04.07.2018 Views

ASA CREW VOL.9

E-SAN FUTURE

E-SAN FUTURE

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เรื่อง :<br />

SPOTLIGHT<br />

Mr. Sathirat Tantanan<br />

สำถิรัตร์ ตัณฑนันทน์ คือคนไทยคนแรกที่ดรง<br />

ตแหน่งประธานสมาพันธ์สถาปนิกแห่งเอเชีย และอีก<br />

หนึ่งบทบาทเป็นประธานบริหาร บริษัท เทวนันท์ จกัด<br />

จบการศึกษาระดับปริญญาโทด้าน Architecture &<br />

Urban Design จาก Columbia University และ<br />

ปริญญาตรี 2 ใบ ด้านสถาปัตยกรรม และ Environmental<br />

Design จาก University of Minnesota<br />

ประเทศสหรัฐอเมริกา รวมถึงมีประสบการณ์การทงาน<br />

ด้าน Urban Design ในต่างประเทศทั้งจีน เวียดนาม<br />

และไนจีเรีย<br />

The Challenging Role on<br />

International Stage<br />

สถิรัตร์ ตัณฑนันทน์<br />

บทบาทท้าทายบนเวทีสากล<br />

เขาทิ้งท้ายว่า การเป็นสถาปนิกคือวิชาชีพที่ หลอม<br />

รวมกันระหว่าง Design และ Construction ดังนั้น<br />

สถาปนิกต้องเป็นผู้น และรู้ทุกกระบวนการ ของการ<br />

ออกแบบ ตลอดจนการมองภาพรวมการบริหารบริษัท<br />

ด้านสถาปนิก เป็นเรื่องน่าเสียดายที่ 20 เปอร์เซ็นต์ของ<br />

นักเรียนสถาปนิกเรียนจบมาและยังคงเดินในเส้นทาง<br />

สายนี้อีก 80 เปอร์เซ็นต์ มักหันไปทธุรกิจหรือสาย<br />

งานอื่น หากทให้วิชาชีพสถาปนิกยืนหยัดได้ ต้องการ<br />

มีส่งเสริมทั้งเชิงความรู้และจุดยืนของวิชาชีพ<br />

In the talk with Mr. Sathirat Tantanan, the chairman<br />

of ARCASIA, about his another pride of Honorary Fellowship<br />

of the American Institute of Architects (Hon. FAIA) which<br />

will be granted by American Architects Institute in June<br />

2018, he told about the fun and challenging<br />

experience of the path of his career.<br />

พูดคุยกับคุยคุณสถิรัตร์ตัณฑนันทน์ประธานสมาพันธ์<br />

สถาปนิกแห่งเอเชีย กับอีกหนึ่งความภาคภูมิใจในการเข้า<br />

รับรางวัลกิตติมศักดิ์Honorary Fellowship of the American<br />

Institute of Architects (Hon. FAIA) จากสถาบันสถาปนิก<br />

อเมริกัน ในเดือนมิถุนายน 2561<br />

คุณสถิรัตร์ชวน ย้อนไปยังเส้นทางการทำ<br />

งานในการเป็นสถาปนิกผ่านความสนุกและความท้าทาย<br />

ไปสู่การทำงานบนเวทีระดับสากล<br />

สู่เส้นทางสถาปนิกบนเวทีแห่งเอเชีย<br />

จุดเริ่มต้นของเส้นทางทั้งหมด ผมเริ่มต้นที่นี่ สมาคม<br />

สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผมเป็นอุปนายก<br />

สมาคม ในยุคของคุณนิธิสถาปิตานนท์เป็นนายกสมาคมฯ<br />

(พ.ศ.2535 – 2537) บทบาทหลักของผมคือดูแลในส่วนต่าง<br />

ประเทศ ในยุคนั้นนายกสมาคมฯ มีวิสัยทัศน์ว่า อยากให้<br />

สมาคมฯ มีส่วนร่วมกับสมาคมสถาปนิกในประเทศอื่นๆ<br />

ต่อยอดจากปีที่ผ่านๆ มา จนกระทั่งมาสู่ยุคของนายกสมาคมฯ<br />

คุณทวีจิตร จันทรสาขา ได้ผลักดันให้ผมเข้ามาดูแลในส่วน<br />

Tri Nations ทำงานร่วมกัน 3 สมาคม คือ สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

สมาคมสถาปนิกสิงคโปร์และสมาคมสถาปนิกมาเลเซีย โดย<br />

มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลด้านวิชาการวิชาชีพ ปัจจุบันได้ต่อย<br />

อดมาเป็น Four Nations โดยมีอินโดนีเซียเข้ามาร่วมด้วย<br />

และในยุคของคุณทวีจิตรนั่นเอง ที่มีนโยบายผลักดัน<br />

การทำงานร่วมกับต่างประเทศ และผมได้เข้ามามีบทบาท<br />

เป็นรองประธานของสมาพันธ์สถาปนิกแห่งเอเชีย(ARCASIA)<br />

และในขณะเดียวกันเราก็มองว่าในบทบาทของ ARCASIA<br />

คำตอบคือเราดำเนินงานค่อนข้างดีในด้านการพัฒนาชุมชน<br />

ในประเทศ รวมไปถึงการผลักดันแนวคิด Universal Design<br />

การออกแบบอาคารต่างๆ ที่เอื้อต่อการใช้งานของประชาชน<br />

ดังนั้นเราจึงก่อตั้งคณะกรรมการขึ้นมาเป็นหน่วยย่อย คือ<br />

ACSA : ARCASIA Committee on Social Responsibility<br />

และเป็นการต่อยอดโครงการเพื่อสังคมด้านต่างๆ ของสมาคม<br />

สถาปนิกสยามฯ (<strong>ASA</strong>) บนเวทีสากล<br />

คนไทยคนแรกในตแหน่งประธานสภาสถาปนิก<br />

เอเชีย<br />

ต่อมาเมื่อมีโอกาสได้เข้ามาเป็นประธานสมาพันธ์<br />

สถาปนิกแห่งเอเชีย ผมได้วางเป้าหมายการพัฒนา 2 ส่วน<br />

นั่นคือ Professional practice เพราะว่าเศรษฐกิจในเอเชีย<br />

กำลังพัฒนา การผลักดันให้สถาปนิกทำงานในระดับสากล<br />

มากขึ้นถือเป็นสิ่งสำคัญ และข้อสอง ผมอยากผลักดัน<br />

สถาปนิกรุ่นใหม่เราต้องมีเวทีให้เขา ผมจึงตั้งคณะกรรมการ<br />

อีกหนึ่งกลุ่ม คือ ACYA : ARCASIA Committee on Young<br />

Architect โดยสนับสนุนทั้งการให้ทุนการศึกษา ประกวด<br />

แนวคิดการออกแบบ รวมไปถึงการเปิดกว้างให้สถาปนิก<br />

รุ่นใหม่ได้เรียนรู้ โดยเดินทางไปศึกษาโครงการในประเทศ<br />

อื่นๆ แต่ละประเทศก็จะมีหัวข้อการศึกษาที่แตกต่างกัน เช่น<br />

ปีนี้เดินทางไปศึกษาการก่อสร้างด้วยไม้ที่ญี่ปุ่น อีกหนึ่ง<br />

ประเด็นที่สำคัญ ในฐานะที่ผมเป็นประธาน จะทำอย่างไรให้<br />

องค์กรของ 19 ประเทศรวมตัวกันได้มากที่สุด เพื่อพัฒนา<br />

วิชาชีพสถาปนิก<br />

ก้าวสคัญอันทรงเกียรติ<br />

การเข้ารับรางวัลเกียรติคุณ Honorary Fellowship of<br />

the American Institute of Architects (Hon. FAIA) สำหรับผม<br />

แม้ไม่ได้อยู่ในเป้าหมายชีวิต เป็นเส้นทางที่บังเอิญ แต่ก็เป็น<br />

ก้าวสำคัญที่มีคุณค่า ต้องขอขอบคุณคณะกรรมการรวมไป<br />

ถึงพี่เลี้ยงที่คอยผลักดันให้ผมขึ้นมาอยู่จุดนี้ และผู้ที่ให้การ<br />

สนับสนุน ทั้งอาจารย์อัชชพล ดุสิตนานนท์ นายกสมาคม<br />

สถาปนิกสยามฯ และคุณนิธิ สถาปิตานนท์ ที่ให้การรับรอง<br />

ซึ่งรางวัลในปีนี้พบว่ามีผู้ที่ได้รับคัดเลือกเพียง 2 คน คือผม<br />

และอดีตนายกสมาคมสถาปนิกญี่ปุ่น Taro Ashihara จาก<br />

ผู้ลงสมัครทั้งหมด<br />

รางวัลนี้นับเป็นอีกหนึ่งก้าวสำคัญเป็นช่องทางในการ<br />

เปิดประตูและเชื่อมต่อกับสมาคมสถาปนิกชาติอื่นๆ ในการ<br />

ช่วยเหลือพัฒนาซึ่งกันและกัน และผมคิดว่าผมจะใช้โอกาส<br />

ตรงนี้ให้เป็นประโยชน์มากที่สุดในการไปเปิดเวทีต่างๆ ทั้ง<br />

ในเอเชียและอเมริกา เพื ่อส่งเสริมสถาปนิกรุ่นใหม่และนำ<br />

ความเป็นมาตรฐานสากลร่วมส่งเสริมความรู้ในด้านทฤษฎี<br />

และปฏิบัติแก่สมาชิก และส่งเสริมจุดยืนของวิชาชีพ<br />

สถาปนิกอย่างเป็นสากล<br />

On the path to the stage of ASEAN<br />

architects<br />

The beginning of my journey started here, at The<br />

Associates of Siamese Architects under Royal Patronage.<br />

I was the vice president while Mr. Nithi Satapitanont<br />

being the president (1992-1994). My main role was to<br />

take care of international activities. At that time, the<br />

president aimed to lead <strong>ASA</strong> to have more participation<br />

with architects associations from other countries. Then<br />

in the term of Mr. Taweejit Jantarasaka as the president,<br />

I was put to work in “Tri Nations” project which is the<br />

collaboration between architects associations from<br />

Thailand, Singapore and Malaysia. Now it is “Four Nations”<br />

as Indonesia has joined in.<br />

With the policy on international events of <strong>ASA</strong> in<br />

Mr. Taweejit’s term, I was elected to be the vice president<br />

of the ARCASIA. The outstanding role of <strong>ASA</strong> in ARCASIA<br />

was about developing communities in our country and<br />

driving the idea of Universal Design to comfort people<br />

in various kinds of buildings. So we have set up ACSA:<br />

ARCASIA Committee on Social Responsibility to continue<br />

<strong>ASA</strong>’s social responsibility on the international stage.<br />

The first Thai architect as the president<br />

of ARCASIA<br />

Later when I had a chance to be the president of<br />

ARCASIA, I planned to develop 2 parts. The first is about<br />

Professional Practice because the economy in ASEAN<br />

is growing so we have to push our architects to have<br />

more international works. The second is to give young<br />

architects more opportunities to show their ability, so I<br />

set up ACYA: ARCASIA Committee on Young Architect.<br />

The project supports young architects on scholarship,<br />

idea competitions and abroad field trips. The field trip<br />

in this year is to study wood construction in Japan. As<br />

the president, another important duty is to connect all<br />

associations from 19 countries for collaboration on<br />

developing the architectural industry.<br />

The important honored step<br />

To be granted the Honorary Fellowship of the American<br />

Institute of Architects (Hon. FAIA) is unexpected but it<br />

is my honored. I would like to thank the board and all<br />

supporters including Prof. Atchapol Dusittanont and<br />

Mr.Nithi Satapitanont who recommended me. There are<br />

only 2 winners this year, one is myself and another is<br />

Mr. Taro Ashihara, the ex-president of Japanese architects<br />

association.<br />

This award is another big step to open and connect<br />

with architects associations from other countries to help<br />

develop each other. This will be a good opportunity for<br />

Thai architects to step up on the international stage.<br />

I would like to use this opportunity to support our young<br />

architects, to bring the international standard for elevating<br />

theoretical and practical knowledge for members, and<br />

to support the ground of architectural career universally.<br />

Mr. Sathirat Tantanant is the<br />

first Thai architect who took a position of<br />

the president of ARCASIA. He is also the<br />

executive director of Thevanant Co.Ltd. He<br />

graduated Master Degree of Architecture<br />

& Urban Design from Columbia University, 2<br />

diplomas of Architectural and Environmental<br />

Design from University of Minnesota, USA.<br />

He also has experience of Urban Design<br />

work in China, Vietnam, and Nigeria.<br />

He said, “Architect is the career which<br />

works with the collaboration of designing<br />

and construction. Architects must be the<br />

leaders and know every procedure of the<br />

design and also have the overall vision of<br />

business running. It is a pity that only 20%<br />

of architect students graduate and continue<br />

their career as architects, while 80% turn<br />

to earn their lives on different careers. If<br />

we want architectural career to be insistent,<br />

there should be more supporting on both<br />

knowledge and the career standpoint.<br />

- 10 -<br />

- 11 -<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!