04.07.2018 Views

ASA CREW VOL.9

E-SAN FUTURE

E-SAN FUTURE

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

่<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2559-2561<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา / Chairman of Northern Region (Lanna)<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน / Chairman of Northeastern Region (E-San)<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ / Chairman of Southern Region (Taksin)<br />

<strong>ASA</strong><br />

BOARD<br />

นายกสมาคม / President<br />

อุปนายก / Vice President<br />

OF DIREC-<br />

เลขาธิการ / Secretary General<br />

นายทะเบียน / Honorary Registrar<br />

TORS<br />

เหรัญญิก / Honorary Treasurer<br />

ปฏิคม / Social Event Director<br />

ประชาสัมพันธ์ / Public Relations Director<br />

กรรมการกลาง / Executive Committee<br />

<strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong><br />

EDITORIAL<br />

DEPART-<br />

MENTS<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

248/1 ซอยศูนย์วิจัย 4 ถนนพระรามที ่ 9 แขวงบางกะปิ<br />

เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310<br />

The Association of Siamese Architects Under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4, Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok, 10310 Thailand<br />

Tel: 0-2319-6555 Fax: 0-2319-6555 press 120 or 0-2319-6419<br />

www.asa.co.th / Facebook : asacrew / Email: asacrewmag@gmail.com<br />

COVER<br />

CONCEPT<br />

อีสานในอนาคต<br />

อัชชพล ดุสิตนานนท์ / Ajaphol Dusitnanond<br />

เมธี รัศมีวิจิตรไพศาล / Metee Rasameevijitpisal<br />

ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์ / Asst.Prof.Thana Chirapiwat, Ph.D.<br />

ผศ.สุดจิต สนั่นไหว / Asst.Prof.Sudjit Sananwai<br />

ผศ.กิจโชติ นันทนสิริวิกรม / Asst.Prof.Quijxote Nuntanasirivikrom<br />

ปรีชา นวประภากุล / Preecha Navaprapakul<br />

ชาติเฉลิม เกลียวปฏินนท์ / Chartchalerm Klieopatinon<br />

พ.ต.ท.สักรินทร์ เขียวเซ็น / Pol.Lt.Col.Sakarin Khiewsen<br />

ภิรวดี ชูประวัติ / Pirawadee Chuprawat<br />

ทรงพจน์ สายสืบ / Songpot Saisueb<br />

ผศ.ดร.สุรพงษ์ เลิศสิทธิชัย / Asst.Prof.Surapong Lertsithichai, Ph.D.<br />

พ.ต.ท.ดร.บัณฑิต ประดับสุข / Pol.Lt.Col.Bundit Pradabsook, Ph.D.<br />

ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ / M.L.Varudh Varavarn<br />

ผศ.ดร.ณัฐวุฒิ อัศวโกวิทวงศ์ / Asst.Prof.Nattawut Usavagovitwong, Ph.D.<br />

ณคุณ กนลมาศ / Nakhun Kumnolmas<br />

ขวัญชัย สุธรรมซาว / Khwanchai Suthamsao<br />

ผศ.สุรศักดิ์ โล่ห์วนิชชัย / Asst.Prof.Surasak Lowanitchai<br />

วิวัฒน์ จิตนวล / Wiwat Chitnuan<br />

กองบรรณาธิการอาษาครู<br />

บรรณาธิการบริหาร / Editor-in-Chief<br />

บรรณาธิการ / Editor<br />

กองบรรณาธิการ / Editorial Staffs<br />

บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ / Art Director<br />

กองบรรณาธิการฝ่ายศิลป์ / Art Editorial Staff<br />

กองบรรณาธิการ โซเชียลมีเดีย / Social Media Staff<br />

นักแปล / Translator<br />

การตลาด / Marketing<br />

พิมพ์โดย / Printed By<br />

อีสานในอนาคตที่อาศัยภูมิปัญญาท้องถิ ่นในอดีต เพื่อขับเคลื่อนไปสู่อนาคต<br />

เป็นแนวคิดหลักในการออกแบบปกวารสาร<br />

ฉบับนี ้ โดยอาศัย<br />

องค์ประกอบศิลป์เชิงสัญญะจากสิ ่งซึ่งอยู่คู่กับวิถีชีวิตชาวอีสาน นั ่นคือการทอผ้า<br />

โดยเฉพาะผ้าขาวม้าที ่เป็นผ้าอเนกประสงค์ของชาวอีสาน เป็นภูมิปัญญาที<br />

สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ การวางโครงสีที ่หลากหลายจากลวดลายและสีสันผ้า<br />

อีสานโดยให้มีความร่วมสมัยยิ ่งขึ้น ด้วยการลดทอนลายละเอียดแต่ยังคงสื่อสาร<br />

โดยเน้นอารมณ์ความรู้สึกที่สนุกสนานแบบของวิถีชีวิตชาวอีสาน ผสมผสานกับ<br />

แนวคิดการเติบโตของจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดขอนแก่นที่เป็นเนื้อหาหลัก<br />

ภายในเล่ม ด้วยการวางตำแหน่งเชิงสัญลักษณ์ตามพิกัดในลักษณะเชิงภูมิศาสตร์<br />

เพื ่อสื ่อความหมายถึงการเชื ่อมโยงและขยายตัวของเมืองที ่เติบโตและเต็มเปี ่ ยม<br />

ไปด้วยศักยภาพของภาคตะวันออกเฉียงเหนือในอนาคต<br />

วีรพล เจียมวิสุทธิ์ / Werapon Chiemvisudhi<br />

บรรณาธิการฝ่ายศิลป์ และอาจารย์ด้านกราฟิกดีไซน์<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<br />

ผศ.ดร.กมล จิราพงษ์ / Asst.Prof.Kamon Jirapong, Ph.D.<br />

รติรัตน์ นิมิตรบรรณสาร / Ratirat Nimitrabannasarn<br />

ยินดี พุฒศิรยากร / Yindee Phuttasirayakorn<br />

วีรภา ดำสนิท/ Weerapa Dumsanit<br />

ณฤทัย เรียงเครือ-อิเดอมา / Narutai Riangkruar-Idema<br />

วีรพล เจียมวิสุทธิ์ / Werapon Chiemvisudhi<br />

เพ็ญประภา ศรีเสน่ห์ / Penprapa Srisane<br />

พิมพ์ชนก ดำสนิท / Pimchanok Dumsanit<br />

นิศาชล บุญช่วยคุ้ม / Nisachon Boonchuaykum<br />

พิมพ์วิมล วงศ์สมุทร / Pimwimol Wongsamut<br />

เค.ซี.เพรส / K.C.PRESS<br />

E-San FUTURE<br />

59.2 gsm<br />

www.papergreen.co.th<br />

02-682-8852-4<br />

E-San of the future will rely on its own local wisdoms of to achieve all aspects<br />

of progress. Among the adaptation of the region’s local eclectic know-is the<br />

incorporation of the symbolic elements of a local textile, particularly the loin<br />

cloth known as Pa Khao Ma, which has always been an integral part of the<br />

E-San way of life through generations. The multifunctional cloth contains highly<br />

diverse color compositions and as the contemporary time brings the more<br />

contemporary design, the details and patterns are simplified with the E-San<br />

spirit still celebrated. Featured as the main content of the issue is the combined<br />

elements of E-San locality and the emerging development concepts surrounding<br />

Khon Kaen and Nakornratchasima, two of the region’s important city.<br />

The design symbolically presents the region’s geographical characteristics<br />

into a series of coordinates, conveying the flourishing urban connection and<br />

expansion of E-San cities and their potential.<br />

CONTENTS<br />

06 10 12<br />

<strong>ASA</strong> UPDATE<br />

(New) Vemacular Living Exhbition<br />

in Architect Expo’61<br />

นิทรรศการ (New) Vernacular<br />

living งานสถาปนิก’61<br />

16 24 25 26<br />

COVER STORY<br />

E-San future<br />

อีสาน ฟิวเจอร์<br />

30<br />

TRAVEL<br />

Back to Origin<br />

เที่ยวไปในตัวตน<br />

SPOTLIGHT<br />

Mr. Sathirat Tantanan<br />

The Challenging Role on<br />

International Stage<br />

สถิรัตร์ ตัณฑนันทน์<br />

บทบาทท้าทายบนเวทีสากล<br />

สำรวจ “อีสำาน ฟิวเจอร์”<br />

หลังจากสมาคมสถาปนิกสยามฯ​ ตั้งใจนำเสนอเรื่องราวสถาปัตยกรรมในภูมิภาคมาแล้ว 2 ฉบับ<br />

เริ่มตั้งแต่ภาคเหนือ ต่อด้วยภาคใต้ฉบับนี้เราจะปิดท้ายด้วยภาคอีสาน ภูมิภาคที่กำลังจะเปลี่ยนโฉมหน้า<br />

ไปอย่างมากในอนาคตอันไม่ไกลนับจากนี้ กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน สมาคมสถาปนิกสยามฯ จะพา<br />

คุณผู้อ่านไปสำรวจอีสานวันนี้ที่กำลังจะเปลี่ยนไป โฉมหน้าอนาคตของอีสานจะเป็นอย่างไร และสถาปนิก<br />

อีสานควรมีบทบาทอย่างไรกับการพัฒนาในครั้งนี้ ไม่อยากให้พลาดจริงๆ ครับ<br />

Exploring the ‘E-San Future’<br />

INTERVIEW<br />

A talk with E-San Architects<br />

คุยกับสถาปนิกอีสาน<br />

34<br />

CUISINE<br />

Exploring the taste of<br />

Isan today<br />

สำ รวจรสชาติของอีสานในวันนี้<br />

<strong>ASA</strong> WORLD<br />

When I study architecture in<br />

Finland The country with the<br />

world’s best education system<br />

เมื่อฉันไปเรียนสถาปัตย์ที่ฟินแลนด์<br />

ประเทศที่มีการศึกษาดีที่สุดในโลก<br />

DETAILS<br />

Carnavalet<br />

แลนด์มาร์กใหม่ของโคราช<br />

37<br />

FILM<br />

Villains We Love to Hate<br />

รักเพราะร้าย<br />

ผศ.ดร.กมล จิราพงษ์<br />

บรรณาธิการบริหาร<br />

asacrewmag@gmail.com<br />

After the Association of Siamese Architects under Royal Patronage’s intention to feature<br />

the intriguing vernacular architecture of Thailand’s regions in the past two issues beginning<br />

with the north and followed by the south, to end the series, we bring you many stories about<br />

the then, the now and the future of E-San (northeastern region). With the northeastern territory<br />

preparing to cope with many significant transformations in the near future to come, the<br />

Commission of E-San Architects takes you on a journey to explore the contemporary E-San<br />

and the changes coming its way. What will the face of future E-San look like and what should<br />

be the role of E-San architects in this monumental development? Don’t miss.<br />

Asst.Prof.Kamon Jirapong, Ph.D.<br />

Editor-in-Chief<br />

asacrewmag@gmail.com<br />

14<br />

TIPS<br />

Alternative Dwellings Soil and<br />

Bamboo Natural Innovation<br />

from the Past to the Future<br />

บ้านทางเลือก ดิน และไม้ไผ่<br />

นวัตกรรมธรรมชาติจากอดีตสู่อนาคต<br />

CLASSIC<br />

E-SAN CLASSIC<br />

Exploring the valuable ancient<br />

architecture which fully<br />

maintains E-San being<br />

สำ รวจสถาปัตยกรรมเก่าแก่ทรง<br />

คุณค่าที่เชื่อมโยงความเป็นอีสาน<br />

ดั้งเดิมไว้เต็มเปี่ยม<br />

CONTRIBUTORS<br />

กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

Commissioner of E-San Architects<br />

ฉบับนี้ได้รับเกียรติจากทีมสถาปนิกอีสานมา<br />

นำเสนอแง่มุมที่น่าสนใจของวงการสถาปัตยกรรมในภูมิภาคนี้<br />

E-SAN ซึ่งกำลังจะมีการเปลี่ยนแปลงขนานใหญ่ด้วยการมาถึงของ<br />

ระบบขนส่งสาธารณะขนาดใหญ่ที่จะทำให้ภูมิภาคแห่งนี้พลิกโฉมเข้าสู่สังคมเมือง<br />

โฉมหน้าฟิวเจอร์ของอีสานจะเป็นอย่างไรและสถาปนิกอีสานควรมีบทบาทอย่างไร<br />

กับการพัฒนาในครั้งนี้พลิกอ่านกันได้ในคอลัมน์Cover Story รวมทั้งคอลัมน์อื่นๆ<br />

ที่น่าสนใจไม่แพ้กันอย่าง Details, Cover Story, Interview, Classic, Travel และ<br />

Cuisine<br />

This issue of<br />

features some very interesting insights<br />

from the architects of E-San about the present and future of architecture<br />

in the northeastern part of Thailand as the region is expecting<br />

the arrival of mega transportation infrastructures that will transform<br />

this vast rural land of the country into an urbanized society. What<br />

the future holds for E-San and how can the architects of E-San take<br />

part in the development, read all about it in our Cover Story piece<br />

with many other interesting contents from this issue’s columns from<br />

Details, Classic, Travel, Interviews to Cuisine.<br />

C1 : พนินทร โชคประเสริฐถาวร<br />

<strong>ASA</strong> WORLD<br />

Panintorn Chokprasertthaworn<br />

บัณฑิตจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากรที่ยังคงหลงรักและตื่นเต้น<br />

กับการดูงานสถาปัตยกรรมอยู่ทุกครั้ง แต่ด้วย<br />

ความต้องการศึกษาสาขาที่เพิ่มเติมความรู้ใน<br />

อีกศาสตร์ เพื่อต่อยอดให้กับการทำงานด้าน<br />

สถาปัตย์ จึงบินลัดฟ้าไปเรียนต่อปริญญาโท<br />

ด้าน Construction and Real Estate Management<br />

(ConREM) ซึ่งเป็นคอร์สของมหาวิทยาลัย HTW Berlin เปิดร่วมกับ Helsinki<br />

Metropolia ฉบับนี้เธอจะมาถ่ายทอดประสบการณ์การเรียนหลักสูตรดังกล่าว<br />

ในดินแดนสองประเทศ อย่างฟินแลนด์และเยอรมนี<br />

The passion and love this architecture graduate from Silpakorn<br />

University has for architecture never wears off. With her desire to<br />

further expand the spectrum of her architectural knowledge, Panintorn<br />

travels across the world to pursue her master degree education. She<br />

enrolls in Construction and Real Estate Management (ConREM), the<br />

course provided by the renowned education institute, HTW Berline<br />

and Helsinki Metropolia. She will be sharing her experience studying<br />

the curriculum in Finland and Germany with us in this issue of<br />

TIPS<br />

C2 : ธนา อุทัยภัตรากูร<br />

Thana Uthaipattrakoon<br />

จบการศึกษาปริญญาตรีคณะสถาปัตยกรรม-<br />

ศาสตร์บัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรม มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร และปริญญาโทสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาบัณฑิต สาขาสถาปัตยกรรมเพื่อชุมชนและ<br />

สิ่งแวดล้อม ปัจจุบันด ำรงตำแหน่งอาจารย์ประจำ<br />

ภาควิชาสถาปัตยกรรมเพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม<br />

สถาบันอาศรมศิลป์ผู้เชี่ยวชาญการทำบ้านดิน<br />

และอาคารไม้ไผ่ ผ่านการทำงานเป็นวิทยากร<br />

ผู้จัดการโครงการ และสร้างเครือข่ายบ้านดินทั่วประเทศรวมทั้งการศึกษาออกแบบ<br />

ก่อสร้างอาคารไม้ไผ่ที่สถาบันอาศรมศิลป์<br />

With a bachelor degree in architecture from the Faculty of<br />

Architecture of Silpakorn University and master degree in Architecture<br />

for the Community and Environment, Thana Uthaipattrakoon is<br />

currently working as one of the professors in the Department of<br />

Architecture for the Community and Environment of Arsom Silp<br />

Institute of the Arts. He is also an expert, earth house and bamboo<br />

structure design who still continues to pursue his knowledge in the<br />

study of bamboo architecture with extensive experience as a lecturer<br />

and a facilitator of earth house projects and earth house network<br />

nationwide.<br />

C3 : ณฤทัย เรียงเครือ<br />

FILM<br />

Narutai Riangkruar<br />

จากบัณฑิตคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์สถาบัน<br />

เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

ที่คิดว่าการเขียน การอ่านไม่สำคัญสำหรับงาน<br />

สถาปัตยกรรม กลายเป็นหลงใหลทฤษฎีสถาปัตย-<br />

กรรม ประวัติศาสตร์โลกและปรัชญาการออกแบบ<br />

เพราะเชื่อว่าความเคลื่อนไหวทางสังคมเป็นสิ่ง<br />

หล่อหลอมมนุษย์ผู้สร้างสถาปัตยกรรมที่สะท้อน<br />

จิตวิญญาณ และอุดมการณ์ของสังคมหนึ่งๆ จึงเดินทางไปเรียนต่อที่ Delft<br />

University of Technology ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในทวีปเล็กๆ ที่สร้างสรรค์สิ่ง<br />

ประดิษฐ์ และแนวความคิดเปลี่ยนโลกมากมาย เพื่อหวังจะเข้าใจที่มาที่ไปของ<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรมแต่ละยุค และเข้าใจสังคมที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง<br />

เหล่านั้น ปัจจุบันได้นำความรู้และประสบการณ์ที่ได้มาถ่ายทอดให้กับนักศึกษา<br />

โดยหวังว่าคงจะได้เปิดมุมมองสู่โลกกว้างให้พวกเขาได้ออกไปค้นหา และพบ<br />

เจอทิศทางการออกแบบของตนเอง<br />

From an architecture graduate from King Mongkut’s Institute<br />

of Technology Ladkrabang who used to think that reading wasn’t<br />

important to the creation of architecture to an architectural theories,<br />

world history and design philosophy enthusiast, Narutai believes in<br />

the power of social movements and their ability to enlighten human<br />

beings who are the creator of architecture-the creation that reflects<br />

a society’s spirit and ideology. Narutai furthers her education at Delft<br />

University of Technology in the Netherlands, a country on a small<br />

continent that originates countless world-changing inventions and<br />

ideas. Her hope is to be able to understand the origin and history of<br />

architecture from each different period as well as to attain a better<br />

comprehension about the society from which such changes are<br />

generated. Her accumulating knowledge is now being transmitted to<br />

her students as she hopes to help broaden their perspective and<br />

encourage them to explore and discover their own design direction.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!