04.07.2018 Views

ASA CREW VOL.9

E-SAN FUTURE

E-SAN FUTURE

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Building 9, Burirum Pittayakom School<br />

The still breathing 70 years old wood building<br />

อาคาร 9 โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม เรือนไม้กว่า 70 ปีที่ยังมีลมหายใจ<br />

โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม เดิมชื่อ “โรงเรียนประจำ<br />

จังหวัดบุรีรัมย์” จัดตั้งเป็นโรงเรียนรัฐบาล สังกัด<br />

กระทรวง ศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2477<br />

เปิดสอนถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ตั้งอยู่บริเวณวัดกลาง<br />

จังหวัดบุรีรัมย์ ต่อมาทางราชการแผนกมหาดไทยได้ยก<br />

ศาลากลางจังหวัด (หลังเก่า) ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันออก<br />

ของวัดกลางเป็นโรงเรียนประจำจังหวัด เมื่อวันที่ 11<br />

กรกฎาคม 2546 ภายหลังโรงเรียนได้รับพิจารณาให้ย้าย<br />

สถานที่ใหม่มาตั้งบริเวณสวนหม่อน (ปัจจุบันเป็น<br />

โรงเรียนเทศบาล 2) และทางราชการได้จัดตั้งเป็น<br />

โรงเรียนสตรีประจำจังหวัดบุรีรัมย์ “ศรีบุรีรัมย์” ในปี พ.ศ.<br />

2481 จนถึงปี พ.ศ. 2483 กระทรวงศึกษาธิการ ได้อนุมัติ<br />

งบประมาณ 20,000 บาท สร้างโรงเรียนขึ้นใหม่บริเวณ<br />

พื้นที่ป่าด้านทิศใต้ของสถานีรถไฟจังหวัดบุรีรัมย์ โดย<br />

สร้างอาคารเรียนเป็นอาคารไม้ 2 ชั้น ตามแบบของ<br />

กระทรวงศึกษาธิการ หลังจากสร้างอาคารเสร็จ ในวัน<br />

ชาติที่ 24 มิถุนายน 2485 โรงเรียนจึงได้ย้ายจากพื้นที่<br />

เดิม (ปัจจุบันเป็นโรงเรียนเทศบาล 2) มาอยู่ในพื้นที่<br />

โรงเรียนใหม่แห่งนี้ (สถานที่ตั้งโรงเรียนในปัจจุบัน) ต่อ<br />

มาในปี พ.ศ. 2491 ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น โรงเรียน<br />

“บุรีรัมย์วิทยาลัย” หลังจากนั้น ในปี พ.ศ. 2515 ได้<br />

เปลี่ยนเป็นโรงเรียนแบบสหศึกษาและเปลี่ยนชื่อเป็น<br />

“โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม” ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา<br />

อาคารเรียนไม้2 ชั้น ซึ่งเป็นอาคารหลังแรกของโรงเรียน<br />

มีชื่อว่า “เกียรติยศศักดิ์ศรี บุรีรัมย์พิทยาคม” หรือเรียกอีก<br />

อย่างหนึ่งว่า อาคาร 9 ตั้งอยู่ทางทิศเหนือ ด้านหน้าทางเข้า<br />

โรงเรียน ลักษณะของอาคารเป็นอาคารไม้สองชั้น หันหน้า<br />

ไปทางทิศเหนือ ตั้งบนฐานราก ก่อด้วยซีเมนต์ด้านหน้าตาม<br />

แบบของกระทรวงศึกษาธิการ ยาว 54 เมตร กว้าง 8 เมตร<br />

ด้านหน้าตรงกลางมีมุขยื่นออกมาจากอาคาคารยาว 5 เมตร<br />

กว้าง 11 เมตร มีห้องเรียน 12 ห้องเรียน หน้าต่างอาคาร<br />

เป็นแบบบานเปิดคู่มีลักษณะพิเศษคือลูกฟักหน้าต่าง<br />

สามารถเปิดออกได้<br />

ปัจจุบันอาคารหลังนี้ใช้เป็นอาคารเรียน ชั้นล่างเป็น<br />

ห้องพักครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มี<br />

ห้องเกียรติยศเพื่อเก็บผลงาน รวบรวมประวัติต่างๆ ของ<br />

โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคมไว้<br />

Burirum Pitayakom School, once was The School<br />

of Burirum Province, opened on May 1, 2477BE. The<br />

school had located at Wat Klang in Burirum province<br />

and then moved to the old city hall. On July11,<br />

2546BE., the school was moved to the new location<br />

in Suan Mon where now is the Municipality School 2.<br />

It was arranged to be a girl school “Sri Burirum” in<br />

2481BE. Until in 2483BE the ministry of education<br />

approved 20,000 Baht fund to rebuild the new school<br />

building in the wood, south of Burirum train station.<br />

The school moved to the present location and its<br />

name was changed to be “Brurirum Witayalai” in<br />

2515BE and then changed to be “Burirum Pittayakom”<br />

since then.<br />

The wooden two storey building is the first building<br />

of the school. It was named “Kiettiyos Saksri Burirum<br />

Pittayakom” or Building 9. It stands in the north, in<br />

the front of school. It is a wooden building on concrete<br />

foundations with a corridor in the front. It is 54 M.<br />

long and 8 M. wide. There are 12 classrooms. Each window<br />

panel can be opened even when the window closes.<br />

Nowadays it is still a school building with teacher’s<br />

room on the lower floor. There’s also the school hall<br />

of fame where stores history of the school.<br />

อาคารเรียนไม้สองชั้นที่มีอายุกว่า 78 ปี<br />

ที่สร้างในงบประมาณ 20,000 บาท<br />

ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปะ<br />

สถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2556<br />

อาคาร 9 โรงเรียนบุรีรัมย์พิทยาคม<br />

15 ถ.นิวาศ ต.ในเมือง อ.เมืองบุรีรัมย์ จ.บุรีรัมย์<br />

Building 9, Burirum Pittayakom School<br />

15 Niwas road, Nai Muang subdistrice, Muang<br />

district, Burirum provimce<br />

E-San Water Tank Tomb<br />

The useful monuments of the death<br />

ธาตุถังน้ำอีสาน<br />

อนุสาวรีย์ความตายสามัญชนสมประโยชน์<br />

ธาตุปูนถังน้ำเป็นผลผลิตสร้างจากการผสานแนวคิดในเรื่องคติความเชื่อ งานช่างหลังค<br />

วามตายในจารีตการสร้างธาตุที่คนเป็นสร้างให้ผู้วายชนม์ผนวกกับสภาพแห่งข้อจำกัดเรื่อง<br />

ปริมาณน้ำในพื้นที่ ซึ่งน่าจะเป็นตัวแปรสำคัญอย่างหนึ่งที่ก่อเกิดนวัตกรรมงานช่างที่มี<br />

ประโยชน์ใช้สอยใหม่ที่ลงตัว ซึ่งสัมพันธ์ไปกับบริบททางสังคมด้านการพัฒนาการในช่วงที่มี<br />

การปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีด้านวัสดุและการก่อสร้าง ที่ซึ่งวัสดุประเภทปูนได้เข้ามามีบทบาท<br />

แทนงานไม้ และแน่นอนว่าช่วงเวลาดังกล่าวช่างญวนได้เข้ามามีบทบาทสำคัญยิ่งในพื้นที่<br />

เมืองอีสาน สอดรับกับข้อจำกัดการพัฒนาบ้านเมืองในด้านต่างๆ โดยเฉพาะเรื่องน้ำ ซึ่งเป็น<br />

ปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญในการดำรงชีวิตในทุกมิติ ซึ่งส่วนใหญ่ผลิตสร้างอยู่ตามพื้นที่สาธารณ์<br />

ทางจิตวิญญาณ ที่อยู่ในพื้นที่ศูนย์กลางของชุมชนอย่างวัด<br />

คติความเชื่อที่สะท้อนตัวตนของชาวอีสาน<br />

ผ่านงานออกแบบได้อย่างมีเอกลักษณ์<br />

ดังนั้น คติการทำธาตุปูนถังน้ำเท่าที่เหลือให้ศึกษาทั้งจากภาพถ่ายเอกสารอ้างอิง และสิ่ง<br />

ปลูกสร้างจริงที่พอสืบเสาะหาได้อาจสรุปในเบื้องต้นนี้ได้ว่า เป็นรสนิยมเฉพาะของคนท้อง<br />

ถิ่นที่ผสานส่งต่อให้กับกลุ่มสายสกุลช่างญวนในแถบเมืองกาฬสินธุ์ที่ได้สร้างสรรค์จนกลาย<br />

มาเป็นอีกเอกลักษณ์หนึ่งของลักษณะธาตุสามัญชน ดังที่ได้นำเสนอไว้ในเนื้อหา หรือจะเป็น<br />

แบบที่ใช้โอ่งน้ำขนาดใหญ่ประกอบสร้างร่วมกับธาตุปูนของผู้วายชนม์ซึ่งทั้งหมดเป็นคติการ<br />

สร้างธาตุในระดับชาวบ้านที่น่าสนใจ สะท้อนการผสานเชื่อมส่งต่อเป็นพลังชีวิตระหว่างโลก<br />

ของคนเป็นและคนตาย เช่นการแก้ปัญหาเรื่องของปากท้องอย่างปัจจัยเรื่องน้ำในการดำรง<br />

ชีพ ร่วมกับคติความเชื่อหลังความตาย ก่อเกิดเป็นรสนิยมความชอบในเชิงช่างเฉพาะถิ่นที่มี<br />

เอกลักษณ์เฉพาะตนในห้วงเวลาหนึ่งๆ แห่งอดีตสมัยไทยอีสานบ้านเฮา<br />

* ผู้เขียน ดร.ติ ๊ก แสนบุญ คณะศิลปประยุกต์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

อุบลราชธานี<br />

The water tank tombs were created from the combination between the belief and<br />

craftsmanship. The tradition of building a tomb for the dead added with the lack of<br />

water in the area might be the main factors for creating the new useful innovation. At<br />

that time Vietnamese craftsmen influenced the construction industry in E-San area<br />

and it was also the time of the change about materials, from wood to concrete. With<br />

all those reasons, the water tank tombs were built to satisfy traditional beliefs, the<br />

need of water in the area, and most of them were built in public space like in temples<br />

to serve the community.<br />

The conclusion from studying photographs, some documents and the remaining<br />

tombs can tell us that the water tank tombs were built from specific local need combined<br />

with the knowledge of ancient Vietnamese craftsmen in Kalasin province. Some<br />

of these architectures are big water urns attached with the tomb of the dead which<br />

all are very interesting local ideas. This can also reflect the local belief about the<br />

connection between the worlds of the living and the dead. To serve the need of water<br />

for the living and the belief of life after death caused the unique local trend of architecture<br />

in our homeland, E-San.<br />

The author : Dr. Tik Sanboon, The faculty of applied art and architecture, Ubol ratchathani<br />

University.<br />

- 28 -<br />

- 29 -<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!