04.07.2018 Views

ASA CREW VOL.9

E-SAN FUTURE

E-SAN FUTURE

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เรื่อง :<br />

E-SAN<br />

INTERVIEW<br />

DETAIL<br />

เรื่อง :<br />

E-SAN<br />

A talk with E-San Architects<br />

คุยกับสถาปนิกอีสาน<br />

อาจารย์เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี<br />

ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมไทย) พ.ศ.2553<br />

Carnavalet<br />

แลนด์มาร์กใหม่ของโคราช<br />

รศ.ดร.ธิติ เฮงรัศมี<br />

อดีตประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

“บทบาทของสถาปนิกปัจจุบันต้องเตรียมพร้อมและรับรู้ในความเจริญในทุกมิติในยุค 4.0<br />

นี้ซึ่งจะมีระบบขนส่งขนาดใหญ่เข้ามาในภูมิภาค จะทำให้มีการเปลี่ยนแปลงในด้านเศรษฐกิจ<br />

ชุมชนเมือง โดยจะเกิดการกระจายความเจริญของชุมชนเมืองออกเป็นกลุ่มๆ จากศูนย์กลาง<br />

ของเมือง ฉะนั้นต้องเตรียมวางแผนออกแบบชุมชนเมืองตามหลักการโซนนิ่งของผังเมือง เน้น<br />

การขยายสาธารณูปโภคแบบเบ็ดเสร็จในแต่ละชุมชน โดยพิจารณาการจราจรแบบระบบ<br />

ผ่านเมือง (Thru Traffic) ที่สามารถติดต่อเข้าถึงชุมชนต่างๆ ได้สะดวก ตลอดจนกำหนดจุด<br />

กระจายสินค้าแต่ละแห่งตามสภาพ”<br />

“สาเหตุสำคัญของความเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยอย่างรวดเร็วในอดีตที่ผ่านมา ประการ<br />

หนึ่งมาจากการสื่อสาร การคมนาคมที่ทันสมัยและรวดเร็ว ระบบการคมนาคมขนส่งที่เชื่อม<br />

โยงระหว่างภูมิภาคต่างๆ มิได้เพียงมาสู่อีสานเท่านั้น แต่เชื่อมโยงไปยังประเทศเพื่อนบ้านใกล้<br />

เคียง เช่น ลาว เวียดนาม เขมร ซึ่งสถาปนิกอีสานมีช่องทาง และโอกาสในการประกอบวิชาชีพ<br />

เพื่อตอบสนองต่อความเจริญก้าวหน้าทางธุรกิจการบริการในภูมิภาคมากขึ้นทั้งยังมีโอกาสที่จะ<br />

ได้เปิดตลาดงานในประเทศเพื่อนบ้านมากขึ้น”<br />

“One of the major causes behind the drastic changes in Thai society in the past<br />

several years is the modern communication and transportation technology. The transportation<br />

system has been developed to connect different regions, not only to E-San<br />

but to the neighbor countries such as Laos, Vietnam and Cambodia. The architects<br />

working in the northeastern region have different ways and opportunities to create<br />

“The role of today’s architects and how architectural professionals need to be prepared<br />

works that resonate with the region’s progressing hospitality services, not to mention the<br />

and aware of every aspect of development in the 4.0 era, especially with the coming of mega<br />

chance to expand the market into the neighbor countries. The practice of architectural<br />

transport infrastructures in the region, which will bring significant change to the local and<br />

profession, therefore, requires a high level of professionalism, in order to attain greater<br />

regional economy and society. He suggests that Thru Traffic system should be put into<br />

recognition and acceptance from the potential clients as well as the general public.”<br />

consideration in order to facilitate the connection between local roadways and local communities<br />

to the new infrastructures whereas goods distribution centers should be carefully<br />

and appropriately located. As for architects, it’s their responsibility to constantly keep up<br />

with changes in the society and develop their knowledge to stay relevant and up to date.”<br />

ธานี คล่องณรงค์<br />

หัวหน้าส่วนอาคารสถานที่ สนักงานอธิการบดี<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี<br />

“ปัจจุบันได้เกิดโครงการ Mega Project ในภูมิภาคอีสาน โดยเฉพาะที่จังหวัดนครราชสีมา<br />

ซึ่งเป็นจุด Hub ที่สำคัญ เช่น โครงการมอเตอร์เวย์ รถไฟความเร็วสูง รถไฟฟ้าทางคู่ ทำให้เกิด<br />

การลงทุนและโครงการก่อสร้างมากมายในจังหวัด ทั้งในส่วนของภาครัฐและเอกชน ซึ่งมีผลต่อ<br />

การย้ายถิ่นฐานของประชากรเข้าสู่เมือง ทำให้เกิดความหนาแน่นของประชากรในเขตเมือง<br />

ซึ่งอาจจะส่งผลต่อปัญหาโครงสร้างพื้นฐานของเมืองที่ตามไม่ทันในอนาคต ทั้งระบบถนน<br />

และการขนส่ง ระบบน้ำประปา ระบบน้ำเสียและขยะ ดังนั้นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

ต้องเข้าใจบริบทสภาพปัจจุบันและอนาคตที่เปลี่ยนแปลงไป และใช้ทักษะด้านวิชาชีพให้เกิด<br />

ประโยชน์ต่อบริบทเหล่านั้น”<br />

“The imminent mega projects in E-SAN region, particularly Nakhon Ratchasima<br />

province, will become the designated transportation hub of double track railway, highspeed<br />

train network and motorway. This new role will bring massive investments and<br />

construction projects by both government and private sector to the province. The new<br />

development will eventually affect the province’s infrastructure such as roadway system,<br />

transport system, fresh water system, wastewater and waste system and for they won’t<br />

be able to accommodate such large scale projects. Architectural practitioners must be<br />

able to understand the current and future contexts and use their professional skills<br />

best benefit these contexts.”<br />

ผศ.ดร.ธราวุฒิ บุญเหลือ<br />

อาจารย์และนักวิจัย ศูนย์วิจัยและพัฒนาสร้างสรร<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและนฤมิตศิลป์<br />

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<br />

“ในการเรียนการสอนจำเป็นต้องสร้างจุดเด่น นอกจากทำงานได้จริงแล้ว ต้องมีองค์ความ<br />

รู้ต่างๆ ที่สามารถทำงานได้เลย จุดแข็งอีกอย่างที่สำคัญคือความอดทน บัณฑิตจากภาคอีสาน<br />

จะค่อนข้างอดทน ไม่เกี่ยงงาน เจียมเนื้อเจียมตัว ไม่เปลี่ยนงานบ่อยๆ แต่สถาบันก็ต้องแฝงด้วย<br />

จุดแข็งในเรื่องความรู้ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีที่ทันสมัย ซึ่งในยุคปัจจุบันคงหนีไม่พ้น<br />

ในเรื่องของ Building Information Modelling (BIM) จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนงบประมาณ<br />

ไม่ว่าจะฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ โดยต้องมีความร่วมมือสถาบันอบรม BIM ที่เป็นที่ยอมรับ<br />

ระดับนานาชาติเพราะรู้ว่าสิ่งนี้จะเป็นจุดแข็งของบัณฑิตเรา โดยแทรกแบบฝึกหัด เรื่องเหล่านี้<br />

ในหลายๆ วิชา และท้ายสุดไปใช้ในวิชาออกแบบสถาปัตยกรรม รวมถึงวิทยานิพนธ์ในระหว่าง<br />

การเรียน นอกจากนี้ได้จัดให้มีการอบรมเรื่อง BIM โดยผู้เชี่ยวชาญ และได้รับประกาศนียบัตร<br />

โดยสถาบันที่ยอมรับ ทำให้บัณฑิตมีโอกาสได้รับการคัดเลือกไปทำงานในบริษัทชั้นนำของ<br />

ประเทศ ซึ่งเป็นเรื่องยากที่บริษัทชั้นน ำเหล่านั้นจะยอมรับบัณฑิตที่ยังไม่มีประสบการณ์การเลย<br />

เข้าทำงาน แต่เนื่องด้วยจากจุดแข็งตรงนี้ ทำให้บัณฑิตได้มีโอกาสในการคัดเลือก”<br />

“A student needs to develop a strong character, and is able to perform professionally<br />

with enough knowledge to start working as a professional archtiect. Another important<br />

strong point is patience. Students from E-San region are patient, hardworking and humble<br />

individuals. They don’t change job regularly. But education institutes need to develop their<br />

ability to use new, modern technology such as Building Information Modelling (BIM), which<br />

has become inevitable tool in today’s construction industry. Receiving sufficient financial<br />

support is crucial for such skill to be obtained for it’s necessary to have sufficient hardware<br />

and software including the collaboration with internationally standardized BIM training<br />

institutions. This skill will become another strength of our graduates. BIM exercises are<br />

integrated in several subjects before it is put into actual use when the students begin to<br />

study architectural design subject, and with their theses. The university has organized BIM<br />

training with experts invited with certificate being given to those who complete the course.<br />

This gives the graduates an upper hand when they apply for jobs in the country’s leading<br />

companies. It’s difficult for these high profile companies to hire a fresh graduate but with<br />

this skill being the strength, our graduates have more chance of being hired.”<br />

The New Landmark in Korat<br />

“ผมอยากได้อาคารที่ไม่เหมือนใครและไม่เคยมีใครทำ<br />

มาก่อน” นี่เป็นประโยคแรกของเจ้าของโครงการที่บอกกับเรา<br />

โดยเมื่อวิเคราะห์ที่ตั้งโดยรอบของบริบทพบว่าพื้นที่นี้เป็น<br />

ย่านขยายใหม่ของตัวเมืองที่ถูกวางให้เป็นย่านเศรษฐกิจ<br />

ใหม่ ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มอาคารที่พักอาศัย คอนโดมิเนียม<br />

สถานศึกษา ย่านพาณิชยกรรม และร้านค้าที่อยู่บนถนน<br />

City Link กลางเมืองโคราช ทำให้การออกแบบอาคารมี<br />

เป้าหมายที่แสดงตัวตนในการเป็น New Landmark เพื่อ<br />

สร้างความจดจำของผู้คนที่เข้ามาสู่พื้นที่ย่านขยายตัวใหม่นี้<br />

ผ่านตัวสถาปัตยกรรม<br />

การออกแบบมีทิศทางในการเลือกรูปทรงที่เรียบง่ายที่เป็น<br />

สัญลักษณ์ใหม่ต่อผู้คนและเมืองเพื่อให้เกิดความความหมาย<br />

ทั้งเชิงการค้าที่เป็นร้านอาหารที่มีการผสมผสานระหว่าง<br />

อาหารและเครื่องดื่มทั้งจากไทยและไวน์นำเข้าจากต่าง<br />

ประเทศ ดังนั้นรูปทรงจุกค็อกไวน์จึงเป็นตัวที่สื่อสาร ทั้งรูป<br />

ทรงอาคารภายนอกและการออกแบบภายในนั้นเป็นการใช้<br />

พื้นที่ใช้สอยที่สะท้อนถึงการกินอาหารและเครื่องดื่มในรูป<br />

ทรงถังไวน์ โดยลักษณะของการออกแบบพื้นที่ที่โอ่โถงและ<br />

พื้นที่ภายในที่เปิดโล่งเป็น Double Space ถูกซ่อนจากรูป<br />

ทรงอาคารภายนอก<br />

การออกแบบยังเลือกใช้วัสดุหินธรรมชาติที่หาได้ใน<br />

พื้นที่ใกล้เคียง เพื่อให้ตัวอาคารมีความสอดคล้องกับความ<br />

เป็นถิ่นที่ของโคราช โดยการคัดสรรวัสดุและทำการประยุกต์<br />

ใช้ทั้งในส่วนภายนอกอาคารและพื้นที่ภายใน ไม่ว่าจะเป็น<br />

ผนังอุโมงค์ทางเข้าหลัก พื้นที่ต้อนรับ เคาน์เตอร์หินดำ พื้นที่<br />

ไวน์ ห้องเก็บไวน์ แนวผนังโค้งที่เป็นอุโมงค์ทางเข้าห้องน้ำ<br />

ทำให้เกิดความต่อเนื่องกันทั้งรูปทรงภายนอกและที่ว่าง<br />

ภายในที่มีการออกแบบแสงสว่างของอาคารมีความลุ่มลึก<br />

ของการเข้าถึงพื้นที่กินอาหารเครื่องดื่ม และพื้นที่นันทนาการ<br />

ทำให้สร้างบรรยากาศให้กับทั้งผู้คนที่เข้ามาใช้งานในตัว<br />

อาคารและผ่านไปมาได้เป็นอย่างดี นั่นคืออีกความสำเร็จ<br />

หนึ่งของการออกแบบสถาปัตยกรรม เพื่อการสร้างประสบ<br />

การณ์ใหม่ๆ ให้กับเมืองมากกว่าการวางตัวเอง เพื่อเป็น<br />

อาคารสำหรับทำธุรกิจร้านอาหารเพียงเท่านั้น<br />

“I want a new unique building which no one has<br />

ever built before.” That was the words the project owner<br />

told us. After doing site analysis, we found out that the<br />

site locates in new expanded area of the city which is<br />

planned to be the new commercial zone. The surrounding<br />

are residential buildings, condominiums, school,<br />

commercial cluster and some stores on the City Link<br />

road. So it was intended to design a new architectural<br />

landmark to be remarkable for people in the area.<br />

The trend of design is to use simple form to be<br />

symbolic for people and the city. And to reflect the<br />

commercial meaning of a restaurant which serves Thai<br />

food and imported win, the form of the building is<br />

designed to look like a cork of a wine bottle. The interior<br />

design provides the atmosphere of dining inside the<br />

wine barrel with the grand double space hidden inside<br />

the building.<br />

The local natural stones were chosen to relate the<br />

building to local Korat surrounding. Materials are well<br />

chosen for each part of building, such as the façade,<br />

main entrance wall, reception area, wine cellar, and<br />

tunnel to toilets, to continue the feeling from the<br />

outside into the inside. The lighting design for dining<br />

and recreation area makes good ambience for visitors<br />

and people who passing by. This is another success<br />

architecture which creates the new experience for the<br />

city further than just being a building for catering<br />

business.<br />

Carnavalet<br />

ที่ตั้ง: 1714/2 ถ.มานะศิลป์ ต.ในเมือง อ.เมืองนครราชสีมา<br />

จ.นครราชสีมา<br />

ออกแบบ: THstudio Architects<br />

(ศุภชัย ชัยจันทร์ และดวงนภา ศิลปะสาย)<br />

Location: 1714/2 Manasilp road, Nai Muang subdistrict,<br />

Muang district, Nakornratchasima province<br />

Designer: THstudio by Mr.Supachai Chaijan and<br />

Ms.Duangnapa Silapasai<br />

- 24 -<br />

- 25 -<br />

MAR-APRIL 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL 2018 - ISSUE 09

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!