายพื้นที่และสิ่ง<br />

อำนวยความสะดวกต่างๆ อย่างเป็นระบบ ทำให้เราสามารถ<br />

สังเกตและเรียนรู้การเติบโตนี้แบบค่อยเป็นค่อยไป พร้อมกับ<br />

ศึกษาการนำเทคโนโลยีมาใช้อย่างชาญฉลาด<br />

Every level of Finland’s education<br />

system follows the same direction.<br />

Having done my master degree here, I<br />

now realize the exceptional quality of<br />

the country’s well-developed education.<br />

What I would like to inform you before we go into<br />

further details in this article is the course I chose for my<br />

master degree in Finland is Construction and Real Estate<br />

Management (ConREM) provided by two renowned<br />

universities of applied sciences, HTW Berlin and Helsinki<br />

Metropolia. The two year curriculum requires the students<br />

to spend on year at each partner university with the first<br />

and second semester taking place in Helsinki before<br />

continuing the third and fourth semester in Berlin. Originally,<br />

Helsinki Metropolia is HTW Berlin’s only academic partner<br />

with continual exchange of academic knowledge and<br />

lecturers between the two institutions.<br />

In the big picture, the focus of ConREM’s curriculum<br />

encompasses Life Cycle Management, Real Estate<br />

Development, Construction and Real Estate Technology,<br />

Business and Management Science, International and<br />

Intercultural Collaboration, Renovation and Leadership<br />

Competence. Collectively, it offers the learning experience<br />

that encourages students to not only plan but also<br />

participate and contribute as a team with the aim being<br />

to improve multicultural interactions along with theoretical<br />

aspect of the study as well as the application of knowledge<br />

to the actual professional practice on site.<br />

Ultimately, it’s all about education<br />

Being able to study in the country of world-class<br />

education system is a great stimulus for my desire to try<br />

to understand everything Finland and the city of Helsinki<br />

has to offer.<br />

Throughout the one year of being a student in this<br />

country, there is no surprise from the point of view of<br />

an architecture student who tries to understand the<br />

systems, rules and the way people live as a collective<br />

whole. These things all help strengthen the potential of<br />

the society’s most important system—education, and<br />

eventually the quality of life and happiness of the Finnish<br />

people. Helsinki is a moderate size capital city while the<br />

number of population of Finland is less than half the<br />

population of Bangkok. The Finnish Government provides<br />

equal support when it comes to the education of its<br />

people, from newborn babies and mature individuals<br />

who are able to pursue their interests in occupational<br />

curriculums that allow them to work in the professional<br />

fields of their perfectly choices. Most importantly, the<br />

education here is free. This policy applies to foreign<br />

students, who are required to pay only the fees and the<br />

tuition of the English language curriculums for Finnish<br />

is the primary language used in schools and universities.<br />

While the people here communicate using mostly Finnish,<br />

there is no need to be overly worried because the root<br />

of the world’s best education system is reflected in the<br />

ability of its pupils and population of all age groups who<br />

are able to communicate perfectly well in English, not<br />

การออกแบบทางเท้าที่สามารถใช้งานได้และมีขนาดใหญ่<br />

The ideal footpath is a functional and sizable design<br />

เมืองของทุกคน<br />

City for everyone with universal design<br />

เมืองที่เต็มไปด้วยชีวิตชีวาจากงานเฉลิมฉลองและผู้คนที่เป็นมิตร<br />

Lively city with many celebrations and nice people<br />

ซาวน่าและร้านภัตตาคารของเฮลซิงกิ<br />

Loyly-Avanto Architects, Helsinki Public sauna and restaurant<br />

to mention how friendly the Finnish people are to visitors<br />

of their countries.<br />

Every level of Finland’s education system follows the<br />

same direction. Having done my master degree here, I<br />

now realize the exceptional quality of the country’s welldeveloped<br />

education. The word ‘quality’ involves, not the<br />

students’ excellent academic performance or graduating<br />

with honors, but more about encouraging students to ‘play’<br />

rather than study, for playing is a form of learning. Learning<br />

takes place by doing, and observing the surrounding nature.<br />

Individuals develop their own understanding from the<br />

things they are truly interested in, not through a forceful<br />

curriculum that deteriorate the quality and happiness of<br />

the learning experience. The word ‘standard’ actually<br />

exists and matters in this country. Every school and<br />

university is operated under standardized curriculums<br />

and facilities, equally provided by the government of the<br />

country with number one education system in the world.<br />

From a good system to a good city<br />

Urban planning and mass transport system management<br />

of Helsinki is simple and highly efficient. Footpaths, bicycle<br />

lanes, tram lanes, railroads all are properly planned and<br />

divided. The city is zoned into neighborhoods such as<br />

shopping district, museum district, creative district and<br />

suburban residential districts. This causes Helsinki’s city<br />

system to be highly systematic with each area containing<br />

its own identity. In addition, the city’s architecture is<br />

constructed mainly of wood since more than half of Finland<br />

is occupied by pine forests. Each piece of architecture is<br />

varied by the design and different configurations of the<br />

way the wood components are installed to a building.<br />

The style of Finnish architecture is minimal with an<br />

emphasis on the relationship between functional spaces<br />

and efficient use of natural light. and suburban residential<br />

districts. This causes Helsinki’s city system to be highly<br />

- 13 -<br />

ขนส่งสาธารณะที่สะดวกสบาย ทั้งรถราง รถโดยสาร และรถไฟใต้ดิน<br />

Convenient public transportation: tram, bus and Metro<br />

เฮลซิงกิ เมืองคุณภาพ<br />

Helsinki is the quality city<br />

ย่านออกแบบ: ร้านงานฝีมือ นิทรรศการกลางแจ้ง งานออกแบบ และโซนพิพิธภัณฑ์<br />

Design district: handcraft product shop, outdoor exhibition, design week<br />

and museum zoning<br />

โบสถ์ Kamppi ในย่านช้อปปิ้ง<br />

Kamppi Chapel, Public chapel in the shopping zone<br />

โบสถ์ที่สร้างในภูเขาหิน<br />

Temppeliaukio Church, Timo and Tuomo Suomalaine Church built in the stone mountain<br />

systematic with each area containing its own identity. In<br />

addition, the city’s architecture is constructed mainly of<br />

wood since more than half of Finland is occupied by pine<br />

forests. Each piece of architecture is varied by the design and<br />

different configurations of the way the wood components<br />

are installed to a building. The style of Finnish architecture<br />

is minimal with an emphasis on the relationship between<br />

functional spaces and efficient use of natural light.<br />

Smart use of technology<br />

I study and observe the urban environment of the<br />

city of Helsinki from its architectural structures, houses<br />

and the scale of the city in order to apply them to the<br />

theoretical lessons I was learning throughout the one-year<br />

period of the curriculum in Finland. Everything is completely<br />

completely different from Thai society where I’m from.<br />

Finland has incorporated BIM technology to develop a<br />

better understanding between the construction and realestate<br />

industry. Having visited the actual construction<br />

sites, I am able to witness the efficiency of the technology<br />

and its ability to facilitate convenience and lessen possible<br />

errors.<br />

Moreover, after looking into the city master plan<br />

behind Helsinki’s development, I am able to understand<br />

the regulations that control the height of the buildings<br />

in this capital city. The fact that Helsinki hasn’t seen the<br />

emergence of high-rise buildings is a result of the city’s<br />

zoning of economic districts and neighborhoods, including<br />

the control of negative and green spaces. With population<br />

density that is still considerably low, looking from the<br />

aspect of real-estate development, the capital of Finland<br />

has only just begun to systematically expand its urbanized<br />

space and facilities. Such tendency allows me to gradually<br />

observe and learn how Helsinki has grown while being<br />

able to study the way technology is intelligently incorporated<br />

to the city’s urban development.<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09


C2<br />

เรื่อง : ธนา อุทัยภัตรากูร<br />

(see CONTRIBUTORS PAGE)<br />

TIPS<br />

Alternative Dwellings Soil and Bamboo<br />

Natural Innovation from the Past to the Future<br />

รวมทั้งออกแบบให้เสาไม่สัมผัสกับพื้นโดยตรง และมีชายคา<br />

เพื่อป้องกันไม่ให้ไม้ไผ่ปะทะกับแดดและฝนโดยตรง เพื่อยืด<br />

อายุการใช้งานของอาคารไม้ไผ่ให้ยืนยาวมากขึ้น<br />

ในการยึดรอยต่อต่างๆ ควรใช้สตั๊ดเหล็กและน็อต รวมทั้ง<br />

ใส่คอนกรีตในจุดที่รับน้ำหนักมากเพื่อความแข็งแรงทาง<br />

โครงสร้าง หรือใช้สกรูปลายสว่านสำหรับไม้ไผ่ที่มีขนาดเล็ก<br />

ในกรณีที่ไม่ต้องการใช้เหล็ก อาจใช้ลิ่มไม้ไผ่ตอกยึดพร้อมกับ<br />

การใช้เชือกรัด เพื่อป้องกันการถอนตัวของลิ่มไม้ไผ่ในระยะ<br />

ยาว ในอาคารเดียวกันอาจเลือกใช้วิธีการยึดทั้งเหล็กและลิ่ม<br />

ไม้ไผ่ผสมผสานกันได้<br />

ทั้งนี้ในการออกแบบก่อสร้างสามารถนำวัสดุทั้งดินและ<br />

ไม้ไผ่มาผสมผสานกับวัสดุก่อสร้างที่ใช้ในปัจจุบันได้ตาม<br />

ความต้องการที่หลากหลายมากขึ้นได้อีกด้วย<br />

Designing houses and buildings, in the present, use more<br />

natural materials which have less production process that<br />

ภาพ : www.facebook.com/BambooArtGallery<br />

wastes energy. The idea of earthen house and bamboo house<br />

are used more widely in small houses and also large buildings.<br />

ปัจจุบันงานออกแบบก่อสร้างบ้านและอาคารมีการนำ<br />

วัสดุจากธรรมชาติที่หาง่ายและลดกระบวนการผลิตที่สิ้น<br />

เปลืองพลังงานมาใช้ในการก่อสร้างมากขึ ้น แนวคิดการ<br />

สร้างบ้านดินและบ้านไม้ไผ่จึงมีการออกแบบนำมาใช้อย่าง<br />

แพร่หลายมากขึ้น ทั้งบ้านที่อยู่อาศัยขนาดเล็กไปจนถึง<br />

อาคารขนาดใหญ่ ภูมิปัญญาดั้งเดิมกำลังกลับมาเป็นทาง<br />

เลือกสำหรับอนาคต ดินและไม้ไผ่ถือเป็นวัสดุธรรมชาติที่<br />

หาได้ง่ายในเกือบทุกพื้นที่และมีศักยภาพที่จะนำมาใช้เป็น<br />

วัสดุก่อสร้างได้ ซึ่งถ้าอาคารที่ต้องการนั้นมีขนาดไม่ใหญ่<br />

มากก็อยู่ในวิสัยที่จะฝึกฝนให้สามารถทำด้วยตัวเองได้<br />

บ้านดิน<br />

บ้านดินถือเป็นหนึ่งในภูมิปัญญาดั้งเดิมในหลายพื้นที่<br />

รวมทั้งมีเทคนิควิธีในการก่อสร้างที่หลากหลาย ต่อมาได้รับ<br />

การศึกษาพัฒนาจนได้รับการรองรับด้วยกฎหมายในหลาย<br />

ประเทศ โดยมีการพัฒนาส่วนผสม เช่น การผสมปูนขาว<br />

หรือคอนกรีต เพื ่อทำให้สามารถทนต่อการกัดเซาะของฝน<br />

ได้ดีมากขึ้น เทคนิคการสร้างบ้านดินที่นิยมใช้มีอยู่2 วิธีคือ<br />

การทำเป็นอิฐดินดิบ และการใช้โครงไม้หุ้มด้วยดินผสมฟาง<br />

บ้านทางเลือก ดิน และไม้ไผ่ นวัตกรรมธรรมชาติจากอดีตสู่อนาคต<br />

ภาพ : www.facebook.com/NaturalbuildingThailand<br />

ดินที่เหมาะสมในการนำมาใช้ในการสร้างบ้านดิน คือ ดินที่<br />

มีดินเหนียวเพียงพอที่จะทนต่อการกัดเซาะของน้ำ (ฝน)<br />

และมีทรายมากพอที่จะช่วยไม่ให้เกิดการแตกร้าว (จากการ<br />

ที่มีดินเหนียวมากเกินไป) ซึ่งสามารถทดสอบได้โดยการนำ<br />

ดินที่มีอยู่ในพื้นที่มาผสมน้ ำเล็กน้อย นวดและปั้นให้เป็นก้อน<br />

ขนาดเท่ากำปั้นแล้วนำไปตากแดดให้แห้ง ถ้ามีรอยแตกร้าว<br />

แสดงว่าควรจะผสมทรายเพิ่ม ถ้าไม่แตกร้าวให้ทดลองนำ<br />

ไปจุ่มในน้ำ ถ้าละลายอย่างรวดเร็วแสดงว่ามีทรายมากเกินไป<br />

แนวคิดการสร้างบ้านดินและบ้านไม้ไผ่<br />

มีการออกแบบนำมาใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้น<br />

ภูมิปัญญาดั้งเดิมก ำลังกลับมาเป็นทางเลือก<br />

สำหรับอนาคต<br />

ในการทำอิฐดินดิบจะมีการผสมแกลบ แล้วนำไปใส่ไม้<br />

แบบโดยเมื่อเทดินใส่แล้วจะทำการยกไม้แบบออกทันที<br />

เพื่อปล่อยให้อิฐแห้งก่อนจะนำไปใช้ ส่วนในการใช้โครงไม้<br />

นั้นจะต้องมีการทำผนังโครงสร้างตีเป็นตาตาราง (ให้มีช่อง<br />

ว่างพอที่จะลอดแขนเข้าไปทำงานได้ทั้งสองด้าน) จากนั้น<br />

นำดินที่ผสมฟางเส้นยาวมาวางพาดแล้วลูบผิวให้เรียบ<br />

ข้อดีของการทำอิฐดินดิบคือ สามารถทยอยทำอิฐสะสม<br />

ไว้ก่อนได้และใช้เวลาไม่มากในช่วงก่อสร้าง สามารถใช้เป็น<br />

ผนังหรือโครงสร้างรับน้ำหนักได้ ในขณะที่การใช้โครงไม้หุ้ม<br />

ด้วยดินนั้นจำเป็นต้องมีโครงสร้างหลักที่จะรับน้ ำหนักหลังคา<br />

(ซึ่งอาจจะเป็นเหล็ก คอนกรีต อิฐดินดิบ หรือวัสดุอื่นใดก็ได้)<br />

แต่ก็สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว<br />

อย่างไรก็ตาม บ้านดินยังคงมีข้อด้อย คือแพ้น้ำที่อาจท่วม<br />

ขังในระยะยาว การออกแบบจึงควรทำฐานราก และมีชายคา<br />

ที่ยื่นยาว เพื่อป้องกันความชื้นจากดินและฝนที่จะปะทะกับ<br />

ผนังดินโดยตรง รวมทั้งไม่สามารถสร้างบนพื้นที่ซึ่งอาจมีน้ ำ<br />

ท่วมขัง ยกเว้นการผสมก่อสร้างด้วยดินผสมคอนกรีตใน<br />

อัตราส่วนประมาณ 7 - 10 เปอร์เซ็นต์<br />

บ้านไม้ไผ่<br />

ไม้ไผ่เป็นวัสดุทางธรรมชาติที่มีศักยภาพสูงมากในการน ำ<br />

มาใช้งาน ไผ่เป็นพืชตระกูลหญ้าซึ่งโตได้รวดเร็ว มีความ<br />

ยืดหยุ่นและแข็งแรงสูง สามารถตัดนำมาใช้ในการสร้างบ้าน<br />

ได้ภายใน 3 ปีแม้ว่าแต่เดิมจะเป็นวัสดุที่อาจได้รับความเสีย<br />

หายจากการกัดกินของมอด แต่ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาวิธี<br />

การในการรักษาเนื้อไม้ เพื่อป้องกันการความเสียหายจาก<br />

มอด และการยึดต่อทางโครงสร้างให้มีความคงทนแข็งแรง<br />

และเหมาะสมกับการก่อสร้างมากยิ่งขึ้น ในประเทศไทยมี<br />

พันธุ์ไผ่ที่สามารถนำมาใช้ในการก่อสร้างได้มากกว่า 28 ชนิด<br />

แต่ที่สามารถหาซื้อได้ง่ายมีอยู่ไม่มาก ที่นิยมนำมาใช้ในการ<br />

ก่อสร้าง ได้แก่ไผ่ตง ซึ่งมีขนาดใหญ่เนื้อหนา สามารถนำมา<br />

ใช้ทำเป็นโครงสร้างเสาและคานได้ไผ่เลี้ยง มีขนาดประมาณ<br />

2 - 3 นิ้ว ใช้สำหรับเป็นโครงสร้างรอง และไผ่รวก มีขนาด<br />

ประมาณ 1 – 2 นิ้ว ใช้ในการประดับตกแต่ง ไม้ไผ่ที่นำมาใช้<br />

ควรเป็นไม้ไผ่อายุระหว่าง 3 – 5 ปีและผ่านกระบวนการรักษา<br />

ไม้ไผ่ที่นำมาใช้ควรเป็นไม้ไผ่อายุระหว่าง 3 – 5 ปี และผ่าน<br />

กระบวนการรักษาเนื้อไม้ (เพื่อป้องกันการกัดกินของมอด)<br />

ภาพ : www.facebook.com/NaturalbuildingThailand<br />

The old intellectual is coming back to be an alternative for the<br />

future. Soil and bamboo are natural materials which can<br />

be found easily in almost all area of the country. They have<br />

potentials to be construction materials. And if the buildings<br />

are not too big, we can build them ourselves.<br />

Earthen House<br />

The earthen house is a primitive intellectual in many<br />

provinces, included with various construction techniques.<br />

Later it was studied and developed and has law guarantee<br />

in many countries. There are developments in mixing ratio,<br />

such as adding quicklime or concrete, to make it stronger<br />

to bear the degeneration because of the rain.<br />

There are 2 popular methods for building earthen<br />

houses; to make raw soil bricks and to use wooden frame<br />

covered with the mixture of soil and hays. The proper soil<br />

for building houses should consists enough clay to bear<br />

the damage from the rain, and enough sand to prevent<br />

cracking. This can be tested by bringing soil in the area,<br />

added some water, roll and make into a fist size ball and<br />

then dry it under the sun. If there are some cracks, that<br />

means more sand should be added. If there’s no crack,<br />

we should put that soil ball in the water. If it falls apart<br />

too fast, that means it consists too much sand.<br />

ภาพ : www.facebook.com/NaturalbuildingThailand<br />

In making raw soil bricks we should add some rice<br />

husk, and then put in a wooden mold. The mold will be<br />

taken off as soon as we fill the soil in, to let the soil dry<br />

before we use the brick in construction. For the second<br />

method, to use wooden frame, it needs to make grid<br />

frames which have grid size big enough to put an arm<br />

through to work from both sides. Then use soil that mixed<br />

with long hays to cover and smooth the surface of panels.<br />

The advantage of raw brick method is we can make<br />

and collect bricks before we start the construction and<br />

it takes short time when building. These bricks can be<br />

used as partitions and wall bearings. But the wooden<br />

frame method needs the main structure, which can be<br />

steel, concrete, raw soil brick, or any other materials, to<br />

bear the load of the roof. But the construction of this<br />

method can be finished really fast.<br />

However there are some disadvantage of earthen<br />

house, that is it can’t stand the long term undrained flood. So<br />

the design for earthen house should have foundations and<br />

long eaves to protect the damp from the ground and rain<br />

that might swash to the soiled walls directly. And they can’t<br />

be built in the low land, except using 7-10% of concrete in<br />

the soil mixture.<br />

ภาพ : www.facebook.com/BambooArtGallery<br />

Bamboo house<br />

Bamboo is a natural material which has very high<br />

potential to use in constructions. Bamboos are plants in<br />

grass family which can grow very fast. It takes about 3<br />

years for growing old enough to be used in constructions.<br />

They have much flexibility and strength. Bamboo had been<br />

a material that gets damaged by ambrosia beetles before.<br />

But now the wood treatment is developed to protect<br />

bamboos from those beetles and to be proper and better<br />

for construction joints.<br />

In Thailand there are more than 28 species of bamboos<br />

which are good to be used as construction materials,<br />

but not all of them are available. The popular bamboos are<br />

Pai Tong (Rough Giant Bamboo). This kind of bamboos has<br />

big and thick trunks that can be used as columns and<br />

main beams. Pai Lieng (Hedge Bamboo) with about 2-3<br />

inches trunks is used as minor structures and Pai Ruag<br />

(Monastry Bamboo) with 1 - 2 inches trunk size is used in<br />

decorations.<br />

We should use bamboos at 3 - 5 years old which got<br />

well treatment (to protect them from the Ambrosia beetles).<br />

The buildings should be designed not to have columns<br />

attached directly to the ground and have long eaves to<br />

prevent damages from the rain and the sun and to lengthen<br />

the lifetime of bamboos.<br />

We should use stud thread rods and nuts for jointing,<br />

included with adding concrete in parts that bear loads for<br />

strong structures. We can also use self drilling screws with<br />

smaller bamboos. In the case that doesn’t want to use<br />

steel, we can use wooden wedges and tie up with ropes<br />

to prevent sliding off of the wedges afterwards. We can<br />

choose to use both steel and wooden joints in the same<br />

building. Therefore, we can design buildings with combination<br />

of soil, bamboos, and modern materials to serve more<br />

various requirements.<br />

ภาพ : www.facebook.com/BambooArtGallery<br />

- 14 -<br />

- 15 -<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09


เรื่อง :<br />

E-SAN<br />

COVER STORY<br />

E-San Future<br />

อีสาน ฟิวเจอร์<br />

อีสานวันนี้กำลังจะเปลี่ยนไป ด้วยการมาถึงของระบบ<br />

ขนส่งสาธารณะขนาดใหญ่ที่จะทำให้ภูมิภาคแห่งนี้พลิกโฉม<br />

เข้าสู่สังคมเมือง โฉมหน้าฟิวเจอร์ของอีสานจะเป็นอย่างไร<br />

และสถาปนิกอีสานควรมีบทบาทอย่างไรกับการพัฒนาในครั้งนี้<br />

- แกนแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 จากตอนเหนือ<br />

ของกลุ่มเมืองนครราชสีมาจนถึงเมืองสีดา มีศักยภาพในการ<br />

พัฒนาเป็นย่านอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้าเกษตร โดยเฉพาะ<br />

เมืองบัวใหญ่-สีดา จะเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมบรรจุภัณฑ์<br />

คลังสินค้า และการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ รวบรวมและ<br />

กระจายสินค้าเกษตรจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง<br />

โดยการพัฒนาศักยภาพของการขนส่งทั้งระบบรางและระบบ<br />

ถนน<br />

- แกนประตูสู่อีสาน ตามแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2<br />

ด้านตะวันตกของกลุ่มเมืองนครราชสีมา เป็นพื้นที่รวบรวมและ<br />

กระจายสินค้าและการบริการระหว่างภาคอีสานกับภาค<br />

มหานคร และทำหน้าที่เป็นพื้นที่ท่องเที่ยวแบบบูรณาการ โดย<br />

เฉพาะเมืองสีคิ้ว จะเป็นศูนย์กลางการรวบรวมและกระจาย<br />

บุคคลและสินค้าที่อยู่บริเวณรอยต่อระหว่างภาคที่มีบริบทเชิง<br />

พื้นที่แตกต่างกัน และพัฒนาสู่การเป็นย่านคลังสินค้าอุปโภค<br />

และบริโภคที่สำคัญของประเทศ<br />

KORAT<br />

นายวิเชียร จันทรโณทัย<br />

ผู้ว่าราชการจังหวัดนครราชสีมา<br />

อยากให้ท่านผู้ว่าฯ ช่วยอธิบายถึงภาพรวมใน<br />

อนาคตของภาคอีสานว่าจะมีลักษณะและทิศทาง<br />

เป็นอย่างไร สหรับรองรับการมาถึงของระบบ<br />

ขนส่งสาธารณะขนาดใหญ่ เช่น รถไฟรางคู่ รถไฟ<br />

ความเร็วสูง ทางหลวงพิเศษมอเตอร์เวย์<br />

อีสานกำลังจะเปลี่ยนผ่านเข้าสู่มิติใหม่แห่งการพัฒนา<br />

ด้วยภาพที่สะท้อนจากอนาคตของการเติบโตด้านการลงทุนที่<br />

จะพลิกโฉมให้ภูมิภาคแห่งนี้เข้าสู่สังคมเมือง (Urbanization)<br />

ซึ่งจะปรับเปลี่ยนสังคม วิถีชีวิต ตลอดจนอัตลักษณ์ด้านการ<br />

บริโภคของคนอีสาน นอกจากนี้ประเทศเพื่อนบ้านที่มีพรมแดน<br />

ติดกับไทย อาทิ สปป.ลาว และกัมพูชา ที่เศรษฐกิจอาจขยาย<br />

ตัวได้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงแผนการเชื่อมโยงระบบคมนาคม<br />

พื้นฐานของไทย ก็น่าจะช่วยเสริมสร้างศักยภาพการเติบโตของ<br />

ภาคอีสานในช่วงหลายปีข้างหน้าได้อีกทางหนึ่ง<br />

หลายปีที่ผ่านมา อีสานฉายแววโดดเด่นในการเป็นพื้นที่<br />

ศักยภาพสูงด้านการลงทุน สวนทางกับการขยายตัวของการ<br />

ลงทุนบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงศูนย์รวมเศรษฐกิจอย่างกรุงเทพฯ<br />

ที่กำลังเข้าใกล้จุดอิ่มตัว ประกอบกับอีสานเป็นภาคที่มีความ<br />

พร้อมทั้งแรงงาน ที่ดิน และยังเป็นตลาดสินค้าขนาดใหญ่ที่มี<br />

ศักยภาพในการเติบโตสูง นอกจากนี้อีสานยังมีชัยภูมิที่<br />

สามารถใช้เป็นแหล่งกระจายสินค้าไปยังประเทศเพื่อนบ้านได้<br />

อีกด้วย ดังนั้น อีสานจึงยังคงมีช่องว่างที่จะสามารถพัฒนา<br />

ศักยภาพต่อไปได้โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อปัจจัยพื้นฐานแห่งการ<br />

พัฒนายังได้รับการส่งเสริมจากภาครัฐ<br />

ในระยะต่อไปการลงทุนที่นำโดยภาครัฐและเอกชนจะ<br />

กลายเป็นแรงขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้กับอีสานอย่างมีนัย<br />

สำคัญ ก่อนจะนำไปสู่การเป็นจุดเปลี่ยนที่ช่วยผลักดันให้<br />

เศรษฐกิจอีสานมีความรุดหน้าในการเติบโตสู่ความเป็นเมือง<br />

การเติบโตของการบริโภค ตลอดจนการค้าชายแดนในยุคที่<br />

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนไร้พรมแดน และอุปสรรค ในการ<br />

เชื่อมโยงระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านที่เบาบางลง ดังนั้น<br />

ด้วยศักยภาพของภาคอีสานที่จะขับเคลื่อนไปข้างหน้า น่าจะ<br />

ประเมินได้ว่าเศรษฐกิจอีสานจะเป็นโอกาสการขยายตัวของ<br />

ภาคธุรกิจค้าปลีก ค้าส่ง วัสดุก่อสร้าง บริการทางด้านสุขภาพ<br />

และการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ที่จะเติบโตตามการขยายตัว<br />

ของความเป็นเมือง ตลอดจนธุรกิจการขนส่งที่จะมีบทบาท<br />

สำคัญในฐานะผู้ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจการค้าประชากร ผู้จับจ่าย<br />

และนักท่องเที่ยวเกิดความคล่องตัวมากขึ้น<br />

จุดอ่อนของอีสานคือปัญหาพื้นฐานเรื่องน้ ำ ทั้งแล้งน้ำ และ<br />

อุทกภัย เรื่องคุณภาพของดิน ความยากจนและทุพโภชนาการ<br />

แต่มีความพร้อมด้านสถาบันการศึกษาและสถาบันวิจัย ดังนั้น<br />

อีสานจะมุ่งไปสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ได้นั้น จะต้องแก้ไข<br />

ปัญหาพื้นฐานควบคู่ไปกับการพัฒนาการวิจัย เพื่อใช้ความรู้<br />

เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ในการเสริม<br />

สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในภาคให้มีการเจริญ<br />

เติบโตได้อย่างเต็มศักยภาพ พร้อมทั้งการแสวงหาโอกาส<br />

การนำความรู้ ทุน เทคโนโลยีและนวัตกรรมจากภายนอกมา<br />

ช่วยขับเคลื่อน โดยการใช้ประโยชน์จากโครงการพัฒนา<br />

โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยง<br />

อีสานกับโครงข่ายระบบการคมนาคมขนส่งและพื้นที่<br />

เศรษฐกิจหลักของประเทศ รวมทั้งการใช้ประโยชน์จากการ<br />

เชื่อมโยงและข้อตกลงกับประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มอนุภูมิภาค<br />

ลุ่มแม่น้ำโขงที่กำลังมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วมา<br />

เสริมสร้างกิจกรรมการพัฒนาใหม่ๆ ให้แก่ภาค เพื่อให้มีอัตรา<br />

การเติบโตที่สูงเพียงพอต่อการลดความเหลื่อมล้ำกับพื้นที่ส่วน<br />

อื่นๆ ของประเทศได้ในระยะยาว<br />

ทางจังหวัดนครราชสีมาได้มีการเตรียมความพร้อม<br />

ในการเชื่อมโยงระบบโครงสร้างต่าง ๆ ของเมืองที่<br />

มีอยู่ในปัจจุบันกับระบบขนส่งสาธารณะขนาดใหญ่<br />

ที่จะมาถึงในอนาคตอย่างไร<br />

หากมองในภาพกว้าง คงไม่ใช่เรื่องของการพัฒนาระบบ<br />

ขนส่งมวลชนสาธารณะในตัวเมืองโคราช เพื่อรองรับการ<br />

เชื่อมต่อกับระบบรถไฟความเร็วสูง มอเตอร์เวย์ หรือรถไฟราง<br />

คู่ ซึ่งเรามีแผนแม่บทการดำเนินการอย่างชัดเจนและท้องถิ่น<br />

ก็ตื่นตัวที่จะจัดการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในเมือง รวมทั้ง<br />

ภาคเอกชนที่สนใจลงทุนพัฒนาพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชน<br />

ด้วยการออกแบบพื้นที่รอบสถานีให้ผสมผสานระหว่างศูนย์<br />

พาณิชย กรรม ร้านค้า ที่พักอาศัย แหล่งงาน เป็นต้น เพื่อเพิ่ม<br />

จำนวนผู้โดยสารและการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนที่สะดวก<br />

สบาย<br />

ในเชิงยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่จำเป็นต้องวางความ<br />

เชื่อมโยงในการพัฒนาให้ต่อเนื่องกันในภูมิภาคเพื่อให้การพัฒนา<br />

เป็นหนึ่งเดียวไม่ขัดแย้ง หรือเป็นอุปสรรคต่อกัน บูรณาการกับ<br />

ระบบโครงสร้างพื้นฐาน และห่วงโซ่อุปทานในการผลิตแบบ<br />

ครบวงจรทั้งหมด ซึ่งอาจกำหนดแกนการพัฒนาไว้ดังนี้<br />

- แกนแนวทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 304 ที่เรียกว่า<br />

Industrial Corridor เชื่อมจังหวัดนครราชสีมากับย่าน<br />

อุตสาหกรรม และท่าเรือน้ำลึกในพื้นที่ EEC ชายฝั่งทะเล<br />

ตะวันออก ซึ่งพื้นที่เมืองตามแนวแกนเศรษฐกิจนี้จะมีแนวโน้ม<br />

ของการเติบโตตามธรรมชาติจากนโยบายและการลงทุนของ<br />

ภาครัฐและเอกชน<br />

สหรับจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งถือว่าเป็น “ประตูสู่<br />

ภาคอีสาน” จะมีลักษณะการพัฒนาไปในทิศทางใด<br />

เมื่อก่อนอาจเรียกนครราชสีมาหรือโคราชว่าเป็นประตูสู่<br />

อีสาน แต่ทุกวันนี้คงไม่ใช่ประตูสู่อีสานเพียงอย่างเดียว เพราะ<br />

จะเป็นประตูเชื่อมประเทศเพื่อนบ้าน เป็นประตูที่จะเชื่อมใน<br />

กลุ่มประเทศ GMS หรือระเบียงเศรษฐกิจอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำ<br />

โขง และยังเป็นประตูที่จะเชื่อมไปยังภาคตะวันออก EEC หรือ<br />

ระเบียงเขตเศรษฐกิจภาคตะวันออก เพื่อไปสู่ท่าเรือ และยังจะ<br />

เชื่อมต่อไปยังภาคใต้อีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการรถไฟ<br />

ความเร็วสูง ซึ่งจะวิ่งจากกรุงเทพฯ ไปถึงหนองคาย เชื่อม<br />

เวียงจันทน์-หลวงพระบาง-คุนหมิง ความเชื่อมโยงสายนี้เกี่ยว<br />

เนื่องกับ one belt one road ของจีนอีกด้วย โคราชจึงไม่ได้<br />

เป็นแค่ทางผ่าน แต่เป็นจังหวัดที่มีความได้เปรียบด้านขนาด<br />

พื้นที่และจำนวนประชากร มีเขตประกอบการอุตสาหกรรมที่<br />

จะสามารถรองรับนักลงทุนได้อย่างเพียงพอและมีพื้นฐาน<br />

อุตสาหกรรมที่เข้มแข็ง โดยเฉพาะอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิต<br />

ทางการเกษตรและอุตสาหกรรมก่อสร้างที ่สามารถจะพัฒนา<br />

และก่อให้เกิดอุตสาหกรรมต่อเนื่องได้ นอกจากนี้ยังมี<br />

อุตสาหกรรม SMEs ที่พร้อมจะพัฒนาเป็นอุตสาหกรรม<br />

สนับสนุน สาขาอิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ อุตสาหกรรมโลหะ<br />

และวิศวกร ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่จะสนับสนุนนโยบายไทยแลนด์ 4.0<br />

นอกจากนี้โคราชซึ่งเป็นประตูเศรษฐกิจของภาคอีสาน ยัง<br />

ต้องดำเนินบทบาทหน้าที่ที่กำหนดจากนโยบายระดับประเทศ<br />

จังหวัดและกลุ่มจังหวัด และแผนพัฒนาจังหวัด ได้แก่<br />

บทบาทความสำคัญระดับประเทศ จากผลผลิตและ<br />

โครงสร้างเศรษฐกิจ เป็นแหล่งผลผลิตทางการเกษตร และ<br />

อุตสาหกรรมแปรรูประดับประเทศในด้านพืชพลังงาน<br />

อุตสาหกรรมพลังงานทางเลือก (วินด์ฟาร์ม โซล่าร์ฟาร์ม<br />

เอทานอล)<br />

บทบาทความสำคัญระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

จากตำแหน่งที่ตั้ง เป็นศูนย์รวบรวมและกระจายสินค้า และ<br />

เป็นโลจิสติกส์ฮับของอีสานตอนล่าง จุดพักรถบรรทุก (เกี่ยวกับ<br />

การขนส่งและการเดินทาง)<br />

บทบาทความสำคัญของแต่ละอำเภอที่มีความโดดเด่น<br />

แตกต่างกันไปตามฐานทรัพยากร เช่น กลุ่มอำเภอทางใต้<br />

(อำเภอปากช่อง อำเภอวังน้ำเขียว อำเภอเสิงสาง อำเภอครบุรี<br />

อำเภอด่านขุนทด) เป็นเมืองท่องเที่ยวตากอากาศ การพัฒนา<br />

ทางเลือก เช่น พลังงานทางเลือก เกษตรทางเลือก กลุ่มอำเภอ<br />

ตอนกลาง (อำเภอเมืองนครราชสีมา อำเภอสีคิ้ว อำเภอสูงเนิน<br />

อำเภอโนนสูง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ) เป็นศูนย์กลางการค้า<br />

และการลงทุน การปกครอง การคมนาคมขนส่ง กลุ่มอำเภอ<br />

ทางตอนเหนือ (อำเภอบัวใหญ่ อำเภอคง อยู่ในจุดที่ตั้งที่เป็น<br />

ศูนย์กลางการขนส่งและกระจายสินค้าจากอีสานทางเหนือได้<br />

จากศักยภาพด้านนโยบาย การพัฒนาด้านโลจิสติกส์ และ<br />

พื้นที่กลุ่มอำเภอด้านตะวันออกเฉียงเหนือของจังหวัด ได้แก่<br />

อำเภอพิมาย อำเภอชุมพวง อำเภอเมืองยาง อำเภอลำทะเมนชัย<br />

อยู่ในพื้นที่ที่เป็นอู่ข้าวอู่น้ำ (ทุ่งสัมฤทธิ์) ที่เป็นแหล่งปลูกข้าว<br />

หอมมะลิพันธุ์ดีที่มีชื่อเสียง<br />

ท่านคิดว่าประชาชนทั่วไป ควรมีการเตรียมความพร้อม<br />

เพื่อรองรับอนาคตที่กลังจะเกิดขึ้นนี้อย่างไร<br />

เป็นความสำคัญมากที่ต้องเตรียมความพร้อมของ<br />

ประชาชนในจังหวัดให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะทิศทางการ<br />

พัฒนาของจังหวัดนครราชสีมาต้องเผชิญกับการปรับตัวเพื่อ<br />

ให้ก้าวไปพร้อมกับประชาคมที่ไร้พรมแดน การเคลื่อนย้าย<br />

แรงงานเสรี และการเจริญเติบโตจากนโยบายการพัฒนาภาค<br />

รัฐ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาคุณภาพคนในทุกมิติอย่างสมดุล<br />

จึงควรส่งเสริมความเข้มแข็งของครอบครัวและสังคม ควบคู่<br />

กับการพัฒนาคุณภาพทางด้านการศึกษา สร้างสุขภาวะที่ดี<br />

ให้กับประชาชน พัฒนาความปลอดภัยและระเบียบเรียบร้อย<br />

ของเมือง ทั้งในด้านอัคคีภัย อาชญากรรม และการป้องกัน<br />

บรรเทาสาธารณภัยในกรณีการเกิดภัยพิบัติต่างๆ<br />

ดังนั้น เพื่อให้บ้านเมืองของเราเจริญก้าวหน้าไปได้ใน<br />

ทิศทางที่ทุกภาคส่วนสามารถประสานประโยชน์ และมีความ<br />

สุข ประชาชนจะต้องรักษาสิทธิและโอกาสของตนเองในการ<br />

เข้าไปรับรู้ข้อมูลรายละเอียดของโครงการ ให้ความเห็น บอก<br />

ความต้องการ ปัญหา และข้อขัดข้องของตนเอง และคอย<br />

ติดตามตรวจสอบเกี่ยวกับโครงการที่อาจมีผลกระทบต่อ<br />

ตนเองและสังคม ทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อที่โครงการต่าง ๆ<br />

จะเริ่มต้นขึ้นอย่างถูกทิศทาง และสามารถดำเนินการไปสู่<br />

ความสำเร็จที่สร้างประโยชน์ต่อส่วนรวมได้อย่างยั่งยืน<br />

บทบาทของสถาปนิกกับการพัฒนาในครั้งนี้ ในมุม<br />

มองของท่านผู้ว่าฯ คิดว่าควรเป็นเช่นไร<br />

คาดหวังให้สถาปนิกมีบทบาทในการทำงานเพื่อสังคมและ<br />

ชุมชน โดยสถาปนิกคือนักผสมผสานเทคโนโลยีวัฒนธรรมและ<br />

ความคิดของชาวบ้าน เพื่อการเปลี่ยนแปลงและสร้างสรรค์สิ่ง<br />

ใหม่ ๆ ขึ้นมาบนกระบวนการที่ต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดการพัฒนา<br />

คุณภาพชีวิตการอยู่อาศัยของผู้คน ด้วยกระบวนการให้อำนาจ<br />

การวางผังและการออกแบบอย่างมีส่วนร่วมให้กับคนในชุมชน<br />

เสริมสร้างความรู้ เทคนิค ความสามารถในการมองสิ่งต่างๆ<br />

อย่างเชื่อมโยงทางกายภาพ เพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ดีขึ้นใน<br />

ทุกๆ ด้าน เมื่อเห็นทิศทางของการพัฒนาเมืองที่ชัดเจน และ<br />

มองเห็นจุดยืนของอีสาน ของโคราช ที่เทียบกับเพื่อนบ้าน<br />

ความสำคัญคือ การสร้างการมีส่วนร่วมให้คนหรือเจ้าของบ้าน<br />

ได้มีสิทธิออกแบบบ้านและเมืองของตัวเอง โดยที่นำเทคโนโลยี<br />

เข้ามาช่วยบริการจัดการพัฒนาสังคม สาธารณูปโภค เพื ่อ<br />

อำนวยความสะดวกให้ชีวิตคนในเมือง<br />

บทบาทสถาปนิกในงานชุมชนอาจเริ่มต้นง่ายๆ คือการ<br />

หยิบเอาความรู้ด้านออกแบบมาประยุกต์ใช้ในกระบวนความ<br />

คิด การสร้างสื่อเพื่อให้คนในชุมชนเห็นอะไรที่เป็นรูปธรรมและ<br />

เป็นระบบขึ้น ซึ่งจะทำให้เขาเข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การทำ<br />

Sketch-up ทำ 3D ให้ชาวบ้านเห็นความเปลี่ยนแปลงได้ชัด<br />

ขึ้นว่า ถ้าทำแล้วมันจะเป็นแบบนี้ ชุมชนก็จะเริ่มมองออกถึง<br />

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นได้ง่ายขึ้น หรือการออกแบบ<br />

ผลิตภัณฑ์ ก็เข้าไปช่วยเพิ่มมูลค่าสินค้า ด้วยการพัฒนาเรื่อง<br />

บรรจุภัณฑ์ เอาความรู้เรื่องการออกแบบไปช่วย เป็นต้น<br />

อยากให้กรรมาธิการสถาปนิกอีสานเข้ามามีส่วน<br />

ร่วมกับทางจังหวัดหรือภูมิภาคอย่างไรบ้าง<br />

กรรมาธิการสถาปนิกอีสานควรทำหน้าที่ในการนำเสนอความ<br />

รู้ความเข้าใจให้ประชาชนตระหนักถึงเรื่องสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็น<br />

สิ่งสำคัญที่จะร่วมกันพัฒนาเมือง โดยมีปัญหาจากการพัฒนา<br />

ให้น้อยที่สุด อย่างเรื่องของแนวทางการอนุรักษ์กับการพัฒนา<br />

เมืองเก่าทั้งพิมายและโคราช ซึ่งอาจต้องการรูปธรรมที่ชัดเจน<br />

หรือเรื่องใหญ่ๆ ระดับโลกในปัจจุบันที่กำลังประสบปัญหา<br />

เกี่ยวกับภาวะภูมิอากาศแปรปรวน ส่งผลให้เกิดภัยพิบัติที่เกิน<br />

คาดเดา เช่น ปัญหาน้ำท่วม น ้ำรอการระบายที่โคราชกำลัง<br />

เผชิญอยู่ ข้อคิดเห็นการพัฒนาเมืองที่กรรมาธิการสถาปนิก<br />

อีสานย่อมสะท้อนมาจากความคิดของผู้เชี่ยวชาญด้าน<br />

กายภาพ สมควรอย่างยิ่งที่ผู้เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเมืองจะ<br />

ต้องนำประเด็นเหล่านั้นมาถกเถียง ตรวจสอบหาข้อสรุปเพื่อ<br />

นำไปเป็นมาตรการพัฒนาเมืองอย่างจริงจัง<br />

- 16 -<br />

- 17 -<br />

MAR-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

MAR-APRIL 2018 - ISSUE 09


KHON<br />

KAEN<br />

ดร.สมศักดิ์ จังตระกูล<br />

ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น<br />

อยากให้ท่านผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น ช่วย<br />

อธิบายถึงภาพรวมในอนาคตของภาคอีสานว่าจะมี<br />

ลักษณะและทิศทางเป็นอย่างไร สหรับรองรับการ<br />

มาถึงของระบบขนส่งสาธารณะขนาดใหญ่ ได้แก่<br />

รถไฟรางคู่ รถไฟความเร็วสูง ทางหลวงพิเศษ<br />

มอเตอร์เวย์ เป็นต้น<br />

การมีระบบขนส่งสาธารณะขนาดใหญ่ ได้แก่ รถไฟรางคู่<br />

รถไฟความเร็วสูง และทางหลวงพิเศษมอเตอร์เวย์ เป็นการ<br />

ลงทุนระบบสาธารณูปโภคของประเทศไทยครั้งสำคัญนี้จะสร้าง<br />

ความเจริญเติบโตให้กับภูมิภาคนี้เป็นอย่างมาก ในอนาคต<br />

ประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียจะมีการคมนาคมเชื่อมโยง<br />

อย่างไร้พรมแดน ซึ่งจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับ<br />

พลันในด้านต่างๆ ได้แก่ ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม<br />

และภาคการศึกษา ฯลฯ ซึ่งรัฐบาลอาจจะต้องส่งเสริมสิทธิ<br />

พิเศษกระตุ้นให้กับภาคอุตสาหกรรม และภาคเกษตรกรรม<br />

เพื่อการสนับสนุนจะต้องมีการปรับเปลี่ยน เมื่อมีนักลงทุนจาก<br />

นักธุรกิจทั้งในประเทศ และต่างประเทศที่เพิ่มทวีคูณอย่าง<br />

รวดเร็ว<br />

การเตรียมความพร้อมของแต่ละจังหวัดในภาค<br />

อีสาน โดยเฉพาะหัวเมืองใหญ่ๆ เช่น นครราชสีมา<br />

ขอนแก่น อุดรธานี หนองคาย ว่ามีอะไรบ้าง ทั้งใน<br />

ระยะสั้น และระยะยาว<br />

จังหวัดขอนแก่นมีภูมิศาสตร์ที่อยู่ตรงจุดกึ่งกลางภาคอีสาน<br />

และเป็นจุดตัดเส้นทางการคมนาคมขนส่งหลัก East-West<br />

Corridor การเตรียมความพร้อมของผู้คนในจังหวัดภาคอีสาน<br />

สิ่งแรกที่จะต้องทำคือเปลี่ยนทัศนคติในการดำเนินชีวิตให้<br />

สอดคล้องกับนโยบายของประเทศ คือไทยแลนด์4.0 โดยการ<br />

เปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจแบบเดิมที่ทำมากได้น้อยเป็นทำ<br />

น้อยได้มาก โดยเปลี ่ยน 4 องค์ประกอบที่มีอยู่ และใส่<br />

นวัตกรรม ความรู้ และความคิดสร้างสรรค์เพิ่มลงไป เช่น<br />

การเกษตรแบบเดิม ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ที่เน้นการบริหาร<br />

จัดการและเทคโนโลยี SMEs เดิมที่ภาครัฐให้ความช่วยเหลือ<br />

อยู่ตลอดเวลายกระดับให้เป็น Smart Farmers หรือ Start Up<br />

ที่มีศักยภาพสูง เปลี่ยนจากภาคบริการที่มีมูลค่าค่อนข้างต่ำ<br />

เป็น Hi Value Service และเปลี่ยนแรงงานที่มีทักษะต่ำไปสู่<br />

แรงงานที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญหรือ Reform in Action<br />

การเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น ลาว กัมพูชา<br />

เวียดนาม จะมีลักษณะอย่างไร และมีประโยชน์กับ<br />

ภูมิภาคอีสานในทิศทางใด<br />

หากพูดถึงความเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านคงหนีไม่<br />

พ้นการค้าการขาย ก็คือ ภาคเกษตรกรรมนั่นเอง ความจริงแล้ว<br />

สินค้ากับประเทศเพื่อนบ้านของเราคล้ายคลึงกัน ดังนั้นหาก<br />

จะค้าขายในอนาคตจะต้องมีการยกระดับสินค้าในประเด็นนี้<br />

หมายถึงสินค้าจะต้องมีความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรมและ<br />

เทคโนโลยีจึงจะแข่งขันได้<br />

ขอนแก่นซึ่งเป็น “เมืองศูนย์กลางของภาคอีสาน”<br />

จะมีลักษณะการพัฒนาไปในทิศทางใด<br />

จังหวัดขอนแก่นจะต้องรักษาความได้เปรียบในเชิง<br />

ภูมิศาสตร์ที่เป็นศูนย์กลางภาคอีสานให้ได้แบบมีศักยภาพ<br />

และอย่างที่เรียนไปแล้วว่าจังหวัดขอนแก่นเรามีทิศทางการ<br />

พัฒนาเมือง ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการจัดประชุม<br />

บริษัทข้ามชาติ การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล การประชุม<br />

นานาชาติ และการจัดนิทรรศการ(Mice City) การพัฒนาเมือง<br />

อัจฉริยะ (Smart City) การพัฒนาเมืองให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพ<br />

นานาชาติ (Medical Hub) และเรื่องที่สำคัญคือเรื่องบริโภค<br />

เราจะต้องวางแผนผลิตสินค้าทางการเกษตรที่มีคุณภาพเพื่อ<br />

ส่งออก และเป็นศูนย์กลางตลาดแลกเปลี่ยนสินค้าเพื่อการ<br />

บริโภคที่มีคุณภาพในอนาคต เพื่อให้เป็นเมืองที่น่าอยู่<br />

ปลอดภัย ห่างไกลจากยาเสพติด และอาชญากรรม<br />

ประชาชนทั่วไปควรมีการเตรียมความพร้อมเพื่อ<br />

รองรับอนาคตที่กลังจะเกิดขึ้นนี้อย่างไร<br />

ประชาชนชาวขอนแก่นจะต้องตื่นตัวพร้อมที ่จะเรียนรู้ทัน โดยให้พัฒนาใน 2 มิติ มิติที่หนึ่ง เป็นการพัฒนาแบบไทย<br />

สมัย และพร้อมปรับทัศนคติตามความเปลี่ยนแปลงของโลก หมายความว่าอะไรที่ดีอยู่แล้วก็ให้คงอยู่ หรืออะไรที ่มีคุณค่า<br />

อย่างฉับพลันให้ได้ สิ่งที่ภาครัฐต้องทำอย่างเร่งด่วน คือ การ ทางสถาปัตยกรรมก็เห็นสมควรให้ทำงานในเชิงอนุรักษ์ไว้<br />

ยกระดับความรู้ ทักษะ และทัศนคติของประชาชน อย่างไร มิติที่สอง กรณีการสร้างใหม่ ก็ให้นำเอาความรู้นวัตกรรมและ<br />

ก็ตาม จะต้องได้รับความร่วมมือจากพี่น้องประชาชนและทุก เทคโนโลยีมาปรับใช้เพื่อก้าวไปสู่มาตรฐานสากลและสามารถ<br />

ภาคส่วน<br />

แข่งขันได้<br />

บทบาทของสถาปนิกกับการพัฒนาในครั้งนี้ ในมุมมอง<br />

ของท่านผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่นคิดว่าควร<br />

เป็นเช่นไร<br />

ความจริงแล้วอาชีพสถาปนิกมีความสำคัญและมีบทบาท<br />

ต่อการพัฒนาบ้านเมืองเป็นอย่างมาก สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต้องนำเสนอภาพลักษณ์ของเมืองใน<br />

แต่ละย่าน และนำจุดแข็งมาสร้างให้เป็นจุดเด่นหรืออัตลักษณ์<br />

ในขณะเดียวกันจะต้องเดินหน้าเรื่องการอนุรักษ์สถาปัตยกรรม<br />

ควบคู่กันไป<br />

อยากให้กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน สมาคม<br />

สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เข้ามามีส่วนร่วม<br />

กับทางจังหวัดหรือภูมิภาคอย่างไรบ้าง<br />

ท่านต้องนำเสนอความคิดสร้างสรรค์ของท่านให้กับ<br />

ผู้บริหารเมือง โดยจะต้องเป็นรูปข้อมูลที่เป็นงานวิจัยหรือ<br />

งานที่มีวิชาการรองรับโดยทำงานร่วมกับสถาบันการศึกษา<br />

ผศ.สุรศักดิ์ โลห์วนิชชัย<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

ขอให้ท่านช่วยเล่าถึงประสบการณ์ในการดรง<br />

ตแหน่งประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสานว่า<br />

เป็นอย่างไร<br />

ตั้งแต่รับตำแหน่งประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

เป็นต้นมา ก็ได้ทำงานในการเชื่อมต่อประสานระหว่างสมาชิก<br />

กับสมาคมฯ ด้วยการดำเนินกิจกรรมอย่างหลากหลายตามแผน<br />

งานและงบประมาณที่ได้รับการสนับสนุนจากสมาคมฯ อีกทั้ง<br />

ยังมีกิจกรรมร่วมกันกับกรรมาธิการสถาปนิกในภูมิภาค อื่นๆ ทำให้<br />

มีการแลกเปลี่ยนความเห็นและประสบการณ์ในวิชาชีพมากขึ้น<br />

ด้วยลักษณะของภูมิประเทศของภาคอีสานที่มีขนาดกว้างใหญ่<br />

และวิชาชีพสถาปนิกเองก็ยังไม่เป็นที่รู้จักหรือเข้าใจในการ<br />

ปฏิบัติวิชาชีพสำหรับประชาชนทั่วไป จึงเป็นอุปสรรคสำคัญ<br />

ประการหนึ่งในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ของสมาคมฯ ให้ทั่วถึง<br />

แนวทางหนึ่งที่พยายามดำเนินการกันอยู่คือการสร้างการจัดตั้ง<br />

ศูนย์กิจกรรมของแต่ละกลุ่มจังหวัดหลักๆ ที่มีสมาชิกจำนวน<br />

มากในพื้นที่ภาคอีสาน เพื่อร่วมกันทำกิจกรรมของสมาคมฯ ให้<br />

มีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิม<br />

กรรมาธิการสถาปนิกอีสานมีแนวทางในการติดต่อ<br />

สื่อสารให้ความรู้และข้อมูลข่าวสารแก่ สถาปนิก<br />

ในแต่ละจังหวัดของภาคอีสานอย่างไร<br />

แนวทางในการติดต่อสื่อสารในปัจจุบันจะใช้เทคโนโลยี<br />

การสื่อสารที่อำนวยความสะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย เช่น<br />

การใช้โซเชียลมีเดียต่างๆ เพื่อให้เข้าถึงสมาชิกให้ทั่วถึงมากที่สุด<br />

เพื่อสื่อสารให้ได้รับทราบข่าวสารกันได้อย่างกว้างขวางใช้ความ<br />

ไม่เป็นทางการในการสื่อสาร หากสมาชิกมีข้อสงสัยในเรื่องการ<br />

ดำเนินการอะไรจะสามารถเข้ามาสอบถาม เพื่อให้ ผู้เกี่ยวข้อง<br />

ได้มาอธิบายให้ชัดเจน เสริมกับการสื่อสารอย่างเป็นทางการของ<br />

สมาคมฯ ผ่านหนังสือและจดหมายเหตุของสมาคมฯ ก็จะช่วย<br />

ให้เกิดความเข้าใจในภารกิจของสมาคมฯ มากขึ้น ด้วยความ<br />

คาดหวังว่าจะทำให้สมาชิกเข้าใจและเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของ<br />

สมาคมฯ มากยิ่งขึ้น<br />

การเชื่อมโยงกับสถาปนิกอาเซียน โดยเฉพาะภูมิภาค<br />

อีสาน ทางกรรมาธิการสถาปนิกอีสานได้มีการ<br />

ติดต่อกับสถาปนิกประเทศเพื่อนบ้านที่ไหนบ้าง และ<br />

อย่างไร<br />

ในกลุ่มสมาชิกสถาปนิกอาเซียน ทางกรรมาธิการสถาปนิก<br />

อีสานมีการติดต่อใกล้ชิดกับสมาคมสถาปนิก วิศวกรและการ<br />

ก่อสร้างของประเทศลาว มีการแลกเปลี่ยนกิจกรรมในหลายระดับ<br />

ทั้งแบบเป็นทางการและไม่เป็นทางการ นอกจากนี้ยังได้มีการ<br />

ประสานงานเพื่อสร้างความร่วมมือกับสมาคมสถาปนิก<br />

เวียดนาม เพื่อการแลกเปลี่ยนด้านวิชาชีพกันต่อไปในอนาคต<br />

ปัจจุบันยังเป็นการร่วมมือในระดับวิชาการระหว่างสถาบันการ<br />

ศึกษาของไทยกับลาว และเวียดนาม ผ่านการฝึกปฏิบัติการของ<br />

นักศึกษาและอาจารย์ ด้วยงบประมาณที ่ได้รับการสนับสนุน<br />

จากสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ท่านอยากให้สถาปนิกอีสานรุ่นต่อไปในอนาคต<br />

มีลักษณะเป็นอย่างไร<br />

เนื่องจากภาคอีสานนั้นเป็นภาคที่ผลิตสถาปนิกไปประกอบ<br />

วิชาชีพในภูมิภาคอื่น มากกว่าการที่จะผลิตสถาปนิกมา<br />

ประกอบวิชาชีพในพื้นที่อีสานเอง เห็นได้จากปริมาณของ<br />

สถาปนิกที่จบการศึกษาจากสถาบันการศึกษาในภาคอีสานจะ<br />

กระจายตัวไปทำงานทั้งในกรุงเทพฯ เชียงใหม่ สงขลา ภูเก็ต<br />

ชลบุรี ฯลฯ ในขณะที่จำนวนของสถาปนิกที่จบการศึกษาจาก<br />

สถาบันในภูมิภาคอื่นเข้ามาประกอบวิชาชีพในพื้นที่อีสานมี<br />

จำนวนน้อยมาก จึงเป็นภาระที่สถาปนิกรุ่นต่อไปในพื้นที่ภาค<br />

อีสานจะต้องมีความร่วมมือร่วมใจ และมีจิตอาสาในการดำเนิน<br />

กิจกรรมเพื่อวิชาชีพ มากกว่าการทำเพื่อตนเองหรือเฉพาะกลุ่ม<br />

ทำให้เกิดมาตรฐานในการปฏิบัติวิชาชีพยกระดับวิชาชีพให้สังคม<br />

ยอมรับในมาตรฐานการทำงาน สร้าง งานสถาปัตยกรรมที่ดีและ<br />

น่าสนใจให้เกิดขึ้นในพื้นที่ต่อไป<br />

แนวทางหนึ่งที่<br />

พยายามดำเนินการอยู่<br />

คือการสร้างการจัดตั้ง<br />

ศูนย์กิจกรรมของแต่ละ<br />

กลุ่มจังหวัดหลักๆ ที่มีสมาชิก<br />

จำนวนมากในพื้นที่ภาคอีสาน<br />

เพื่อร่วมกัน<br />

ทำกิจกรรมของสมาคมฯ<br />

ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าเดิม<br />

คถามสุดท้าย เมื่อมีระบบขนส่งสาธารณะขนาดใหญ่<br />

เข้ามาในภูมิภาคอีสาน ท่านคิดว่าจะเกิดประโยชน์กับ<br />

สถาปนิกอีสานอย่างไร<br />

สิ่งที่คาดหวังสำหรับการมีระบบขนส่งสาธารณะขนาดใหญ่<br />

ในภาคอีสานก็คือการที่ระบบเศรษฐกิจของแต่ละจังหวัดในภาค<br />

อีสานจะมีการขยายตัวมากขึ้น มีการค้า การใช้จ่ายในด้านต่างๆ<br />

มากขึ้น ซึ่งแน่นอนว่าหากเป็นไปตามที่คาดหวังแล้ว จะทำให้<br />

เกิดความต้องการคุณภาพและปริมาณของงานออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมมากยิ่งขึ้น มีค่าตอบแทนของค่างานออกแบบ<br />

มากขึ้น ทำให้ผู้ประกอบวิชาชีพสถาปนิกต้องมีการปรับตัวให้<br />

สนองตอบต่อความต้องการข้างต้นและตามความคาดหวังของ<br />

ผู้ใช้บริการวิชาชีพที่สูงขึ้นกว่าเดิม<br />

- 18 -<br />

- 19 -<br />

MAR-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

MAR-APRIL 2018 - ISSUE 09


or double track railway. We have prepared the master<br />

- The E-San Corridor along Highway No. 2 to the west<br />

Additionally, Nakhon Ratchasima, as the economic<br />

plan for the operation and the local agencies are well<br />

of urban Nakhon Ratchasima is the consolidation, distri-<br />

gate of E-San, still has to continue its role as identified by<br />

aware and<br />

driven to make the development of people’s<br />

bution and service hub between the northeastern region<br />

the national, provincial and regional policies as well as the<br />

quality of life really happen. The private sector is eager to<br />

and metropolitan areas. It will also function as an integrative<br />

province’s own developmental plans as follows:<br />

invest in land development projects around the transport<br />

tourism area, especially Seekew district, which will become<br />

The role of the province in the national scale is<br />

stations and hubs. The lands around the stations have<br />

the center of personnel and products from the area where<br />

attained from the economic products and structure it is<br />

been designed to combine the functionality of a commercial<br />

two different bordering regions It will be developed into<br />

able to create including its status as the nationally signif-<br />

center, retail shops, residential projects and these are the<br />

one of the country’s most important warehouse districts<br />

icant producer of agricultural products and operators of<br />

potential areas of high job opportunities. The existence of<br />

where massive volume of products are stored and distributed.<br />

energy plant processing industry including alternative<br />

E-San, as we know it, is changing. With the arrival of<br />

mass transport system that will turn the northeastern<br />

region of Thailand into an urbanized society, what does<br />

the future hold for E-San and how should the architects<br />

of the region take part in this major development?<br />

Wichien Chantaranothai<br />

The Governor of Nakhon Ratchasima Province<br />

Could you explain the future of E-San in the big picture,<br />

what do you think the region is going to evolve into and<br />

in which direction with the coming of mass transport<br />

infrastructures such as the double track railway, the<br />

high speed train network and the motorway?<br />

E-San is transitioning into a new dimension of<br />

development. It’s a reflection of the future expansion of<br />

investment that will steer the region towards urbanization.<br />

It will transform the society, way of life and consumption<br />

identity of E-San people. In addition, the neighbor countries<br />

who share their borders with Thailand such as Lao PDR<br />

and Cambodia will see a continual economic growth<br />

while the plan to facilitate the interconnected network of<br />

Thailand’s transportation system can help strengthen<br />

E-San’s potential and growth in the coming years.<br />

In the past several years, E-San thrives as an area of<br />

high investment potential. This goes into an opposite<br />

direction with the investment tendency of the country<br />

economic hub such as Bangkok whose growth has begun<br />

to reach the plateau. Such tendency are complemented<br />

with E-San’s capabilities from workforce to the region’s<br />

expansive land, not to mention that it’s a massive market<br />

with incredible potential to grow. E-San also has Chaiyaphoom<br />

as the strategic province where goods can be distributed<br />

to the neighbor countries. All and all, E-San has much more<br />

room to grow and develop its potential, especially with<br />

the government’s vehement support in the development<br />

of its infrastructure.<br />

The next step is the investments led by the government<br />

and private sector that will significantly propel the economy<br />

of the region. Such support will lead to the turning point<br />

in the region’s economy, which will eventually enable<br />

urbanization and consumption growth as well as cross-border<br />

commerce in the era of ACE’s free trade agreement while<br />

the obstructions that once prevent the connection<br />

between Thailand and the neighbor countries have been<br />

reconciled. As a result, with E-San’s potential to move<br />

forward, it can be estimated that economy of this northeastern<br />

region of will revolve around the expansion of retail<br />

and wholesale business, providers healthcare services<br />

including construction material and real-estate development<br />

industry, which are speculated to grow in accordance<br />

with the region’s urbanization. The role of transportation<br />

business will rise as a key supporter and facilitator of the<br />

business sector, including local consumers and tourists.<br />

While the weak points of E-San are water shortage,<br />

drought, flood, soil quality, poverty and malnutrition of the<br />

population, the region is well equipped in education<br />

infrastructure with standardized educational and research<br />

institutes. In order for E-San to head towards the future<br />

of stability, prosperity and sustainability, these basic<br />

problems need to be resolved along with consistent<br />

research and development. Technologies, innovations and<br />

creativity must be incorporated to reinforce the region’s<br />

economic strength that will enable E-San grow to its<br />

fullest potential. E-San needs to search for opportunities<br />

to bring together the knowledge, outside capitals, technologies<br />

and innovations to help propel its development.<br />

It needs to make the best use of the development of<br />

mass transportation infrastructure that will connect E-San<br />

to the more expansive network of transportation systems<br />

and the country’s main economic areas. The region should<br />

make itself benefit from the connections and<br />

agreements with the thriving neighbor countries around<br />

Mae Khong River. If succeeded, such facilitated<br />

connection will significantly enhance new developmental<br />

activities within the region, causing E-San to grow while<br />

the long existing social and economic inequality between<br />

the northeastern area and other parts of the country can<br />

resolved in the long run.<br />

How has Nakhon Ratchasima been preparing to connect<br />

the province’s existing infrastructure to the imminent<br />

arrival of mega public transport systems?<br />

If we look at it in the big picture, it isn’t just about<br />

developing the local transport system to support the<br />

connection with the high-speed train system, motorway<br />

this type of spaces can increase the number of passengers<br />

and facilitate the more convenient access to the mass<br />

transport system.<br />

Strategically, land development is a continual and<br />

corresponding process. The development must be in<br />

the same direction. It has to be integrated to the infrastructural<br />

systems as well as the supply chain under a<br />

comprehensive production process. The development<br />

plan can be outlined as follows:<br />

- The area along Highway No. 304 known as the<br />

Industrial Corridor that connects Nakhon Ratchasima to<br />

the industrial districts and deep water ports in the EEC<br />

(Eastern Economic Corridor) and the Eastern Seaboard.<br />

The urban areas around this economic axis see the<br />

tendency of an organic growth due to the supports from<br />

both the government and private sector.<br />

- The area along the No.2 highway from the north of<br />

urban Nakhon Ratchasima to Sida district sees the<br />

potential development of becoming an industrial district<br />

housing operators of agricultural product processing<br />

business. Buayai-Sida will become the hub of packaging<br />

industry, warehouses and multimodal transport. The hub<br />

will consolidate and distribute agricultural produce from<br />

central northeastern region. The development of transportation<br />

potential of both rail and road system is also<br />

a part of the master plan.<br />

As the ‘Gate to E-San’, what will the direction of<br />

development for Nakhon Ratchasima province be like?<br />

We used to be called the Gate to E-San, but Nakhon<br />

Ratchasima or Korat today is no longer just a gate to the<br />

northeastern region but an entry to other neighbor countries,<br />

especially countries in the Greater Mekong Sub-region<br />

(GMS). It is also the gate to EEC, and seaports that connect<br />

to the southern region of the country. The Bangkok - Nongkai<br />

high-speed train project will connect the country to<br />

Vientian-Luangprabang-Kunming, The project is also meant<br />

to be connected with China’s high-speed train system as<br />

part of the One Belt, One Road cross-border development.<br />

Nakhon Ratchasima is not just a province people passing<br />

through but an area of highly advantageous land capacity<br />

and population with its own industrial districts that can<br />

sufficiently accommodate interested investors. These<br />

factors are complemented by the province’s strong foundation<br />

of industrial operations, particularly agricultural<br />

product processing and construction industry that can be<br />

developed and ramified to other possible industries such<br />

as the supporting industries that come in the form of<br />

SMEs, providing a wide range of products and services<br />

from electronics, automobile, steel to engineering. The<br />

aforementioned developments have been initiated as a<br />

part of the Thailand 4.0 policy.<br />

energy industry (wind farm, solar farm, ethanol).<br />

The significance in the regional level is developed<br />

from Nakhon Ratchasima’s strategic location and its role<br />

as the logistic hub of the lower E-San region, which houses<br />

major truck stops (for transportation of goods and other<br />

forms of public transport).<br />

The role and significance of each district is varied by<br />

it resources. For instance, the southern districts (Pak Chong,<br />

Wang Nam Keaw, Sernsang, Konburi, Dankhuntod) are<br />

renowned tourism destinations with alternative development<br />

initiatives such as alternative energy and agriculture being<br />

operated. The central districts (Amphoe Mueng Nakhon<br />

Ratchasima, Seekew, Soongnern, Nonsoong, Chalermprakeit)<br />

serve as the province’s commercial, investment, governing<br />

and transportation hub. The northern districts (Bua Yai,<br />

Kong) are located in the strategic location that can become<br />

goods transportation and distribution center of the northern<br />

E-San through the logistics development policy. The province’s<br />

northeastern districts such as Pimai, Chumpuang, Mueng<br />

Yang, Lumtamanechai are the home of Thung Samrit, the<br />

province’s fertile and expansive land where high quality<br />

jasmine rice is being grown.<br />

How should the people of Nakhon Ratchasima be prepared<br />

for the future?<br />

It’s very important for us to be prepared and improve<br />

people’s quality of life because the direction of the development<br />

of Nakhon Ratchasima comes with the ability to<br />

adapt ourselves to the borderless community, the free<br />

flow of labor, the growth from the implementation of the<br />

government’s development policies. These things require<br />

every dimension of development of human resource, and<br />

everything needs to be balanced. The strength of social<br />

institutions should be reinforced along with the development<br />

of the quality of education, people’s well being, the<br />

city’s safety and urban regulations whether it’s the prevention<br />

of fire, crime, including disaster prevention and mitigation.<br />

As a result, for the province to progress in the direction<br />

that corresponds and benefits other involved sectors, the<br />

people have to be aware of and learn to protect their own<br />

rights to access details and information about these<br />

ongoing and impending projects. They have to be able to<br />

voice their opinions and demands as well as problems and<br />

difficulties. They need to follow and inspect the progresses<br />

of these projects and the direct and indirect effects these<br />

mega projects have on themselves and the society. This<br />

way, the projects can be initiated and developed in the<br />

right direction, and eventually achieve the set out objectives<br />

that can sustainably benefit the society and the people.<br />

What should the role of architect in this development<br />

be like, in your view?<br />

I expect architects to take part in the social and<br />

community development. Architects are the people who<br />

are able to combine technologies, cultures including the<br />

locals’ wisdoms and demands to create changes and new<br />

creations. They facilitate a continual process that helps<br />

improve people’s quality of life and the way people live.<br />

For such objective to be achieved, we have the grant<br />

community members the power to participate in the<br />

process of urban planning and design. We have to provide<br />

them the knowledge and techniques, encouraging them<br />

to develop their ability in the way they look at things, the<br />

way they visualize the connection between physical<br />

environment in order for the development to take place<br />

in every possible dimension. When the direction of the<br />

development is made tangible, and the standpoint of E-San<br />

and Nakhon Ratchasima is clearly visualized, the important<br />

thing is the formulation of a participative process that<br />

allows the locals to have a chance to design their own<br />

home and city. Modern technologies have to be incorporated<br />

to better facilitate and manage the development of<br />

the society and public utilities, ultimately granting greater<br />

convenience and comfort for the inhabitants of the city.<br />

The role of architects in the community level can<br />

simply begin by the way their design knowledge is applied<br />

to the thought process, using different mediums such as<br />

computerized models or 3D images to create tangible and<br />

systematic examples that can generate better understanding<br />

among the locals. This way, people in the community are<br />

able to visualize the speculated outcomes more easily.<br />

The creative professionals can also help increase the<br />

value of local products through packaging design and<br />

other design knowledge.<br />

What kind of participation or collaboration do you<br />

expect from the Commission of Northeastern Region<br />

(E-San) in the provincial or regional level?<br />

They should take part in providing people a better<br />

understanding about the environmental impacts, which<br />

contribute a great deal to the development of the city.<br />

These impacts caused by these new developments have<br />

to be minimized. For instance, the conservational approach<br />

to the development of the old town districts in Pimai<br />

district and the city of Nakhon Ratchasima needs to be<br />

made more tangible. In the global scale, there is climate<br />

change issue, which is the cause of endless unpredictable<br />

natural disasters such as flood, and that’s one of the<br />

major issues this province has to face. The opinions and<br />

insights from the commission are reflected from the ideas<br />

of the people who are experts in the designing and developing<br />

the physical environment. It’s very important for<br />

those who are involved in the development of the city<br />

take these matters into the discussion, reach the conclusion<br />

and come up with the solution that can be used as an<br />

effective measure in order for Nakhon Ratchasima to be<br />

truly and sustainably developed.<br />

- 20 -<br />

- 21 -<br />

MAR-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

MAR-APRIL 2018 - ISSUE 09


What role should architects take in this development?<br />

Architects are important and have much influence in<br />

the city development. The Association of Siamese Architects<br />

under the royal patronage should present the image<br />

of each neighborhood and use its strength to make the<br />

identity and should pay attention on the architectural<br />

conservation in the same time.<br />

How would you like the Northeast Region of <strong>ASA</strong> to participate<br />

with the province or the region in this development?<br />

The Northeast Region of <strong>ASA</strong> should suggest creative<br />

ideas to the city executive either by researches or any<br />

academic documents, which collaborate with educational<br />

institutes. The ideas should aim on two dimensions. The<br />

first is development in traditional Thai style which means<br />

conserve the remaining value local architecture. The second<br />

is to create something new using the knowledge, innovation,<br />

and technology to adapt the works to be modern standardized<br />

and ready for the competition.<br />

Dr. Somsak Jangtrakul<br />

The governor of Khonkean province<br />

and technology to make our products stand up front in the<br />

market.<br />

Would the governor please describe the overall picture<br />

of northeast region in the future and how it will be<br />

prepared for the massive public transportation system<br />

that is coming?<br />

The massive public transportation system, such as<br />

double-track railways train, high-speed train, and the<br />

Motorway, is an important investment of Thai government.<br />

Those transportations will help this region grow absolutely.<br />

Countries in the Southeast Asia will have the full network<br />

of transportation which will cause big changes in many<br />

parts such as industry, agriculture, education, etc. The<br />

government should give more special supports to industrial<br />

and agricultural sector. There should be a big improvement<br />

to get ready for multiple amounts of investors from both<br />

inside and outside of the country that grow very fast.<br />

Does each main province in the northeast region, such<br />

as Nakornratchasima, Khonkaen, Udonthani, Nongkhai,<br />

have any preparation plans in short and long term?<br />

The geometrical location of Khonkaen is in the center<br />

of the northeast region and it is the junction of the main<br />

transportation route, East-West Corridor. The first thing that<br />

people in the northeast region should do for the preparation<br />

is changing their mindset to go along with the Thailand 4.0<br />

policy. They should change the economic structure from the<br />

old to the new style which do less but earn more. They should<br />

change 4 remain elements and add the innovative knowledge<br />

and creative thinking such as changing the old style<br />

agriculture into the new method which concerns more about<br />

the managing and technology. The SME, who are supported<br />

by the government all the time, should improve to be Smart<br />

Farmers or high potential Start Up. They should change from<br />

the cheap services into Hi Value Service and change the<br />

low skilled labor to be skilled and expert ones.<br />

How the connection with nearby countries, such as Laos,<br />

Cambodia, and Vietnam, will be? And how useful will it<br />

be for the northeast region?<br />

The connection with neighbor countries is going to be<br />

about agricultural commerce. In fact, products from countries<br />

in our neighborhood are similar then we should improve our<br />

products which means we have to add the creative innovation<br />

I expect architects to take part in the<br />

social and community development.<br />

Architects are able to combine<br />

technology, cultures including<br />

the locals’ wisdoms and demands<br />

to create changes and new creations,<br />

which ultimately help improve<br />

people’s quality of life<br />

and the way they live.<br />

How will we develop Khonkaen, which is the “Center City<br />

of Isan”?<br />

Khonkaen must maintain the geometric advantage of<br />

being the center of Isan potentially. We have the certain<br />

direction of city development. We have plans for many<br />

branches of business, such as organizing conferences for<br />

international companies, touring, and exhibitions (Mice City).<br />

We also plan to develop our city to be the Smart City and<br />

Medical Hub. And another important thing is about consuming.<br />

We plan to produce agricultural products with export quality<br />

and we plan to be the center market for the good quality<br />

consuming products in the future. We plan our city to be<br />

comfortable, safe, and clean from drugs and crimes.<br />

How should the public prepare themselves for these<br />

future plans?<br />

People in Khonkaen must be alert and be ready to<br />

learn, be up to date, and adapt their mindset to get along<br />

with the sudden change of the world. The urgent task of<br />

government sector is to enhance the education, the skill,<br />

and the attitude of the public. Anyway, this needs cooperation<br />

from the public to success.<br />

Assistant Professor Surasak Lowanitchai<br />

Chairman of the Commission of E-San Architects<br />

Could you share with us some of your experiences as<br />

the Chairman of the Commission of E-San Architects?<br />

Since I was appointed, I have been working on facilitating<br />

connection between the members and the association<br />

through a wide range of activities, following the<br />

working plan and budget granted by the association. There<br />

are also collaborative activities with other architectural commissions<br />

in other regions, which enable exchange of opinions<br />

and experiences related to the architectural profession.<br />

With the northeastern region’s geographical condition as<br />

this vast plateau and architectural practice isn’t a widely<br />

recognized profession, especially among the general public,<br />

these factors become some of the major obstacles for<br />

the association to initiate activities that can really reach<br />

a larger group of people. One of the approaches we have<br />

been attempting is the formation of the activity center in<br />

the major provinces where a large number of members<br />

are residing in. We want to encourage the members and<br />

architects in the region to take part in the association’s<br />

activities and create the more efficient outcome.<br />

What is the current direction of the Commission of E-San<br />

Architects concerning the way information and updates<br />

within the industry and from the association are communicated<br />

to members and architects in different provinces of<br />

the region?<br />

New technology and social network have been<br />

incorporated because they are far more economical and<br />

they are able to reach a larger number of audiences.<br />

Through this platform, the communication is kind of casual<br />

and members are able to have their questions and inquiries<br />

clearly answered. The social media platform is an additional<br />

complement of the more official version, which comes in<br />

the form of the association’s journal and newsletters. All<br />

and all, everything works together to create a better<br />

understanding about the association’s missions as our<br />

expectation is for the members to understand and participate<br />

in the association’s activities more.<br />

How has the connection between the architects in<br />

Thailand’s northeastern region and architects in ASEAN<br />

countries been like?<br />

As the association’s northeastern chapter, we have<br />

developed a close connection with the association of<br />

architects and engineers of Laos PDR. There have been<br />

several exchange activities in both official and unofficial<br />

level. We have developed a good connection with Vietnam’s<br />

architectural association for future exchanges related to<br />

architectural knowledge and profession. At the moment, the<br />

collaborations between Thailand, Vietnam and Laos PDR<br />

are primarily academic and they take place through<br />

workshops for students and teachers of the three countries’<br />

education institutes with the Association of Siamese<br />

Architects’ granted budget.<br />

What do you want the future of the young generation<br />

E-San architects to be like?<br />

We produce architects that end up working in other<br />

regions instead of our own. You can see the number of<br />

architects graduated from education institutes in the<br />

northeastern region currently working in Bangkok, Chiang<br />

Mai, Songkla, Phuket, Chonburi etc. while the number of<br />

architects from other regions working in E-San is very<br />

limited. This is the issue that the later generations of<br />

architects in this region have to work out. They have to<br />

contribute their knowledge and experiences for the sake<br />

of the profession more. They have to realize that through<br />

these activities, professional standards can be developed<br />

and elevated, and our profession will garner greater<br />

recognition from the society as a result of it. They need to<br />

continue developing the working standard and creating<br />

great architectural creations in the region.<br />

Last question, with the imminent arrival of mega mass<br />

public transport systems in the region, how do you think<br />

these new infrastructures will benefit the architects of<br />

E-San?<br />

What I expect from these mega projects is the economic<br />

expansion in different provinces of the region, and<br />

new commercial opportunities and activities as well as<br />

capitals that they will bring. Certainly, if things happened<br />

the way I had expected them to be, we would be seeing<br />

greater qualitative and quantitative demands for architectural<br />

creations. And while architects would be given higher<br />

fees for their professional services, they would be forced<br />

to adapt and answer to the more specific requirements<br />

including the higher expectations of users and clients.<br />

One of the approaches we have been<br />

attempting is the formation of the<br />

activity center in the major provinces<br />

where a large number of members are<br />

residing in. We want to encourage the<br />

members and architects in the region<br />

to take part in the association’s activities<br />

and create the more efficient outcome.<br />

- 22 -<br />

- 23 -<br />

MAR-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

MAR-APRIL 2018 - ISSUE 09


เรื่อง :<br />

E-SAN<br />

INTERVIEW<br />

DETAIL<br />

เรื่อง :<br />

E-SAN<br />

A talk with E-San Architects<br />

คุยกับสถาปนิกอีสาน<br />

อาจารย์เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี<br />

ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมไทย) พ.ศ.2553<br />

Carnavalet<br />

แลนด์มาร์กใหม่ของโคราช<br />

รศ.ดร.ธิติ เฮงรัศมี<br />

อดีตประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

“บทบาทของสถาปนิกปัจจุบันต้องเตรียมพร้อมและรับรู้ในความเจริญในทุกมิติในยุค 4.0<br />

นี้ซึ่งจะมีระบบขนส่งขนาดใหญ่เข้ามาในภูมิภาค จะทำให้มีการเปลี่ยนแปลงในด้านเศรษฐกิจ<br />

ชุมชนเมือง โดยจะเกิดการกระจายความเจริญของชุมชนเมืองออกเป็นกลุ่มๆ จากศูนย์กลาง<br />

ของเมือง ฉะนั้นต้องเตรียมวางแผนออกแบบชุมชนเมืองตามหลักการโซนนิ่งของผังเมือง เน้น<br />

การขยายสาธารณูปโภคแบบเบ็ดเสร็จในแต่ละชุมชน โดยพิจารณาการจราจรแบบระบบ<br />

ผ่านเมือง (Thru Traffic) ที่สามารถติดต่อเข้าถึงชุมชนต่างๆ ได้สะดวก ตลอดจนกำหนดจุด<br />

กระจายสินค้าแต่ละแห่งตามสภาพ”<br />

“สาเหตุสำคัญของความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยอย่างรวดเร็วในอดีตที่ผ่านมา ประการ<br />

หนึ่งมาจากการสื่อสาร การคมนาคมที่ทันสมัยและรวดเร็ว ระบบการคมนาคมขนส่งที่เชื่อม<br />

โยงระหว่างภูมิภาคต่างๆ มิได้เพียงมาสู่อีสานเท่านั้น แต่เชื่อมโยงไปยังประเทศเพื่อนบ้านใกล้<br />

เคียง เช่น ลาว เวียดนาม เขมร ซึ่งสถาปนิกอีสานมีช่องทาง และโอกาสในการประกอบวิชาชีพ<br />

เพื่อตอบสนองต่อความเจริญก้าวหน้าทางธุรกิจการบริการในภูมิภาคมากขึ้นทั้งยังมีโอกาสที่จะ<br />

ได้เปิดตลาดงานในประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น”<br />

“One of the major causes behind the drastic changes in Thai society in the past<br />

several years is the modern communication and transportation technology. The transportation<br />

system has been developed to connect different regions, not only to E-San<br />

but to the neighbor countries such as Laos, Vietnam and Cambodia. The architects<br />

working in the northeastern region have different ways and opportunities to create<br />

“The role of today’s architects and how architectural professionals need to be prepared<br />

works that resonate with the region’s progressing hospitality services, not to mention the<br />

and aware of every aspect of development in the 4.0 era, especially with the coming of mega<br />

chance to expand the market into the neighbor countries. The practice of architectural<br />

transport infrastructures in the region, which will bring significant change to the local and<br />

profession, therefore, requires a high level of professionalism, in order to attain greater<br />

regional economy and society. He suggests that Thru Traffic system should be put into<br />

recognition and acceptance from the potential clients as well as the general public.”<br />

consideration in order to facilitate the connection between local roadways and local communities<br />

to the new infrastructures whereas goods distribution centers should be carefully<br />

and appropriately located. As for architects, it’s their responsibility to constantly keep up<br />

with changes in the society and develop their knowledge to stay relevant and up to date.”<br />

ธานี คล่องณรงค์<br />

หัวหน้าส่วนอาคารสถานที่ สนักงานอธิการบดี<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี<br />

“ปัจจุบันได้เกิดโครงการ Mega Project ในภูมิภาคอีสาน โดยเฉพาะที่จังหวัดนครราชสีมา<br />

ซึ่งเป็นจุด Hub ที่สำคัญ เช่น โครงการมอเตอร์เวย์ รถไฟความเร็วสูง รถไฟฟ้าทางคู่ ทำให้เกิด<br />

การลงทุนและโครงการก่อสร้างมากมายในจังหวัด ทั้งในส่วนของภาครัฐและเอกชน ซึ่งมีผลต่อ<br />

การย้ายถิ่นฐานของประชากรเข้าสู่เมือง ทำให้เกิดความหนาแน่นของประชากรในเขตเมือง<br />

ซึ่งอาจจะส่งผลต่อปัญหาโครงสร้างพื้นฐานของเมืองที่ตามไม่ทันในอนาคต ทั้งระบบถนน<br />

และการขนส่ง ระบบน้ำประปา ระบบน้ำเสียและขยะ ดังนั้นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

ต้องเข้าใจบริบทสภาพปัจจุบันและอนาคตที่เปลี่ยนแปลงไป และใช้ทักษะด้านวิชาชีพให้เกิด<br />

ประโยชน์ต่อบริบทเหล่านั้น”<br />

“The imminent mega projects in E-SAN region, particularly Nakhon Ratchasima<br />

province, will become the designated transportation hub of double track railway, highspeed<br />

train network and motorway. This new role will bring massive investments and<br />

construction projects by both government and private sector to the province. The new<br />

development will eventually affect the province’s infrastructure such as roadway system,<br />

transport system, fresh water system, wastewater and waste system and for they won’t<br />

be able to accommodate such large scale projects. Architectural practitioners must be<br />

able to understand the current and future contexts and use their professional skills<br />

best benefit these contexts.”<br />

ผศ.ดร.ธราวุฒิ บุญเหลือ<br />

อาจารย์และนักวิจัย ศูนย์วิจัยและพัฒนาสร้างสรร<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์<br />

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<br />

“ในการเรียนการสอนจำเป็นต้องสร้างจุดเด่น นอกจากทำงานได้จริงแล้ว ต้องมีองค์ความ<br />

รู้ต่างๆ ที่สามารถทำงานได้เลย จุดแข็งอีกอย่างที่สำคัญคือความอดทน บัณฑิตจากภาคอีสาน<br />

จะค่อนข้างอดทน ไม่เกี่ยงงาน เจียมเนื้อเจียมตัว ไม่เปลี่ยนงานบ่อยๆ แต่สถาบันก็ต้องแฝงด้วย<br />

จุดแข็งในเรื่องความรู้ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย ซึ่งในยุคปัจจุบันคงหนีไม่พ้น<br />

ในเรื่องของ Building Information Modelling (BIM) จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนงบประมาณ<br />

ไม่ว่าจะฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ โดยต้องมีความร่วมมือสถาบันอบรม BIM ที่เป็นที่ยอมรับ<br />

ระดับนานาชาติเพราะรู้ว่าสิ่งนี้จะเป็นจุดแข็งของบัณฑิตเรา โดยแทรกแบบฝึกหัด เรื่องเหล่านี้<br />

ในหลายๆ วิชา และท้ายสุดไปใช้ในวิชาออกแบบสถาปัตยกรรม รวมถึงวิทยานิพนธ์ในระหว่าง<br />

การเรียน นอกจากนี้ได้จัดให้มีการอบรมเรื่อง BIM โดยผู้เชี่ยวชาญ และได้รับประกาศนียบัตร<br />

โดยสถาบันที่ยอมรับ ทำให้บัณฑิตมีโอกาสได้รับการคัดเลือกไปทำงานในบริษัทชั้นนำของ<br />

ประเทศ ซึ่งเป็นเรื่องยากที่บริษัทชั้นน ำเหล่านั้นจะยอมรับบัณฑิตที่ยังไม่มีประสบการณ์การเลย<br />

เข้าทำงาน แต่เนื่องด้วยจากจุดแข็งตรงนี้ ทำให้บัณฑิตได้มีโอกาสในการคัดเลือก”<br />

“A student needs to develop a strong character, and is able to perform professionally<br />

with enough knowledge to start working as a professional archtiect. Another important<br />

strong point is patience. Students from E-San region are patient, hardworking and humble<br />

individuals. They don’t change job regularly. But education institutes need to develop their<br />

ability to use new, modern technology such as Building Information Modelling (BIM), which<br />

has become inevitable tool in today’s construction industry. Receiving sufficient financial<br />

support is crucial for such skill to be obtained for it’s necessary to have sufficient hardware<br />

and software including the collaboration with internationally standardized BIM training<br />

institutions. This skill will become another strength of our graduates. BIM exercises are<br />

integrated in several subjects before it is put into actual use when the students begin to<br />

study architectural design subject, and with their theses. The university has organized BIM<br />

training with experts invited with certificate being given to those who complete the course.<br />

This gives the graduates an upper hand when they apply for jobs in the country’s leading<br />

companies. It’s difficult for these high profile companies to hire a fresh graduate but with<br />

this skill being the strength, our graduates have more chance of being hired.”<br />

The New Landmark in Korat<br />

“ผมอยากได้อาคารที่ไม่เหมือนใครและไม่เคยมีใครทำ<br />

มาก่อน” นี่เป็นประโยคแรกของเจ้าของโครงการที่บอกกับเรา<br />

โดยเมื่อวิเคราะห์ที่ตั้งโดยรอบของบริบทพบว่าพื้นที่นี้เป็น<br />

ย่านขยายใหม่ของตัวเมืองที่ถูกวางให้เป็นย่านเศรษฐกิจ<br />

ใหม่ ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มอาคารที่พักอาศัย คอนโดมิเนียม<br />

สถานศึกษา ย่านพาณิชยกรรม และร้านค้าที่อยู่บนถนน<br />

City Link กลางเมืองโคราช ทำให้การออกแบบอาคารมี<br />

เป้าหมายที่แสดงตัวตนในการเป็น New Landmark เพื่อ<br />

สร้างความจดจำของผู้คนที่เข้ามาสู่พื้นที่ย่านขยายตัวใหม่นี้<br />

ผ่านตัวสถาปัตยกรรม<br />

การออกแบบมีทิศทางในการเลือกรูปทรงที่เรียบง่ายที่เป็น<br />

สัญลักษณ์ใหม่ต่อผู้คนและเมืองเพื่อให้เกิดความความหมาย<br />

ทั้งเชิงการค้าที่เป็นร้านอาหารที่มีการผสมผสานระหว่าง<br />

อาหารและเครื่องดื่มทั้งจากไทยและไวน์นำเข้าจากต่าง<br />

ประเทศ ดังนั้นรูปทรงจุกค็อกไวน์จึงเป็นตัวที่สื่อสาร ทั้งรูป<br />

ทรงอาคารภายนอกและการออกแบบภายในนั้นเป็นการใช้<br />

พื้นที่ใช้สอยที่สะท้อนถึงการกินอาหารและเครื่องดื่มในรูป<br />

ทรงถังไวน์ โดยลักษณะของการออกแบบพื้นที่ที่โอ่โถงและ<br />

พื้นที่ภายในที่เปิดโล่งเป็น Double Space ถูกซ่อนจากรูป<br />

ทรงอาคารภายนอก<br />

การออกแบบยังเลือกใช้วัสดุหินธรรมชาติที่หาได้ใน<br />

พื้นที่ใกล้เคียง เพื่อให้ตัวอาคารมีความสอดคล้องกับความ<br />

เป็นถิ่นที่ของโคราช โดยการคัดสรรวัสดุและทำการประยุกต์<br />

ใช้ทั้งในส่วนภายนอกอาคารและพื้นที่ภายใน ไม่ว่าจะเป็น<br />

ผนังอุโมงค์ทางเข้าหลัก พื้นที่ต้อนรับ เคาน์เตอร์หินดำ พื้นที่<br />

ไวน์ ห้องเก็บไวน์ แนวผนังโค้งที่เป็นอุโมงค์ทางเข้าห้องน้ำ<br />

ทำให้เกิดความต่อเนื่องกันทั้งรูปทรงภายนอกและที่ว่าง<br />

ภายในที่มีการออกแบบแสงสว่างของอาคารมีความลุ่มลึก<br />

ของการเข้าถึงพื้นที่กินอาหารเครื่องดื่ม และพื้นที่นันทนาการ<br />

ทำให้สร้างบรรยากาศให้กับทั้งผู้คนที่เข้ามาใช้งานในตัว<br />

อาคารและผ่านไปมาได้เป็นอย่างดี นั่นคืออีกความสำเร็จ<br />

หนึ่งของการออกแบบสถาปัตยกรรม เพื่อการสร้างประสบ<br />

การณ์ใหม่ๆ ให้กับเมืองมากกว่าการวางตัวเอง เพื่อเป็น<br />

อาคารสำหรับทำธุรกิจร้านอาหารเพียงเท่านั้น<br />

“I want a new unique building which no one has<br />

ever built before.” That was the words the project owner<br />

told us. After doing site analysis, we found out that the<br />

site locates in new expanded area of the city which is<br />

planned to be the new commercial zone. The surrounding<br />

are residential buildings, condominiums, school,<br />

commercial cluster and some stores on the City Link<br />

road. So it was intended to design a new architectural<br />

landmark to be remarkable for people in the area.<br />

The trend of design is to use simple form to be<br />

symbolic for people and the city. And to reflect the<br />

commercial meaning of a restaurant which serves Thai<br />

food and imported win, the form of the building is<br />

designed to look like a cork of a wine bottle. The interior<br />

design provides the atmosphere of dining inside the<br />

wine barrel with the grand double space hidden inside<br />

the building.<br />

The local natural stones were chosen to relate the<br />

building to local Korat surrounding. Materials are well<br />

chosen for each part of building, such as the façade,<br />

main entrance wall, reception area, wine cellar, and<br />

tunnel to toilets, to continue the feeling from the<br />

outside into the inside. The lighting design for dining<br />

and recreation area makes good ambience for visitors<br />

and people who passing by. This is another success<br />

architecture which creates the new experience for the<br />

city further than just being a building for catering<br />

business.<br />

Carnavalet<br />

ที่ตั้ง: 1714/2 ถ.มานะศิลป์ ต.ในเมือง อ.เมืองนครราชสีมา<br />

จ.นครราชสีมา<br />

ออกแบบ: THstudio Architects<br />

(ศุภชัย ชัยจันทร์ และดวงนภา ศิลปะสาย)<br />

Location: 1714/2 Manasilp road, Nai Muang subdistrict,<br />

Muang district, Nakornratchasima province<br />

Designer: THstudio by Mr.Supachai Chaijan and<br />

Ms.Duangnapa Silapasai<br />

- 24 -<br />

- 25 -<br />

MAR-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09


เรื่อง :<br />

E-SAN<br />

CLASSIC<br />

E-SAN CLASSIC<br />

Exploring the valuable ancient architecture which fully maintains E-San being<br />

สำรวจสถาปัตยกรรมเก่าแก่ทรงคุณค่าที่เชื่อมโยงความเป็นอีสานดั้งเดิมไว้เต็มเปี่ยม<br />

อาคารพิพิธภัณฑ์เมืองอุดรธานีแต่เดิมนั้นเป็นอาคาร<br />

เรียนของโรงเรียนสตรีประจำมณฑลอุดร ซึ่งเป็นโรงเรียน<br />

ที่สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนี<br />

พระพันปีหลวง ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

รัชกาลที่6 ทรงตั้งพระราชหฤทัยที่จะให้เป็นโรงเรียนประจำ<br />

มณฑลอุดร แต่ในปีพุทธศักราช 2462 พระองค์เสด็จ<br />

สวรรคตเสียก่อน การดำเนินงานจึงจำต้องค้างมา<br />

จนเวลาต่อมาพระยาศรีสุริยราชวรานุวัตร (ศุข ดิษย<br />

บุตร) สมุหเทศาภิบาลมณฑลอุดร ผู้สำเร็จราชการมณฑล<br />

อุดร และคุณหญิงน้อม ดิษยบุตร (ศรีสุริยราช) ได้ชักชวน<br />

ข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนชาวเมือง ร่วมบริจาคทรัพย์น้อม<br />

เกล้าน้อมกระหม่อม สร้างอาคารเรียนอุปถัมภ์นารีใหม่เพื่อ<br />

อุทิศถวายแด่พระองค์ท่าน และเมื่อปีพุทธศักราช 2463<br />

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทาน<br />

พระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เพิ่มเติม และพระราชทานนาม<br />

โรงเรียนใหม่ว่า “ราชินูทิศ” และได้ประกอบพิธีฝังรากศิลา<br />

จารึกโรงเรียนขึ้นในปี 2464 โดยตัวอาคารสร้างอยู่บริเวณ<br />

ริมหนองประจักษ์ และเปิดใช้เป็นโรงเรียนสตรีประจำ<br />

มณฑลอุดรตั้งแต่ปี 2468 เป็นต้นมา<br />

หลังจากใช้เป็นโรงเรียนสตรี อาคารนี้ก็ถูกปรับเปลี่ยน<br />

การใช้งานเป็นสำนักงานการศึกษาธิการเขต และปรับมา<br />

Udon Thani City Museum<br />

พิพิธภัณฑ์เมืองอุดรธานี<br />

อาคาร Neo Classic บอกเล่าอดีต เชื่อมโยงถึงปัจจุบัน<br />

เป็นพิพิธภัณฑ์เมืองอุดรธานีในปี 2547 เป็นต้นมา แต่<br />

เนื่องจากเป็นอาคารเก่าแก่ ปัจจุบันอายุกว่า 90 ปี มีสภาพ<br />

ทรุดโทรม เทศบาลนครอุดรธานีในสมัยของนายอิทธิพนธ์<br />

ตรีวัฒนสุวรรณ นายกเทศมนตรี ได้ร่วมกับกรมศิลปากร<br />

จัดให้มีการออกแบบเพื่อบูรณะอาคาร และออกแบบ<br />

นิทรรศการภายในขึ้นใหม่ทั้งหมด โดยใช้เวลากว่า 4 ปี<br />

ตั้งแต่เริ่มวางแผนการบูรณะ และเปิดให้ประชาชนได้เข้า<br />

ชมไปแล้วเมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ.2561 ที่ผ่านมา<br />

อาคารราชินูทิศเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนสองชั้น สร้าง<br />

ด้วยรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกใกล้เคียงกับรูป<br />

แบบที่เรียกว่า Neo-Classic จัดแสดงเรื่องราวต่างๆ เกี่ยว<br />

กับจังหวัดอุดรธานี นับตั้งแต่ประวัติศาสตร์ โบราณคดี<br />

ธรรมชาติวิทยา ธรณีวิทยา ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และ<br />

ศิลปวัฒนธรรม รวมถึงพระประวัติและพระเกียรติคุณของ<br />

กรมหลวงประจักษ์ศิลปาคม ผู้ก่อตั้งเมืองอุดรธานี<br />

ส่วนอาคารโครงสร้างเหล็กด้านข้างอาคารพิพิธภัณฑ์<br />

คืออาคารศูนย์บริการพิพิธภัณฑ์เมืองอุดรธานี สร้างแทน<br />

ตำแหน่งของอาคารวัฒนธรรมจังหวัดอุดรธานีที่มีสภาพ<br />

ชำรุดทรุดโทรม โดยตัวอาคารถูกออกแบบให้มีผนัง 3 ชั้น<br />

ซ้อนกัน (Triple Layer) โดยผนังชั้นในสุดเป็นโครงสร้าง<br />

อิฐก่อ โดยมีอิฐไม้แทรกอยู่เป็นระบบ เพื่อเชื่อมโยงถึง<br />

ระบบโครงสร้างของอาคารพิพิธภัณฑ์ผนังชั้นที่สองเป็นผนัง<br />

กระจกหุ้มอาคารทั้งหมด เพื่อควบคุมระบบปรับอากาศ และ<br />

ผนังชั้นสุดท้ายคือผนังเหล็กฉลุหุ้มตัวอาคารทั้งหมดไว้โดย<br />

แพทเทิร์นของลายฉลุถูกออกแบบจากลายผ้าหมี่ขิด<br />

พระราชทาน เรียกว่า “หมี่ขิดลายสมเด็จ” ซึ่งเป็นลายที่ชุมชน<br />

ผ้าทอมือในจังหวัดอุดรทำถวายสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์<br />

พระบรมราชินีนาถ และทำสีเหล็กฉลุทั้งหมดด้วยสีส ำริดที่สื่อ<br />

ความหมายถึงบ้านเชียงที่อยู่ในยุคสำริด อาคารหลังนี้จึงดู<br />

เหมือนการเปรียบเทียบประวัติศาสตร์ของตัวอาคารระหว่าง<br />

ความเก่าและใหม่ที่ต้องเดินไปคู่กันเสมอ<br />

พื้นที่ด้านหลังอาคารพิพิธภัณฑ์สามารถเชื่อมกับพื้นที่ของ<br />

หนองประจักษ์ ซึ่งเป็นสวนสาธารณะของเมือง ผู้ออกแบบจึง<br />

ปรับให้แนวรั้วด้านหลังอาคาร เป็นพื้นที่ที่สามารถเดินข้าม<br />

ระหว่างพิพิธภัณฑ์กับหนองประจักษ์ได้ ความเชื่อมโยงนี้ท ำให้<br />

พื้นที่สาธารณะทั้งสองส่วนสามารถใช้พื้นที่ร่วมกันและเปิด<br />

โอกาสให้คุณค่าของอาคารเก่าได้แสดง ให้เห็นอิทธิพลของ<br />

ความนิยมในศิลปะและสถาปัตยกรรมแบบตะวันตกที่เฟื่องฟูมาก<br />

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวและร่องรอย<br />

ประวัติศาสตร์ภาคประชาชนที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดอุดรธานี<br />

ภายในนิทรรศการ ซึ่งทั้งหมดคืองานสถาปัตยกรรมร่วมสมัยที่<br />

มีความหมายว่า การสร้างปัจจุบันเพื่อให้อดีตเดินต่อไปได้<br />

อาคารพิพิธภัณฑ์เมืองอุดรธานีในวันนี้<br />

ไม่เพียงทำหน้าที่อนุรักษ์และบอกเล่าอดีต<br />

แต่การออกแบบทางสถาปัตยกรรม<br />

ยังเชื่อมโยงและเปิดกว้าง<br />

ให้ผู้คนในพื้นที่สาธารณะร่วม<br />

มองทั้งอดีตสู่ปัจจุบันไปพร้อมๆ กัน<br />

The Udonthani Museum at first was a building in the<br />

girl school of Udon territory which was first planned to<br />

be built by Her Majesty the Queen Sripatcharin, the<br />

queen of King RAMA VI. But she had died before the<br />

construction finished. Until Phraya SriSuriyaratch<br />

Waranuwat, the governor of the Udon territory, and his<br />

wife asked people to donate some money for funding<br />

to continue the construction. In 2463 BE, King RAMA VI<br />

graciously donated more funding and named the school<br />

“Rajinutis”. There was the foundation stone laying ceremony<br />

in 2464 BE and the school opened in 2468 BE.<br />

After it had been used as the school building, it was<br />

also used as the regional education office and became<br />

the museum of Udonthani since 2004. But because it<br />

was a 90 years old building, so Mr. Itthipol Triwatanasuwan,<br />

the mayor, collaborated with the fine art department<br />

decided to renovate and redesign all of the building. It<br />

took about 4 years and opened for the public on January<br />

18, 2018.<br />

The Rajinutis Building is a 2 storey building, looks<br />

like Neo-Classic style. It exhibits many things about<br />

Udonthani, such as history, archeology, natural science,<br />

geology, local history, culture, and the history of Prince<br />

Prajak Silpakom, the founder of Udonthani province.<br />

The building beside the museum is the service<br />

center of Udonthani Museum. It was built to replace the<br />

culture center of Udonthani which was old and dilapilated.<br />

The service center building is designed to have Triple<br />

Layer Walls. The first layer is masonry wall with some<br />

wooden bricks to relate to the structure of the museum<br />

building. The second layer is glass wall covering all over<br />

the building to control air conditioning system. The last<br />

layer is perforated steel sheet covering the building. The<br />

pattern of the perforating was inspired by the “Mee Khid”<br />

silk pattern called “Mee Khid Lai Somdej” which is the<br />

pattern of hand weaven silk that people in Udonthani<br />

humbly gave to Her Majesty Queen Sirikit. The color of<br />

steel layer is bronze to refer to Ban Chiang Archaeological<br />

Site which was a village in the Bronze Age. This building<br />

is like the metaphor that says the old and the new things<br />

should go along together.<br />

The area in the back of the museum building connects<br />

to Prajak Pond which is the public park of the city. The<br />

architect designed the back fence, between the museum<br />

and Prajak Pond, to connect both areas. It also opens<br />

the view of the valuable old building to the public to<br />

show western architectural influence which was very<br />

popular in the reign of King RAMA VI. The exhibition<br />

inside the museum also shows the history of Udonthani<br />

public. All of these are the meaning of contemporary<br />

architecture which meant to build the presence to<br />

maintain the past.<br />

พิพิธภัณฑ์เมืองอุดรธานี<br />

ที่ตั้ง: ถ.โพศรี อ.เมือง จ.อุดรธานี<br />

เจ้าของโครงการ: เทศบาลนครอุดรธานี<br />

คณะทงาน: บริษัท ซิตี้นีออน ดิสเพลส์ แอนด์<br />

คอนสตรั๊คชั่น (ประเทศไทย) จกัด<br />

ที่ปรึกษาโครงการ: กรมศิลปากร<br />

Udon Thani City Museum<br />

Location: Phosri Road, Mueang District,<br />

Udon Thani<br />

Owner: Udon Thani Municipality<br />

Team: Cityneon Display and Construction<br />

(Thailand) Co., LTD.<br />

Consultant: Fine Art Department<br />

- 26 -<br />

- 27 -<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09


Building 9, Burirum Pittayakom School<br />

The still breathing 70 years old wood building<br />

อาคาร 9 โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม เรือนไม้กว่า 70 ปีที่ยังมีลมหายใจ<br />

โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม เดิมชื่อ “โรงเรียนประจำ<br />

จังหวัดบุรีรัมย์” จัดตั้งเป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัด<br />

กระทรวง ศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2477<br />

เปิดสอนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ตั้งอยู่บริเวณวัดกลาง<br />

จังหวัดบุรีรัมย์ ต่อมาทางราชการแผนกมหาดไทยได้ยก<br />

ศาลากลางจังหวัด (หลังเก่า) ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก<br />

ของวัดกลางเป็นโรงเรียนประจำจังหวัด เมื่อวันที่ 11<br />

กรกฎาคม 2546 ภายหลังโรงเรียนได้รับพิจารณาให้ย้าย<br />

สถานที่ใหม่มาตั้งบริเวณสวนหม่อน (ปัจจุบันเป็น<br />

โรงเรียนเทศบาล 2) และทางราชการได้จัดตั้งเป็น<br />

โรงเรียนสตรีประจำจังหวัดบุรีรัมย์ “ศรีบุรีรัมย์” ในปี พ.ศ.<br />

2481 จนถึงปี พ.ศ. 2483 กระทรวงศึกษาธิการ ได้อนุมัติ<br />

งบประมาณ 20,000 บาท สร้างโรงเรียนขึ้นใหม่บริเวณ<br />

พื้นที่ป่าด้านทิศใต้ของสถานีรถไฟจังหวัดบุรีรัมย์ โดย<br />

สร้างอาคารเรียนเป็นอาคารไม้ 2 ชั้น ตามแบบของ<br />

กระทรวงศึกษาธิการ หลังจากสร้างอาคารเสร็จ ในวัน<br />

ชาติที่ 24 มิถุนายน 2485 โรงเรียนจึงได้ย้ายจากพื้นที่<br />

เดิม (ปัจจุบันเป็นโรงเรียนเทศบาล 2) มาอยู่ในพื้นที่<br />

โรงเรียนใหม่แห่งนี้ (สถานที่ตั้งโรงเรียนในปัจจุบัน) ต่อ<br />

มาในปี พ.ศ. 2491 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น โรงเรียน<br />

“บุรีรัมย์วิทยาลัย” หลังจากนั้น ในปี พ.ศ. 2515 ได้<br />

เปลี่ยนเป็นโรงเรียนแบบสหศึกษาและเปลี่ยนชื่อเป็น<br />

“โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา<br />

อาคารเรียนไม้2 ชั้น ซึ่งเป็นอาคารหลังแรกของโรงเรียน<br />

มีชื่อว่า “เกียรติยศศักดิ์ศรี บุรีรัมย์พิทยาคม” หรือเรียกอีก<br />

อย่างหนึ่งว่า อาคาร 9 ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ ด้านหน้าทางเข้า<br />

โรงเรียน ลักษณะของอาคารเป็นอาคารไม้สองชั้น หันหน้า<br />

ไปทางทิศเหนือ ตั้งบนฐานราก ก่อด้วยซีเมนต์ด้านหน้าตาม<br />

แบบของกระทรวงศึกษาธิการ ยาว 54 เมตร กว้าง 8 เมตร<br />

ด้านหน้าตรงกลางมีมุขยื่นออกมาจากอาคาคารยาว 5 เมตร<br />

กว้าง 11 เมตร มีห้องเรียน 12 ห้องเรียน หน้าต่างอาคาร<br />

เป็นแบบบานเปิดคู่มีลักษณะพิเศษคือลูกฟักหน้าต่าง<br />

สามารถเปิดออกได้<br />

ปัจจุบันอาคารหลังนี้ใช้เป็นอาคารเรียน ชั้นล่างเป็น<br />

ห้องพักครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มี<br />

ห้องเกียรติยศเพื่อเก็บผลงาน รวบรวมประวัติต่างๆ ของ<br />

โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคมไว้<br />

Burirum Pitayakom School, once was The School<br />

of Burirum Province, opened on May 1, 2477BE. The<br />

school had located at Wat Klang in Burirum province<br />

and then moved to the old city hall. On July11,<br />

2546BE., the school was moved to the new location<br />

in Suan Mon where now is the Municipality School 2.<br />

It was arranged to be a girl school “Sri Burirum” in<br />

2481BE. Until in 2483BE the ministry of education<br />

approved 20,000 Baht fund to rebuild the new school<br />

building in the wood, south of Burirum train station.<br />

The school moved to the present location and its<br />

name was changed to be “Brurirum Witayalai” in<br />

2515BE and then changed to be “Burirum Pittayakom”<br />

since then.<br />

The wooden two storey building is the first building<br />

of the school. It was named “Kiettiyos Saksri Burirum<br />

Pittayakom” or Building 9. It stands in the north, in<br />

the front of school. It is a wooden building on concrete<br />

foundations with a corridor in the front. It is 54 M.<br />

long and 8 M. wide. There are 12 classrooms. Each window<br />

panel can be opened even when the window closes.<br />

Nowadays it is still a school building with teacher’s<br />

room on the lower floor. There’s also the school hall<br />

of fame where stores history of the school.<br />

อาคารเรียนไม้สองชั้นที่มีอายุกว่า 78 ปี<br />

ที่สร้างในงบประมาณ 20,000 บาท<br />

ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปะ<br />

สถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2556<br />

อาคาร 9 โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม<br />

15 ถ.นิวาศ ต.ในเมือง อ.เมืองบุรีรัมย์ จ.บุรีรัมย์<br />

Building 9, Burirum Pittayakom School<br />

15 Niwas road, Nai Muang subdistrice, Muang<br />

district, Burirum provimce<br />

E-San Water Tank Tomb<br />

The useful monuments of the death<br />

ธาตุถังน้ำอีสาน<br />

อนุสาวรีย์ความตายสามัญชนสมประโยชน์<br />

ธาตุปูนถังน้ำเป็นผลผลิตสร้างจากการผสานแนวคิดในเรื่องคติความเชื่อ งานช่างหลังค<br />

วามตายในจารีตการสร้างธาตุที่คนเป็นสร้างให้ผู้วายชนม์ผนวกกับสภาพแห่งข้อจำกัดเรื่อง<br />

ปริมาณน้ำในพื้นที่ ซึ่งน่าจะเป็นตัวแปรสำคัญอย่างหนึ่งที่ก่อเกิดนวัตกรรมงานช่างที่มี<br />

ประโยชน์ใช้สอยใหม่ที่ลงตัว ซึ่งสัมพันธ์ไปกับบริบททางสังคมด้านการพัฒนาการในช่วงที่มี<br />

การปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีด้านวัสดุและการก่อสร้าง ที่ซึ่งวัสดุประเภทปูนได้เข้ามามีบทบาท<br />

แทนงานไม้ และแน่นอนว่าช่วงเวลาดังกล่าวช่างญวนได้เข้ามามีบทบาทสำคัญยิ่งในพื้นที่<br />

เมืองอีสาน สอดรับกับข้อจำกัดการพัฒนาบ้านเมืองในด้านต่างๆ โดยเฉพาะเรื่องน้ำ ซึ่งเป็น<br />

ปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตในทุกมิติ ซึ่งส่วนใหญ่ผลิตสร้างอยู่ตามพื้นที่สาธารณ์<br />

ทางจิตวิญญาณ ที่อยู่ในพื้นที่ศูนย์กลางของชุมชนอย่างวัด<br />

คติความเชื่อที่สะท้อนตัวตนของชาวอีสาน<br />

ผ่านงานออกแบบได้อย่างมีเอกลักษณ์<br />

ดังนั้น คติการทำธาตุปูนถังน้ำเท่าที่เหลือให้ศึกษาทั้งจากภาพถ่ายเอกสารอ้างอิง และสิ่ง<br />

ปลูกสร้างจริงที่พอสืบเสาะหาได้อาจสรุปในเบื้องต้นนี้ได้ว่า เป็นรสนิยมเฉพาะของคนท้อง<br />

ถิ่นที่ผสานส่งต่อให้กับกลุ่มสายสกุลช่างญวนในแถบเมืองกาฬสินธุ์ที่ได้สร้างสรรค์จนกลาย<br />

มาเป็นอีกเอกลักษณ์หนึ่งของลักษณะธาตุสามัญชน ดังที่ได้นำเสนอไว้ในเนื้อหา หรือจะเป็น<br />

แบบที่ใช้โอ่งน้ำขนาดใหญ่ประกอบสร้างร่วมกับธาตุปูนของผู้วายชนม์ซึ่งทั้งหมดเป็นคติการ<br />

สร้างธาตุในระดับชาวบ้านที่น่าสนใจ สะท้อนการผสานเชื่อมส่งต่อเป็นพลังชีวิตระหว่างโลก<br />

ของคนเป็นและคนตาย เช่นการแก้ปัญหาเรื่องของปากท้องอย่างปัจจัยเรื่องน้ำในการดำรง<br />

ชีพ ร่วมกับคติความเชื่อหลังความตาย ก่อเกิดเป็นรสนิยมความชอบในเชิงช่างเฉพาะถิ่นที่มี<br />

เอกลักษณ์เฉพาะตนในห้วงเวลาหนึ่งๆ แห่งอดีตสมัยไทยอีสานบ้านเฮา<br />

* ผู้เขียน ดร.ติ ๊ก แสนบุญ คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

อุบลราชธานี<br />

The water tank tombs were created from the combination between the belief and<br />

craftsmanship. The tradition of building a tomb for the dead added with the lack of<br />

water in the area might be the main factors for creating the new useful innovation. At<br />

that time Vietnamese craftsmen influenced the construction industry in E-San area<br />

and it was also the time of the change about materials, from wood to concrete. With<br />

all those reasons, the water tank tombs were built to satisfy traditional beliefs, the<br />

need of water in the area, and most of them were built in public space like in temples<br />

to serve the community.<br />

The conclusion from studying photographs, some documents and the remaining<br />

tombs can tell us that the water tank tombs were built from specific local need combined<br />

with the knowledge of ancient Vietnamese craftsmen in Kalasin province. Some<br />

of these architectures are big water urns attached with the tomb of the dead which<br />

all are very interesting local ideas. This can also reflect the local belief about the<br />

connection between the worlds of the living and the dead. To serve the need of water<br />

for the living and the belief of life after death caused the unique local trend of architecture<br />

in our homeland, E-San.<br />

The author : Dr. Tik Sanboon, The faculty of applied art and architecture, Ubol ratchathani<br />

University.<br />

- 28 -<br />

- 29 -<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09


เรื่อง :<br />

E-SAN<br />

TRAVEL<br />

Back to Origin<br />

เที่ยวไปในตัวตน<br />

ว่ากันว่าการรู้จักตัวตนที่ดีที่สุดคือการย้อนกลับไปทำความรู้จักถึงแหล่งกำเนิด ฉบับนี้เรา<br />

จะพาคุณไปเที่ยวภาคอีสานในอีกแง่มุม ผ่านการเรียนรู้วิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่นในชุมชน<br />

ยวนสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา และศูนย์วัฒนธรรมไทย-จีน ศูนย์รวมจิตใจของชาวไทยเชื้อสาย<br />

จีนในจังหวัดอุดรธานี<br />

It is said the best way to know yourself is to go back to learn from the origin. <strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong><br />

will take you to visit Isan region (the northeast region) through a different point of view. You will<br />

learn about life style and culture of people in Yuan Sikhio community in Nakorn Ratchasima<br />

province and take a visit at Thai – Chinese culture center in Udonthani province.<br />

วัดของชาวยวนสีคิ้วมีลักษณะโดยรวมคล้ายคลึงกับวัด<br />

ในภาคอีสานทั่วไป โบสถ์รุ่นเก่าแก่ที่สุดที่ปรากฏในชุมชนถูก<br />

ก่อสร้างอย่างเรียบง่ายด้วยงานช่างฝีมือท้องถิ่นผสมผสานกับ<br />

วัฒนธรรมที่หลากหลาย บางแห่งมีการประดับตกแต่งอย่าง<br />

ประณีต บางแห่งยังปรากฏพระธาตุทรงบัวเหลี่ยมแบบอีสาน<br />

และพบคติการบูชารอยพระพุทธบาทและประเพณีการตักบาตร<br />

ด้วยดอกไม้ในวันเข้าพรรษา ซึ่งเกี่ยวพันกับประเพณีของเมือง<br />

สระบุรี นอกจากนี้ยังปรากฏร่องรอยความเชื่อดั้งเดิมเกี่ยวกับ<br />

สิ่งลึกลับเหนือธรรมชาติแทรกตัวอยู่ในชุมชนวัฒนธรรมแห่งนี้<br />

อย่างแนบแน่น<br />

ชุมชนยวนสีคิ้วจึงเป็นตัวอย่างหนึ่งของชุมชนชาติพันธุ์<br />

ในความเป็นพหุสังคมของภาคอีสาน นอกเหนือจากการเรียน<br />

รู้ผ่านงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและสิ่งแวดล้อมสรรสร้างใน<br />

ชุมชนแล้ว การสัมผัสวิถีชีวิตของผู้คนในท้องถิ่นที่สื่อสารกัน<br />

ด้วยภาษาไทยถิ่นเหนือ แต่งกายด้วยผ้าทอพื้นเมือง และ<br />

สืบทอดประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมภายใต้ความผสมผสาน<br />

ระหว่างวัฒนธรรมภาคอีสานและภาคกลางยังเป็นองค์ประกอบ<br />

สำคัญที่จะช่วยสร้างความประทับใจและประสบการณ์ที่ดีให้<br />

แก่นักเดินทางผู้มาเยี่ยมเยือนชุมชนแห่งนี้<br />

When Yuan people migrated into the area, they brought<br />

Yuan-Sikhio Community<br />

ชุมชนยวนสีคิ้ว : ร่องรอยล้านนาในแดนโคราช<br />

ชุมชนยวนสีคิ้วเป็นชุมชนของประชากรกลุ่มชาติพันธุ์ไต<br />

ยวน ซึ่งตั้งอยู่ในเขตอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา บรรพ<br />

ชนของคนกลุ่มนี้สืบเชื้อสายมาจากชาวยวนเมืองเชียงแสน<br />

(ในเขตจังหวัดเชียงราย) ซึ่งย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณ<br />

ลุ่มน้ำลำตะคอง เขตอำเภอสีคิ้ว ในสมัยรัชกาลที่2 แห่งกรุง<br />

รัตนโกสินทร์ ชุมชนแห่งนี้จึงมีวัฒนธรรมบางประการที่แตก<br />

ต่างจากสังคมแวดล้อมในภาคอีสาน รวมถึงปรากฏร่องรอย<br />

ทางสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อมสรรสร้างที่โดดเด่น แม้ว่า<br />

จะดำรงอยู่ร่วมกันกับผู้คนในพื้นที่ชายขอบระหว่างภาคกลาง<br />

และภาคอีสานมายาวนานร่วม 200 ปี ในฐานะชุมชน “หน้า<br />

ด่าน” และ “ทางผ่าน”<br />

แต่เดิมพื้นที่บริเวณอำเภอสีคิ้วถือเป็นเขตชายป่าดง<br />

พญาไฟที่ทุรกันดาร และมีภูมิประเทศเป็นที่ลาดเชิงเขาจึงไม่<br />

เอื้อต่อการตั้งถิ่นฐานเป็นชุมชนเกษตรกรรมมากนักเมื่อชาว<br />

ยวนเข้ามาบุกเบิกที่ท ำกินในบริเวณนี้ได้นำภูมิปัญญาเหมือง<br />

ฝายและระหัดวิดน้ำเข้ามาพัฒนาเครือข่ายชลประทาน และ<br />

ขยายพื้นที่เพาะปลูกให้กว้างขวางมากขึ้น จนสามารถตั้ง<br />

ถิ่นฐานเป็นชุมชนเกษตรกรรมขนาดใหญ่ได้ ในปัจจุบันยัง<br />

ปรากฏร่องรอยเหมืองฝายโบราณหลายแห่ง ซึ่งมีคุณลักษณะ<br />

ที่สัมพันธ์กับภูมิปัญญาเหมืองฝายของล้านนา รวมถึงพบ<br />

การใช้ระหัดวิดน้ำอย่างแพร่หลายในบริเวณนี้<br />

ที่สำคัญคือลุ่มน้ำลำตะคองในเขตอำเภอสีคิ้ว เป็นพื้นที่<br />

ที่มีระหัดวิดน้ำปรากฏอยู่มากที่สุดในประเทศไทย ความ<br />

ชัดเจนของสิ่งแวดล้อมสรรสร้างทางการเกษตรเหล่านี้ชวนให้<br />

จินตนาการไปถึงระบบการทำนาทดน้ำสมัยโบราณของกลุ่ม<br />

คนผู้พูดภาษาตระกูลไทในเขตภูมิลักษณ์ภูเขาบริเวณตอน<br />

บนของภาคพื้นทวีปอุษาคเนย์<br />

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในชุมชนยวนสีคิ้วมีเรือนพักอาศัย<br />

ที่ปลูกสร้างตามแบบแผนวัฒนธรรมล้านนา ลักษณะเป็น<br />

“เรือนสองหลังร่วมพื้น” หรือ “เรือนสามหลังร่วมพื้น” วางตัว<br />

เรือนขวางตะวันเป็นเอกลักษณ์ แต่มีความผสมผสานกับ<br />

วัฒนธรรมภาคกลางและท้องถิ่นโคราช จนเกิดเป็นเรือนไต<br />

ยวนที่มีลักษณะโดดเด่น ปัจจุบันยังสามารถพบเห็นเรือนยวน<br />

สีคิ้วแทรกตัวอยู่ในเขตเทศบาลเมืองและหมู่บ้านชนบทต่างๆ<br />

โดยในพื้นที่ชนบทจะปรากฏเรือนเหล่านี้อยู่ท่ามกลาง<br />

บรรยากาศของชุมชนเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม ในสมัยหลัง<br />

ชาวยวนสีคิ้วได้นิยมปลูกสร้างบ้านเรือนโดยวางอาคารตาม<br />

แนวตะวัน เพื่อให้สอดคล้องกับคติความเชื่อของคนกลุ่มใหญ่<br />

ในภาคอีสาน แต่ยังคงลักษณะสำคัญบางประการของเรือน<br />

แบบแผนล้านนาเอาไว้ แสดงให้เห็นถึงการปรับตัวเข้ากับ<br />

สังคมใหญ่อย่างยืดหยุ่นของชาวยวนสีคิ้วที่ดำเนินไปควบคู่<br />

กับการธำรงความเป็นตัวตนทางชาติพันธุ์<br />

the knowledge about mining, norias and dams to develop the<br />

irrigation system and expanded area for agriculture. There<br />

are still some wrecks of ancient dams which relate to the<br />

Laan Na dams. Many norias are found in the area as well.<br />

There are most norias along the Lum Takong River<br />

in Sikhio district. These irrigation environments remind<br />

us about the ancient rice farming system of Tai Group<br />

people who lived on the mountains in the northern part<br />

of Southeast Asia<br />

Yuan Sikhio community has its own local architecture<br />

which is residential buildings built in Laan Na style.<br />

Its outstanding character is the cluster of 2-3 houses<br />

connected on the same deck. The house is located<br />

perpendicular to the path of the sun (East-West axis).<br />

But there are some mixtures that blend them with central<br />

region culture and local Korat culture. Nowadays, we<br />

still can see some of these Yuan houses in the Town<br />

Municipality area and in some far villages. Later Yuan<br />

people usually locate their houses along the path of<br />

the sun to follow beliefs of most northeastern people<br />

but their houses still have the unique character of Laan<br />

Na dwellers. This shows that Yuan Sikhio people adapt<br />

themselves into the major society but still maintain their<br />

original identity.<br />

Temples in Yuan Sikhio community are alike other<br />

temples in the northeast region of Thailand. The oldest<br />

temple was built by local craftsmen with mixture of<br />

various cultures. There are some square based pagodas<br />

in Isan style as well. There are some traces of ancient<br />

traditions about showing respect to the Buddha’s foot<br />

print and tradition of giving flowers to monks on Khao<br />

Pansa Day the same as Saraburi’s tradition. And there are<br />

traces of paranormal beliefs in this community as well.<br />

Yuan Sikhio community is one ethnic community<br />

of northeastern people. Visitors will learn not only Yuan’s<br />

local architecture and creative environment, but they<br />

will also experience the local life style with local clothes,<br />

language, and some ancient traditions referring the<br />

combination between central and northeastern cultures<br />

when they come visit this interesting community.<br />

The Yuan-Sikhio Community is the neighborhood<br />

of Tai Yuan ethnic. It locates in Sikhio district, Nakorn<br />

Ratchasima province (Korat). Their ancestors derived<br />

from Yaun people of Chiang San (in Chiang Rai province)<br />

who migrated into Lum Takong Basin in Sikhio district<br />

in the reign of King Rama II.<br />

The Yuan-Sikhio Community is the neighborhood<br />

of Tai Yuan ethnic. It locates in Sikhio district, Nakorn<br />

Ratchasima province (Korat). Their ancestors derived<br />

from Yaun people of Chiang San (in Chiang Rai province)<br />

who migrated into Lum Takong Basin in Sikhio district<br />

in the reign of King Rama II. This community has some<br />

different culture from other northeastern people. They<br />

also have unique architecture and environment. Even<br />

though Yuan community has remained in the border<br />

land between the central region and the northeast region<br />

for over 200 years as a gateway, but it still can maintain<br />

its identity including with adaptation to be a part of<br />

Korat society.<br />

Sikhio district in the past was at the edge of Dong<br />

Phaya Fai forest. It was on the foot of the hill where<br />

was not proper for agricultural community.<br />

- 30 -<br />

- 31 -<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09


ศูนย์วัฒนธรรมไทย-จีน อุดรธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้<br />

เป็นจุดศูนย์รวมอนุรักษ์ศิลปะวัฒนธรรม วิถีชีวิตบรรพชนและ<br />

หลักปรัชญาของชาวไทยเชื้อสายจีนในจังหวัดอุดรธานีเริ่มมี<br />

แนวคิดการจัดสร้างในสมัยคณะกรรมการศาลเจ้าปู่-ย่าสมัยที่<br />

58 จึงได้เริ่มรวบรวมก ำลังทรัพย์จากผู้มีจิตศรัทธาเพื่อซื้อที่ดิน<br />

บริเวณด้านหน้าทางเข้าศาลเจ้า ซึ่งเป็นโรงน้ำแข็งเก่า ทำการ<br />

ออกแบบก่อสร้างและทำพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่4 สิงหาคม<br />

2552 และทำพิธีเปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่6 มกราคม<br />

2556 โดยมี ร้อยเอกหญิง ดร.พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า<br />

พัชรกิติยาภา ทรงเสด็จฯ เป็นองค์ประธานทั้ง 2 ครั้ง<br />

Thai - Chinese Cultures<br />

in Udon Thani<br />

ศูนย์วัฒนธรรมไทย-จีน อุดรธานี ลอดลายมังกรที่อุดรธานี<br />

อาคารพิพิธภัณฑ์คุณธรรม ภายในอาคารพิพิธภัณฑ์<br />

แบ่งออกเป็น 2 ส่วน ชั้นบนประกอบไปด้วย เรื่องเล่าชาวอุดร<br />

จะบอกเล่าเรื่องราวของชาวจีนตั้งแต่กลุ่มแรกที่ได้เข้ามาและ<br />

ส่วนศรัทธา บารมีศาลเจ้าปู่-ย่า จะบอกเล่าเรื่องราวของความ<br />

เป็นมาของศาลเจ้าปู่-ย่า อุดรธานีซึ่งเป็นที่ศรัทธานับถือและ<br />

เป็นที่พึ่งทางใจแก่ประชาชนทั่วไป ชั้นล่าง (ชั้นใต้ดิน)จะเป็น<br />

ส่วนตามรอยขงจื่อ ซึ่งจะรวบรวมเรื่องราวของนักปราชญ์ขงจื่อ<br />

ซึ่ง ได้รับการยอมรับจากทั่วโลกว่าเป็นผู้ที่มีความรู้ความ<br />

สามารถหลากหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการปกครอง<br />

คุณธรรม จริยธรรม ความกตัญญู เมตตาธรรม รวมถึงความ<br />

สามารถด้านดนตรี<br />

อาคารการเรียนรู้ อาคารนี้จะจัดแสดงความรู้เกี่ยวกับ<br />

ศิลปะ วัฒนธรรมและภาษา<br />

หอประชุมปรีชา ชัยรัตน์ เป็นพื้นที่ส ำหรับทำกิจกรรม<br />

ต่างๆ ของมูลนิธิ องค์กรภาครัฐและเอกชน เพื่อประกอบ<br />

กิจกรรมอันเกิดประโยชน์แก่ประชาชนทั่วไป<br />

สวนคุณธรรมพันปี 24 กตัญญู เป็นพื้นที่จัดสวนรูปแบบ<br />

สวนจีน พร้อมจัดแสดงคำสอนและการเดินทางของขงจื่อ<br />

ถ่ายทอดเรื่องราวออกมาในรูปแบบของภาพแกะสลักหินนูนต่ ำ<br />

และการปั้นรูปเหมือน<br />

Temples in Yuan Sikhio community are alike other<br />

temples in the northeast region of Thailand. The oldest temple<br />

Visitors will learn not only Yuan’s local architecture and<br />

creative environment, but they will also experience the<br />

local lifestyle northeastern people but their houses still<br />

have the unique character of Laan Na dwellers. This<br />

shows that Yuan Sikhio people adapt themselves into<br />

the major society but still maintain their original identity.<br />

Temples in Yuan Sikhio community are alike other temples<br />

in the northeast region of Thailand.<br />

Temples in Yuan Sikhio community are alike<br />

other temples in the northeast region of Thailand.<br />

Yuan Sikhio community is one ethnic community<br />

of northeastern people. Visitors will learn not only Yuan’s<br />

local architecture and creative environment, but they<br />

will also experience the local life style with local clothes.<br />

Community is one ethnic community of northeastern<br />

people. Visitors will learn not only Yuan’s local architecture<br />

and creative environment, but they will also experience<br />

the local life style with local clothes.<br />

ภายในโครงการประกอบไปด้วยส่วนหลักๆ คือ อาคาร<br />

เฉลิมพระเกียรติพระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าพัชรกิติยาภา<br />

ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณนี้ ทางมูลนิธิศาลเจ้าปู่-ย่า<br />

อุดรธานีจึงได้สร้างอาคารเฉลิมพระเกียรติขึ้นเพื่อเก็บรวบรวม<br />

ข้อมูลส่วนพระองค์และพระราชกรณียกิจในขณะที่ทรงดำรง<br />

ตำแหน่งอัยการศาลจังหวัดอุดรธานี<br />

หากคุณมีเวลาวันเดย์ทริปลองแวะมาเรียนรู้และท ำความ<br />

รู้จักรากเหง้าของชาวอุดรธานีให้มากยิ่งขึ้นผ่านศูนย์วัฒนธรรม<br />

ไทย-จีน อุดรธานีแห่งนี้<br />

* ศูนย์วัฒนธรรมไทย-จีน อุดรธานี 889 ถ.39 ศาลเจ้าเนรมิต<br />

ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี โทร. 0-4224-2444, 0-4224-2333<br />

The oldest temple was built by local craftsmen with<br />

mixture of various cultures. There are some square based<br />

pagodas in Isan style as well. There are some traces of<br />

ancient traditions about showing respect to the Buddha’s<br />

foot print and tradition of giving flowers to monks on Khao<br />

Pansa Day the same as Saraburi’s tradition. And there are<br />

traces of paranormal beliefs in this community as well.<br />

When Yuan people migrated into the area, they brought<br />

the knowledge about mining, norias and dams to develop the<br />

irrigation system and expanded area for agriculture.<br />

* Thai - Chinese Cultures in Udon Thani 889 39 Road,<br />

San Jao Neramit, Makkang Sub- District, Muang District<br />

Tel. 0-4224-2444, 0-4224-2333<br />

- 32 -<br />

- 33 -<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09


เรื่อง :<br />

E-SAN<br />

CUISINE<br />

Exploring<br />

the taste of Isan today<br />

สำรวจรสชาติของอีสานในวันนี้<br />

TH Gallery & Caffé<br />

Cuisine ฉบับนี้จะพาคุณไปลิ้มลอง 2 รส ในร้านน่านั่งที่ตั้งอยู่ในสองจังหวัดใหญ่ของ<br />

อีสาน นอกจากจะได้สัมผัสรสแรก คือรสชาติของอาหารที่เปลี่ยนไปตามกระแสและวัฒนธรรม<br />

ยังจะได้รับรสที่สอง คือ รสสัมผัสทางสายตา ที่มาพร้อมกับการออกแบบเชิงสถาปัตยกรรม<br />

ที่เปี่ยมด้วยแรงบันดาลใจ<br />

The Cuisine column in this issue will take you to taste 2 different style restaurants<br />

which locate in 2 main provinces of the northeast region of Thailand. Other than the<br />

taste of food which has been changed by the trend and culture, you will also appreciate<br />

the taste of the architectural design which is full of inspiration.<br />

Dose Factory<br />

ร้านอาหาร โดส แฟคตอรี่ เป็นสาขาที่สองของ โดส<br />

เอสเปรสโซ่ (ประเทศไทย) ที่ จ.อุดรธานี แนวคิดของโดส<br />

แฟคตอรี่มาจากสถานที่ก่อสร้างที่เป็นโกดังประกอบรถ<br />

สามล้อเครื่องเก่า จึงต้องการเก็บบรรยากาศและกลิ่นอาย<br />

ของความเป็นอุตสาหกรรมเดิมไว้ จึงออกแบบให้ใช้<br />

โครงสร้างเดิมและเผยให้เห็นโครงสร้างเดิมทั้งหมดด้วย<br />

ฟังก์ชั่นที่ถูกแบ่งออกเป็นส่วนทานอาหารประมาณ 40<br />

เปอร์เซ็นต์ที่เหลือเป็นส่วนของครัว ห้องน้ำ ห้องเก็บของ ห้อง<br />

เวิร์กช็อป และโรงคั่วกาแฟเล็กๆ อยู่ภายใน<br />

TH Gallery & Cafe’ ตั้งอยู่ในซอยกิ่งสวายเรียงซึ่งอยู ่<br />

หลังโรงพยาบาลโคราชเมมโมเรียล แกลเลอรี่& คาเฟ่นี้แสดง<br />

ผลงานออกแบบสถาปัตยกรรม ผลงานศิลปะ และรองรับการ<br />

เป็นสภากาแฟ ซึ่งมีแนวทางการออกแบบสร้างสรรค์ภายใต้<br />

รูปแบบไทยร่วมสมัยที่มีความเป็นไทยและมีความทันสมัย<br />

ด้วยการนำลักษณะไทยอย่างความโปร่งโล่ง การวางผัง<br />

อาคารสอดคล้องกับสภาพของบริเวณทิศที่ตั้งอาคารลักษณะ<br />

ไทยถูกนำมาปรับใช้ในการออกแบบด้วยไวยากรณ์แบบ<br />

สถาปัตยกรรมสมัยใหม่ผ่านรูปทรงเรขาคณิต วัสดุพื้นฐานที่<br />

หาได้ทั่วไปในพื้นที่ชุมชน ยกตัวอย่างเช่น ประตูไม้เดิม<br />

หน้าต่างไม้เดิม บล็อกลม ผนัง หลังคา และผนังใช้กระเบื้อง<br />

แป้นเกล็ดที่ผสมผสานกันระหว่างวัสดุธรรมชาติและวัสดุ<br />

ก่อสร้างในระบบอุตสาหกรรม นอกจากนี้อาคารได้รับการ<br />

ผสานความเป็นไทยในมิติความโปร่ง แทรกธรรมชาติเข้าไว้<br />

ในสถาปัตยกรรมด้วยการเก็บรักษาต้นไม้เดิมเอาไว้ในผืน<br />

ดินที่ตั้ง<br />

เจ้าของต้องการให้ โดส แฟคตอรี่ เป็นเหมือนโรงงาน<br />

สร้างแรงบันดาลใจให้กับคนทุกกลุ่ม ทั้งคนที่ต้องการเรียน<br />

รู้เรื่องกาแฟ อาหารเพื่อสุขภาพ และคนที่สนใจเรื่องศิลปะ<br />

และการออกแบบ ก็สามารถเข้ามาศึกษากระบวนการ<br />

ออกแบบจากตัวอาคารนี้ได้<br />

TH Gallery & Caffé locates in Soi Ging Swairiang behind<br />

Korat Memorial Hospital. This café exhibits architectural<br />

design and art works. It is accepted as a coffee club<br />

which is designed in Thai contemporary style. Its design<br />

applied Thai style open space and Thai building axis<br />

Dose Factory is the second branch of Dose<br />

Espresso (Thailand) in Udonthani province. The concept<br />

of Dose Factory came from its construction site which<br />

used to be an old motor tricycle assembly factory.<br />

In order to keep the industrial ambience of the old<br />

factory, it was designed to use and show the remaining<br />

structure. Only 40% of the interior space is arranged to<br />

be dining area when the rest is for kitchen, toilets,<br />

storage, workshop space, and a coffee roasting room.<br />

The owner wanted Dose Factory to be like the<br />

inspiration factory for everyone. Either people who like<br />

coffee and healthy food or ones who are interested in<br />

art and design can come to study the design process<br />

from this building.<br />

Dose Factory<br />

112/1 ถ.นเรศวร ต.หมากแข้ง อ.เมือง จ.อุดรธานี<br />

โทร. 09-8661-4642<br />

112/1 Naresuan road, Mak Khang subdistrict, Muang<br />

district, Udonthani province, 09-8661-4642<br />

theory within the modern geometric form. The basic<br />

materials are available in local neighborhood such as<br />

old wooden doors, old wooden windows, and ventilation<br />

blocks. Materials for walls and roof are fiber cement<br />

shingles which are the combination of natural and industrial<br />

raw materials. The design of building also expresses Thai<br />

traditional open space and the nature by keeping the<br />

remaining primary trees in the site.<br />

TH Gallery & Caffé<br />

76/2 ซอยกิ่งสวายเรียง 2 ตรอกจันทร์ อ.เมือง จ.นครราชสีมา<br />

โทร. 08-6515-5199<br />

76/2 Soi Ging Swairiang2, Trok Jan, Muang district,<br />

Nakornratchasima province, 08-6515-5199<br />

- 34 -<br />

- 35 -<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09


FILM<br />

เรื่อง : ณฤทัย เรียงเครือ<br />

(see CONTRIBUTORS PAGE)<br />

C4<br />

เว็บเดียวครบ จบเรื ่องบ้านและงานออกแบบ<br />

www.asa.or.th<br />

Villains We Love to Hate<br />

รักเพราะร้าย<br />

เมื่อพูดถึงภาพยนตร์เกี่ยวกับซูเปอร์ฮีโร่ คนส่วนใหญ่มักนึกถึงกลุ่มผู้กล้าที่ออกมาปกป้องโลกเราจากเหล่าวายร้าย พลังพิเศษต่างๆ ที่ทำให้เราตื่นเต้นไปกับการต่อสู้ แต่ในหลายๆ ครั้งเราก็<br />

เผลอเห็นด้วยกับความคิดแนวอุดมคติสุดโต่ง หรือความต้องการเอาตัวรอดในสังคมของวายร้ายต่างๆ ในเรื่อง ก่อนที่จะหลุดจากภวังค์แล้วนึกขึ้นได้ว่าเราควรต้องอยู่ข้างความยุติธรรมของเหล่า<br />

ฮีโร่ที่มาปกป้องเราสิ มีวายร้ายมากมายที่เปี่ยมเสน่ห์และมีเหตุผลดึงดูดให้คุณเดินเข้าสู่ “ด้านมืด” สำหรับคุณแล้วมีวายร้ายคนไหนที่แอบเผลอใจไปกับแนวคิดของเขาบ้าง<br />

At the end of the year we usually see lots of super hero movies showing. When we talk about that kind of movies, people mostly think of the heroes coming to protect the world from those<br />

villains with their special powers. Many times we get along with those villains’ ideas or their need to survive before wake up and realize that we have to be on the good side with those heroes.<br />

But there are many villains who are very attractive and they have good reasons to pull us into the “dark side” with them. Do you have any favorite villains who lure you by his evil?<br />

Superman II (1980)<br />

อำ นาจฟ้าประธาน และอำ นาจจากความรู้<br />

The power given from the sky and the power of knowledge<br />

General Zod ชายที่ต้องการเป็นผู้สั่งการและมีอ ำนาจเหนือผู้ใด เขาระหกระเหินจากแผ่นดิน<br />

เกิดมาพบดาวฤกษ์สีเหลืองที่มอบพลังมหาศาลและการปลดปล่อยจากการคุมขังที่ยาวนานพร้อม<br />

กับความเชื่อที่ว่าเขาได้เดินทางมาพบดินแดนที่เขาเป็นผู้ถูกรับเลือกให้ปกครองผู้อ่อนแอกว่าด้วย<br />

กำลังมหาศาล “ฮุสตัน” คือดินแดนที่เหมือนฟ้าประธานให้ซ็อดท ำตัวเป็นพระเจ้าเหนือมนุษย์ที่<br />

อ่อนแอ บอบบาง ง่ายต่อการควบคุม และข่มขู่ด้วยพลังใหม่ที่ได้รับจากดาวฤกษ์ดวงใหญ่ เขามี<br />

หญิงที่รักเขาจนตาบอด และชายกำยำไร้ปากเสียงที่ยอมติดตามเขาในทุกย่างก้าวทำให้เขารู้สึก<br />

ถึงอำนาจที่ไร้การขัดขวาง เขาพร้อมจะทำลายทุกสิ่ง แต่หากทำลายทุกสิ่งแล้วใครกันเล่าจะ<br />

สรรเสริญความยิ่งใหญ่ของนายพลซ็อด สู้เก็บคนที่จะป่าวประกาศความยิ่งใหญ่ของเขาไว้ เพื่อให้<br />

เขาเป็นที่ยำเกรงในวงกว้างไม่ดีกว่าหรือ<br />

Lex Luthor เป็นพ่อค้าที่ลงทุนกับความชั่วร้าย เขาเห็นประโยชน์จากการร่วมลงทุนกับผู้มี<br />

พลังมหาศาลที่ต้องการปกครองโลก สำหรับเขาแล้ว ชายพลังเหนือมนุษย์คู่ปรับที่เป็นเหมือนเชื้อ<br />

เพลิงให้กับความอยากรู้อยากเห็นของเขา เขาทำทุกอย่างเพื่อตอบสนองความอยากรู้อยากเห็น<br />

ที่จะทำให้เขาเข้าใจชายพลังเหนือมนุษย์ที่เข้ามาขัดขวางเขาได้อย่างถ่องแท้ เขาสามารถต่อรอง<br />

กับวายร้ายที่มีพลังระดับจักรวาล ทั้งๆ ที่ไม่มีเงินตราแลกเปลี่ยน เขาไร้พลังพิเศษ มีเพียงข้อมูล<br />

และความตะกละ เขาฉลาดแต่ไร้เกียรติศักดิ์ศรี เขาไม่สนใจว่าข้อมูลเหล่านี้จะตกอยู่กับใครตราบใด<br />

ที่เขายังสามารถเอาตัวรอด พร้อมตักตวงผลประโยชน์มหาศาล และกำจัดทุกคนที่เข้ามาขวางทาง<br />

General Zod, the man who wanted to be the commander and have the greatest<br />

power over everyone. He wandered from his homeland to find a yellow star which gave<br />

him a lot of power and also released him from the prison. With the belief of his greatest<br />

power, he finally found “Houston”, the land which let him act like a god to rule over weak<br />

and easy to be controlled people. He had a girl who loved him so much and a muscular<br />

man who was willing to follow him everywhere. They made him feel more powerful and<br />

ready to destroy anything. But if he destroyed everything, then who will be left to salute<br />

the great power of General Zod? Shouldn’t he keep those weak people to announce his<br />

great fame?<br />

Lex Luthor was a trader who invested in the evil. He saw the benefit of the investment<br />

with the powerful man who wanted to rule the world. Lex had an adversary, Superman,<br />

a man with super power, who was like the fuel for his curiosity fire. He did everything<br />

to truly know the man with super power who interrupted him. He could bargain with the<br />

villain who had the universe power even without any treasure to trade nor special power.<br />

He got only the information. Because of his greed and dishonor, he didn’t care who<br />

would get this important information when he himself still survived and earned a lot of<br />

benefit and the ability to get rid of his obstruction.<br />

ภาพ : IMDb<br />

เขาที่โลกชื่นชม และเขาที่โลกเกลียดชัง<br />

He who the world admires and<br />

Watchmen (2009) X-men (2000)<br />

he who the world hates<br />

ความแตกต่างที่ต้องเข่นฆ่า<br />

differential to kill<br />

ภาพ : IMDb<br />

ภาพ : IMDb<br />

ค้นหาสถาปนิก<br />

ทั่วประเทศ<br />

ค้นหางาน<br />

ในวงการสถาปนิก<br />

“ถ้าคลิกเข้าไปในเว็บไซต์ www.asa.or.th จะเห็นว่ามี<br />

การเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม มีเมนูใหม่ๆ ซึ่งเป็นไฮไลต์ เช่น<br />

‘find an architect’ ซึ่งสถาปนิกสามารถนำผลงานของ<br />

บริษัท ทั ้งผลงาน รูปภาพ แม้แต่วิดีโอมาลงบนเว็บไซต์<br />

เป็นการแนะนำบริษัท ส่วนบุคคลทั ่วไปก็สามารถเข้ามาค้นหา<br />

สถาปนิกได้ เป็นการตอบโจทย์ทั้งบริษัทสถาปนิกและ<br />

ผู้บริโภคที ่ต้องการสร้างบ้าน ขณะเดียวกันบุคคลหรือ<br />

บริษัททั ่วไปสามารถนำโฆษณามาลงได้ โดยโฆษณาดังกล่าว<br />

จะแสดงผลต่อเมื ่อผู้เข้าชมได้แสดงความสนใจในเนื ้อหา<br />

ที่เกี่ยวเนื่องกับผลิตภัณฑ์นั ้นๆ<br />

ไม่พลาดทุกข่าวสาร<br />

และกิจกรรม<br />

ในแวดวงสถาปนิก<br />

นอกจากนี้เว็บไซต์ดังกล่าวยังเป็นแหล่งรวมสื่อต่างๆ<br />

ของสมาคมสถาปนิกสยามฯ เช่น จดหมายเหตุ วารสาร<br />

คลิปวิดีโอ รวมถึงเฟซบุ๊ก เพื่อให้เข้าชมง่ายขึ้น อ่านง่ายขึ้น<br />

บนทุกอุปกรณ์ และยังสามารถสมัครเข้าเป็นสมาชิกของ<br />

สมาคมฯ ทางออนไลน์ผ่านเว็บไซต์ได้อีกด้วย<br />

กลุ่มคนหลักๆ ที ่จะได้ประโยชน์จากเว็บไซต์นี้ กลุ่มแรก<br />

คือ สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยามฯ สามารถนำผลงานมา<br />

ลงบนเว็บไซต์ได้ทั้งในรูปแบบของสมาชิกที ่เป็นรูปแบบ<br />

บริษัทและรูปแบบบุคคล เพื่อให้มีคนเข้าถึงได้มากขึ้น รวมถึง<br />

ประกาศหางานบนเว็บไซต์ก็ได้<br />

- 36 -<br />

กลุ่มต่อมาคือ นักศึกษาหรือสถาปนิกที ่กำลังหางาน<br />

สามารถเข้ามาหาโอกาสการทำงานกับบริษัทที่เป็นสมาชิก<br />

ของสมาคมฯ และเชื่อถือได้<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

ติดตามสื่อทุกช่องทางของสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ทั้งวารสาร <strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong> / อาษา / จดหมายข่าว /<br />

<strong>ASA</strong> Youtube Channel / <strong>ASA</strong> แอปพลิเคชั่น / เฟซบุ๊กสมาคมฯ<br />

พร้อมสมัครสมาชิกสมาคมฯ ทางออนไลน์ได้ทันที<br />

กลุ่มต่อมาคือ บุคคลทั ่วไป สามารถเข้าถึงฐานข้อมูล<br />

เพื่อค้นหาสถาปนิกตามประเภทงาน สถานที่และความถนัด<br />

รวมไปถึงติดตามข่าวสารที่น่าสนใจเกี่ยวกับวงการสถาปนิก<br />

อยากขอเชิญชวนท่านสมาชิกสมาคมฯ อัปโหลดผลงาน<br />

ข้อมูลบริษัทและข้อมูลส่วนตัวของท่านขึ้นบนระบบเว็บไซต์<br />

ของสมาคมฯ และรับสิทธิ ์ประกาศหางาน ส่วนบุคคลทั ่วไป<br />

ลองเข้าชม อ่านบทความที่น่าสนใจ รับชมสื่อต่างๆ ของสมาคมฯ<br />

และลองใช้เมนูใหม่ ‘find an architect’ ดู รับรองว่า<br />

ได้ประโยชน์แน่นอนค่ะ”<br />

ศิริมาศ บิ๊กเลอร์<br />

Senior Account Director<br />

Adelphi Digital Consulting Group<br />

ผู้พัฒนาเว็บไซต์ www.asa.or.th<br />

Ozymandias VS Dr.Manhattan บ่อยครั้งที่เราเห็นตัวละครฝ่ายดีพลิกกลายมาเข้าข้างฝ่ายร้าย ไม่<br />

ว่า จะด้วยเหตุผลส่วนตัวหรือเหตุผลความจำเป็นใดๆ ก็ตาม แต่การเลือกเป็นฝ่ายร้ายของตัวละครที่มี<br />

ภาพลักษณ์และบทบาทที่ดีน่าชื่นชม เป็นแบบอย่าง และเป็นที่เคารพย ำเกรงของปุถุชนคนธรรมดา<br />

หรือแม้แต่เหล่าผู้พิทักษ์โลกด้วยกันเอง อย่าง 2 ฮีโร่ของ Watchmen คือ Ozymandias กับ Dr.Manhattan<br />

ที่คนหนึ่งยอมวางแผนบงการสร้างสถานการณ์เลวร้ายหลอกลวง ใส่ร้ายป้ายสีและอีกคนหนึ่งยอมตก<br />

เป็นแพะรับบาป ยอมให้คนมองว่าตนเป็นต้นตอของโศกนาฏกรรมเพื่อให้เกิดผลดีขึ้นกับโลการยอม<br />

เป็นผู้ร้ายของสองคนนี้ เกิดจากความต้องการที่จะให้โลกมีความสมานฉันท์รวมเป็นหนึ่งเดียวกัน เพื่อต่อกร<br />

กับศัตรูเพียงหนึ่งในทางผลลัพธ์ช่างเป็นอุดมการณ์ที่สุดแสนวิเศษ จนทำให้เราตั้งค ำถามถึงฮีโร่คนอื่นๆ<br />

ที่พยายามจะขัดขวางหรือเปิดโปงแผนการนี้ว่าจะทำไปทำไมก็ในเมื่อตอนมีศัตรูคนเดียวกันก็รักกันดี<br />

Magneto, Erik Lehnsherr was a man who grew up with the hate between races. He was<br />

Ozymandias VS Dr.Manhattan We can see some good characters turn to be on the bad separated from his parents in the Auschwitz concentration camp. The cruelty of the society that<br />

side many times. Two heroes in the movie “Watchmen”, Ozymandias and Dr. Manhattan, chose to oppressed people with different races had cultivated his hate against those bullies. Magneto<br />

be on the bad side. They casted off their admirable personality even they used to get respected was Lehnsherr, who unfortunately had special gene which made him more powerful than<br />

from people and also from those heroes. One of them agreed to make a plan to cause the terrible normal human. Like a nightmare, this gene made the world hate and be scared of him. The normal<br />

difficulty and to blacken others. Another one submitted to be the scapegoat, to be understood as the human race hated these mutants who they didn’t understand and couldn’t control. A desperate<br />

source of the tragedy for the world sake. The surrendering to be villains of these two guys happened man like Magneto, who was disappointed in the human race and gained terrible experiences<br />

because they wanted to see the unity and the collaboration of people in the world to fight against the for all his life, chose to give human the opportunity to share the beauty of natural evolution<br />

enemy. That seemed to be the great ideal of them and made us wonder why other heroes tried to because for him if there’s no difference between races, human should be able to be unity.<br />

interrupt or to expose this fake plan.<br />

- 37 -<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09<br />

Magneto เอริค เลนเชอร์ คือชายที่เติบโตมากับความเกลียดชังของเผ่าพันธุ์ เขาถูกแยกจากพ่อ<br />

แม่ในค่ายกักกันที่เอาชวิตซ์ความโหดร้ายของสังคมที่กระท ำต่อผู้ที่มีเชื้อชาติที่แตกต่างกันบ่มเพาะ<br />

ความเกลียดชังต่อมนุษยชาติที่แบ่งแยกและข่มเหงผู้แตกต่าง แม็กนีโต คือเลนเชอร์ที่เคราะห์ซ้ ำกรรม<br />

ซัดให้เขามียีนที่ท ำให้มีพลังเหนือมนุษย์ทั่วไปราวกับฝันร้าย ยีนพิเศษนี้ก็ท ำให้มนุษย์โลกเกลียดชัง<br />

และหวาดกลัวเขา มนุษย์สายพันธุ์เก่าซึ่งรังเกียจพลังใหม่ที่พวกเขาไม่อาจควบคุมและเข้าใจได้ คน<br />

อย่างแม็กนีโตที่สูญสิ้น“ความหวัง” กับมนุษยชาติผ่านทางประสบการณ์ที่เลวร้ายตลอดช่วงชีวิต<br />

เลือกที่จะหยิบยื่นอนาคตที่คนบนโลกทุกคนจะได้สัมผัสความงามของวิวัฒนาการทางธรรมชาติร่วม<br />

กัน เพราะสำหรับเขาแล้วหากไร้ความต่างทางชาติพันธุ์ เราก็คงจะเป็นหนึ่งเดียวกันได้


่<br />

์<br />

C<br />

M<br />

Y<br />

CM<br />

MY<br />

CY<br />

CMY<br />

K<br />

Artwork_LuxuryTravel Full Page.pdf 1 3/27/17 11:52 AM<br />

<strong>ASA</strong> privilege<br />

<strong>ASA</strong> privilege<br />

สิทธิพิเศษ สำหรับสมำชิก สมำคมสถำปนิกสยำมฯ<br />

เพียงแสดงบัตรสมาชิกหรือแสดงอาษาแอปพลิเคชั่น (<strong>ASA</strong> Application)<br />

เพื่อรับสิทธิประโยชน์และส่วนลดจากร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการฯ<br />

Dermaster<br />

342 ซอยสุขุมวิท 63 (เอกมัย) คลองตันเหนือ<br />

วัฒนา กรุงเทพฯ<br />

โทร. 0 2714 4471<br />

www.dermaster-thailand.com<br />

ส่วนลดพิเศษสาหรับโปรแกรมปลูกผม<br />

ถาวรด้วยวิธีปลูกถ่ายเซลล์รากผม<br />

เพื่อแก้ปัญหาผมบาง ศรีษะล้าน<br />

เมื่อปลูกผม 1,000 กราฟขึ ้นไป<br />

รับสิทธิ ์ซื้อ Hair Reform Treatment<br />

ลดการหลุดร่วง กระตุ้นการงอกใหม่<br />

ในราคาลด 50% ฟรี! โปรแกรม<br />

ตรวจสภาพเส้นผมและหนังศีรษะ<br />

Let’s Sea Hua Hin Al Fresco Resort<br />

ส่วนลด 10% จำกรำคำแพ็คเกจ<br />

Love is By The Sea พร้อมอำหำรเช้ำ<br />

- ติดต่อสารองห้องพัก โทร.032-536888<br />

หรืออีเมลล์ reservation.huahin@letussea.com<br />

- แสดงบัตรสมาชิกสมาคมฯ เมื่อเข้าเช็คอิน<br />

- สิทธิพิเศษนี้ต้องช าระเงินล่วงหน้าเพื่อยืนยันการจอง<br />

Loligo Resort Hua Hin<br />

ส่วนลด 10% จำกรำคำแพ็คเกจ<br />

Live A Good Life พร้อมอำหำรเช้ำ<br />

ส่วนลด 10% ห้องอำหำร Caption<br />

และห้องอำหำร Let’s Sea<br />

Hua Hin’s Beach Restaurant<br />

*ระยะเวลาในการรับสิทธิพิเศษ ตั้งแต่วันนี้ – 31 มีนาคม 2561<br />

Well Hotel Bangkok Sukhumvit 20<br />

10/3 ซอยสุขุมวิท 20 คลองเตย กรุงเทพฯ<br />

โทร. 0 2127 5995<br />

www.wellhotelbangkok.com<br />

ส่วนลด 10% จากราคาห้องพักที่ดีที่สุด<br />

ในเว็บไซต์ www.wellhotelbangkok.com,<br />

ฟรี !!! มินิบาร์ (น ้าอัดลมและเบียร์),<br />

บริการนวด 15 นาทีที ่เวลล์สปา, บริการ<br />

คลาสออกกาลังกายที ่เวลล์ฟิตเนส<br />

ส่วนลด 25% ที่ห้องอาหารของโรงแรม<br />

**สมัครสมาชิก Online Member ที่เว็บไซต์<br />

www.wellhotelbangkok.com เพื่อรับโค้ดส่วนลด<br />

ทางอีเมล สาหรับใช้ในการสารองห้องพัก<br />

Oasis Baan Saen Doi Spa Resort<br />

199/135 หมู่ 3 โครงการหมู่บ้านในฝัน 2 แม่เหียะ<br />

เมือง เชียงใหม่<br />

โทร.0 5392 0199 www.oasisluxury.net<br />

จองห้องพักประเภท Deluxe<br />

พร้อมอำหำรเช้ำ สำหรับ 2 ท่ำน ใน<br />

รำคำพิเศษเพียง 2,500 บำท<br />

(จำกรำคำปกติ 6,474 บำท)<br />

**สามารถสารองห้องพักได้ทุกวัน ยกเว้นวันหยุด<br />

นักขัตฤกษ์และวันหยุดต่อเนื่องช่วงเทศกาล<br />

**ไม่สามารถใช้ร่วมกับโปรโมชั่นอื่นๆ ได้<br />

**กรุณาแจ้งสิทธิพิเศษให้พนักงานรับทราบทุก<br />

ครั้งก่อนเข้าพัก และสารองห้องพักล่วงหน้าอย่าง<br />

น้อย 7 วัน ที่ โทร.0 5392 0199 หรือ อีเมล์ cs@<br />

oasisluxury.net **ค่าใช้จ่ายเพิ ่มเติมในกรณีที่มี<br />

เตียงเสริม กรุณาสอบถามรายละเอียดเพิ ่มเติมกับ<br />

ทางโรงแรมก่อนทาการจองอีกครั้ง<br />

ODST MAKER<br />

777 ถนนประดิษฐ์มนูธรรม สะพานสอง<br />

วังทองหลาง กรุงเทพฯ<br />

โทร. 0 2933 5040-2<br />

www.odstmaker.com<br />

ส่วนลดพิเศษ 5% เพิ่มเติมจำก<br />

ส่วนลดปกติจำกโชว์รูมหน้ำร้ำน<br />

เมื ่อซื ้อสินค้ำรำคำปกติมูลค่ำตั ้งแต่<br />

50,000 บำทขึ ้นไป<br />

**เฉพำะสินค้ำรำคำปกติ และสินค้ำ<br />

ที ่ร่วมรำยกำรเท่ำนั ้น<br />

** ตั ้งแต่วันนี ้ – 28 ธันวำคม 2560<br />

MOTIF GROUP<br />

MOTIF ชั้น 3 Erawan Bangkok<br />

โทร. 0 2250 7740 และ ชั้น 4 Central<br />

Embassy โทร.0 2160 5984<br />

FENDI C<strong>ASA</strong> ชั้น 4 Central Embassy<br />

โทร.0 2160 5981<br />

ELEMENTS ชั้น 4 Central Embassy<br />

โทร.0 2160 5984<br />

www.motifartofliving.com<br />

**ตั้งแต่วันนี้ – 31 ธันวาคม 2560<br />

ส่วนลดพิเศษ 40%<br />

เมื ่อซื ้อสินค้ำภำยในร้ำนที ่กำหนด<br />

OMAZZ GALLERY<br />

3 สาขา ได้แก่<br />

สาขาเอกมัยซอย 4 โทร. 0 2714 4242<br />

สาขา CDC โทร. 0 2102 2255<br />

สาขาเมกาบางนา โทร. 0 2108 4988<br />

www.omazz.com<br />

ส่วนลดพิเศษ on top 5% เมื ่อซื ้อ<br />

สินค้ำประเภทที ่นอน เตียงนอน และ<br />

ชุดเครื ่องนอน (จำกรำคำส่วนลดปกติ)<br />

พิเศษ! รับหมอนอิง ขนำด 15x15 นิ้ว<br />

เมื ่อซื ้อสินค้ำรำยกำรใดก็ได้<br />

(จำนวนจำกัด)<br />

ส่ง ORDER ทำง E-mail<br />

รับส่วนลดและโปรโมชั ่นพิเศษ<br />

*LIMITED OFFER ข้อเสนอมีจำนวนจำกัด<br />

KARNIVING<br />

46 ซอยรามอินทรา 32 ถนนรามอินทรา ท่าแร้ง<br />

บางเขน กรุงเทพฯ<br />

โทร. 0 2943 6263 www.karniving.com<br />

ส่วนลด 10-40%<br />

สำหรับสินค้ำที ่ร่วมรำยกำร<br />

Terminal 21 , 3rd fl.<br />

Central Embassy , 3rd fl.<br />

Siam Square One ,3rd fl.<br />

รับส่วนลด 5%<br />

สาหรับสมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

Paradise Beach Resort Samui<br />

18/8 หมู่ 1 หาดแม่น ้า เกาะสมุย สุราษฎร์ธานี<br />

โทร. 0 7724 7228-32<br />

www.samuiparadisebeach.com<br />

ส่วนลด 10% จำกรำคำที ่ดีที ่สุด<br />

บนเว็บไซต์ของโรงแรม<br />

**ไม่สามารถใช้ร่วมกับโปรโมชั่นอื่น และไม่<br />

สามารถใช้ในช่วงวันหยุดต่อเนื่อง, วันหยุดนักขัตฤกษ์,<br />

วันหยุดเทศกาล หรือพีคซีซั่นได้<br />

**บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ ์ในการเปลี่ยนแปลง<br />

รายการส่งเสริมการขายและเงื่อนไขต่างๆ โดยไม่<br />

ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า และกรุณาส ารองห้อง<br />

พักล่วงหน้าก่อนเข้าใช้บริการ<br />

Cape Dara Resort Pataya<br />

ส่วนลด 5%<br />

จำกรำคำห้องพักในเว็บไซต์<br />

www.capedarapattaya.com<br />

- กรุณาสารองห้องพักล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน<br />

ทาง www.capedarapattaya.com เท่านั้น<br />

พร้อม Promo Code “<strong>ASA</strong>SP1718” และ<br />

ชาระเงินทันทีหลังการสารองห้องพักเพื่อยืนยัน<br />

- การสารองห้องพักจะไม่สามารถยกเลิก หรือ<br />

แลกเปลี่ยนเป็นเงินสดได้<br />

- ไม่สามารถใช้ส่วนลดนี้ในการเข้าพักช่วง<br />

เทศกาลและวันหยุดยาวได้<br />

* เงื่อนไขเป็นไปตามที่โรงแรมก าหนด<br />

De Naga Chiang Mai<br />

21 ราชมรรคาซอย 2 ถ.มูลเมือง พระสิงห์ เมือง เชียงใหม่<br />

โทร. 0 5320 9030 www.denagahotel.com<br />

ส่วนลด 10% จำกรำคำที ่ดีที ่สุดบนเว็บไซต์ของโรงแรม<br />

**ไม่สามารถใช้ร่วมกับโปรโมชั่นอื่น และไม่สามารถใช้ในช่วงวันหยุดต่อเนื่อง,<br />

วันหยุดนักขัตฤกษ์, วันหยุดเทศกาล หรือพีคซีซั่นได้<br />

**บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ ์ในการเปลี่ยนแปลงรายการส่งเสริมการขายและเงื่อนไขต่างๆ โดยไม่ต้องแจ้ง<br />

ให้ทราบล่วงหน้า และกรุณาสารองห้องพักล่วงหน้าก่อนเข้าใช้บริการ<br />

Grand Mercure Phuket Patong<br />

Resort & Villas<br />

1 ซอยราษฎร์อุทิศ 200 ปี 2 ป่าตอง กะทู้ ภูเก็ต<br />

โทร. 0 7623 1999<br />

www.grandmercurephuketpatong.com<br />

ซื ้อห้องพัก 1 คืนแถมฟรี 1 คืน<br />

(ภำยใน 1 พ.ย. 2560 - 31 มี.ค. 2561)<br />

- ห้องซูพีเรีย<br />

รำคำ 8,990 บำท พร้อมอำหำรเช้ำ<br />

- ห้องวิลล่ำ แบบหนึ ่งห้องนอน<br />

รำคำ 27,999 บำท พร้อมอำหำรเช้ำ<br />

พร้อมสิทธิ ์ใช้บริกำรแกรนด์<br />

คลับ เลำจน์ และรถรับ-ส่ง<br />

สนำมบินภูเก็ต<br />

* ต้องสารองห้องพักล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน<br />

Nhapha Khao Yai Resort<br />

187-189 หมู่ 14 หมูสี ปากช่อง<br />

นครราชสีมา<br />

โทร. 0 4493 8806, 09 3636 9999<br />

www.nhapha-khaoyai.com<br />

ส่วนลด 10% จำกรำคำที ่ดีที ่สุด<br />

ของโรงแรม สำหรับห้องพัก<br />

ประเภท Villa และ Grand<br />

Villa พร้อมอำหำรเช้ำ สำหรับ<br />

2 ท่ำน/กำรเข้ำพัก 1 คืน, ฟรี!<br />

มินิบำร์ และ Welcome Drink<br />

**ไม่สามารถใช้ร่วมกับโปรโมชั่นหรือรายการ<br />

ส่งเสริมการขายอื่นๆ ได้ **ส าหรับการจองห้องพัก<br />

โดยตรงผ่านทางเว็บไซต์ของรีสอร์ท หรือทาง<br />

โทรศัพท์เท่านั้น<br />

HAY<br />

ชั้น 3 Siam Discovery และ ชั้น 2 Central Embassy<br />

โทร. 09 0915 9788 www.hay.dk<br />

โทร. 076-231999 หรือ อีเมลล์ h8109@accor.com<br />

** เงื่อนไขเป็นไปตามที่โรงแรมกาหนด<br />

สำหรับผู้ถือบัตรสมำชิกประเภทสมำชิกภำคีและประเภท<br />

สำมัญ(สถำปนิก) สำมำรถแสดงบัตร เพื ่อรับบัตรสมำชิกพิเศษ<br />

ของ HAY พร้อมส่วนลด 10% ที ่สำขำ Siam Discovery<br />

และ สำขำ Central Embassy<br />

สำหรับผู้ถือบัตรสมำชิกประเภทบุคคลทั ่วไป<br />

สำมำรถแสดงบัตรเพื ่อรับส่วนลด 5% ได้ทั ้ง 2 สำขำ<br />

LIxIL Showroom<br />

อาคาร D Crystal Design Center (CDC)<br />

ถ.ประดิษฐ์มนูธรรม (เลียบทางด่วน<br />

เอกมัย-รามอินทรา) กรุงเทพฯ 10240<br />

โทร.0 2102 2222 กด 1<br />

www.lixil.co.th/americanstandard<br />

Jessica<br />

ส่วนลด 20% จำกรำคำปกติ<br />

Perfect Furniture Mall Chiang Mai<br />

รับส่วนลดเฟอร์นิเจอร์ 10%<br />

- แสดงบัตรสมาชิกสมาคมฯ เพื่อรับสิทธิ<br />

- ยกเว้นเฟอร์นิเจอร์โปรโมชั่น/ ชุดออฟฟิสและส านักงาน และที่นอน<br />

Luna Sky Garden Café<br />

(GLOW Pratunam Hotel)<br />

รับส่วนลดพิเศษ<br />

ส่วนลด 20% สำหรับอำหำรและเครื ่องดื ่ม<br />

- แสดงบัตรสมำชิกสมำคมฯเพื ่อรับสิทธิ์<br />

ก่อนชำระเงิน<br />

Same-Same But Different<br />

Chiangmai old town<br />

รับส่วนลดพิเศษ<br />

ส่วนลด 15% สำหรับขนมและเครื ่องดื ่ม<br />

- แสดงบัตรสมำชิกสมำคมฯเพื ่อรับสิทธิ์<br />

ก่อนชำระเงิน<br />

Kathu Mining Co.<br />

(Mai House Patong Hill)<br />

ส่วนลด 20%<br />

สำหรับอำหำรและเครื ่องดื ่ม<br />

- แสดงบัตรสมำชิกสมำคมฯเพื ่อรับสิทธิ์<br />

ก่อนชำระเงิน<br />

HUBBA-TO<br />

ห้องเลขที่ 306/2, 307, 307/2 ชั้น 3<br />

ศูนย์การค้า Habito Mall อ่อนนุช (สุขุมวิท 77)<br />

เลขที่ 1 ซอยริมคลองพระโขนง พระโขนงเหนือ<br />

วัฒนา กรุงเทพฯ<br />

โทร.0 2118 0839 www.hubbathailand.com<br />

ฟรี! ค่ำเข้ำใช้บริกำรพื ้นที<br />

Co-working Space 1 วัน หรือ<br />

ค่ำบริกำรสำหรับกำรเข้ำใช้ห้อง<br />

ประชุมเป็นเวลำ 1 ชั ่วโมง<br />

**ผู้ถือบัตรสมาชิกต้องถ่ายรูปบริเวณ<br />

HUBBA-TO และเช็คอิน พร้อมติด Hashtag<br />

#HUBBATO เพื่อใช้ในการรับสิทธิ ์<br />

รับสิทธิ์ในกำรเข้ำใช้ LixiL Club<br />

ณ LixiL Showroom (CDC)<br />

ทุกวัน เวลำ 10.00 - 18.00 น.<br />

Modernform Furniture<br />

ส่วนลด 20% จำกรำคำปกติ<br />

สาขาโมเดอร์นฟอร์ม ทาวเวอร์<br />

โทร. 0 2708 9800<br />

สาขา CDC (Crystal Design Center)<br />

โทร. 0 2102-2100-3<br />

สาขา ฟิวเจอร์ ปาร์ค รังสิต<br />

โทร.0 2958-5613-4<br />

www.modernform.co.th<br />

**สามารถใช้สิทธิพิเศษได้ที่ 3 สาขานี้เท่านั้น<br />

**เฉพาะสินค้าเฟอร์นิเจอร์สานักงานเท่านั้น<br />

**ตั้งแต่วันนี้ – 31 มีนาคม 2561<br />

Almeta<br />

20/3 ซอยสุขุมวิท 23 ถนนสุขุมวิท คลองเตย<br />

เหนือ วัฒนา กรุงเทพฯ<br />

โทร. 0 2258 4227, 0 2204 1413<br />

www.almeta.com<br />

รับส่วนลดพิเศษ<br />

เมื ่อสั ่งซื ้อผ้ำ สำหรับทำผ้ำม่ำน<br />

ส่วนลด 15% เมื ่อสั ่งซื ้อ 20 เมตร ต่อเส้น<br />

ส่วนลด 20% เมื ่อสั ่งซื ้อ 50 เมตร ต่อเส้น<br />

ส่วนลด 25% เมื ่อสั ่งซื ้อ 100 เมตร ต่อเส้น<br />

Backyard by Baan<br />

รับส่วนลดพิเศษ<br />

ส่วนลด 10% สำหรับอำหำร<br />

Growth Café & Co.<br />

236/8-9 ชั้น 2 สยามสแควร์ ซอย 2 ถนนพระราม 1 ปทุมวัน<br />

กรุงเทพฯ<br />

โทร. 08 6778 8163<br />

www.facebook.com/GrowthCafeAndCo<br />

ส่วนลด 10% สำหรับค่ำอำหำร, เครื ่องดื ่ม<br />

และบริกำร Co-working Space<br />

**ไม่สามารถใช้ร่วมกับโปรโมชั่นอื่นๆ ได้<br />

Sukhothai Heritage Resort<br />

999 หมู่ 2 คลองกระจง สวรรคโลก สุโขทัย<br />

โทร. 0 5564 7567<br />

www.sukhothaiheritage.com<br />

ส่วนลด 10% จำกรำคำที ่ดีที ่สุดบนเว็บไซต์ของ<br />

โรงแรม<br />

**ไม่สามารถใช้ร่วมกับโปรโมชั่นอื่น และไม่สามารถใช้ในช่วงวันหยุด<br />

ต่อเนื่อง, วันหยุดนักขัตฤกษ์, วันหยุดเทศกาล หรือพีคซีซั่นได้<br />

**บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ ์ในการเปลี่ยนแปลงรายการส่งเสริมการขาย<br />

และเงื่อนไขต่างๆ โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า และกรุณาส ารอง<br />

ห้องพักล่วงหน้าก่อนเข้าใช้บริการ<br />

The Private Pool Villas at Civilai Hill Khao Yai<br />

495 หมู่ 7 หนองสาหร่าย ปากช่อง นครราชสีมา<br />

โทร.09 2259 5240<br />

www.civilaihillkhaoyai.com<br />

ส่วนลด 10% จำกรำคำที ่ดีที ่สุดบนเว็บไซต์ของ<br />

โรงแรม<br />

**ไม่สามารถใช้ร่วมกับโปรโมชั่นอื่นๆ และไม่สามารถใช้ในช่วงวันหยุด<br />

ต่อเนื่อง, วันหยุดนักขัตฤกษ์, วันหยุดเทศกาล หรือพีคซีซั่นได้<br />

**บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ ์ในการเปลี่ยนแปลงรายการส่งเสริมการขาย<br />

และเงื่อนไขต่างๆ โดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า และกรุณาส ารอง<br />

ห้องพักล่วงหน้าก่อนเข้าใช้บริการ<br />

*ระยะเวลาในการรับสิทธิพิเศษ<br />

ตั้งแต่วันนี้ – 31 ตุลาคม 2561<br />

ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.asa.or.th<br />

ดาวน์โหลด <strong>ASA</strong> Application ได้ทาง


The Association of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

Download<br />

Now!<br />

Application<br />

แอพเดียวจบ!<br />

ครบทุกเรื่อง<br />

ของวิชาชีพสถาปนิก<br />

We are Now on Mobile!<br />

- 40 -<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

www.asa.or.th

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!