04.07.2018 Views

ASA CREW VOL.9

E-SAN FUTURE

E-SAN FUTURE

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เรื่อง :<br />

E-SAN<br />

TRAVEL<br />

Back to Origin<br />

เที่ยวไปในตัวตน<br />

ว่ากันว่าการรู้จักตัวตนที่ดีที่สุดคือการย้อนกลับไปทำความรู้จักถึงแหล่งกำเนิด ฉบับนี้เรา<br />

จะพาคุณไปเที่ยวภาคอีสานในอีกแง่มุม ผ่านการเรียนรู้วิถีชีวิตและวัฒนธรรมท้องถิ่นในชุมชน<br />

ยวนสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา และศูนย์วัฒนธรรมไทย-จีน ศูนย์รวมจิตใจของชาวไทยเชื้อสาย<br />

จีนในจังหวัดอุดรธานี<br />

It is said the best way to know yourself is to go back to learn from the origin. <strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong><br />

will take you to visit Isan region (the northeast region) through a different point of view. You will<br />

learn about life style and culture of people in Yuan Sikhio community in Nakorn Ratchasima<br />

province and take a visit at Thai – Chinese culture center in Udonthani province.<br />

วัดของชาวยวนสีคิ้วมีลักษณะโดยรวมคล้ายคลึงกับวัด<br />

ในภาคอีสานทั่วไป โบสถ์รุ่นเก่าแก่ที่สุดที่ปรากฏในชุมชนถูก<br />

ก่อสร้างอย่างเรียบง่ายด้วยงานช่างฝีมือท้องถิ่นผสมผสานกับ<br />

วัฒนธรรมที่หลากหลาย บางแห่งมีการประดับตกแต่งอย่าง<br />

ประณีต บางแห่งยังปรากฏพระธาตุทรงบัวเหลี่ยมแบบอีสาน<br />

และพบคติการบูชารอยพระพุทธบาทและประเพณีการตักบาตร<br />

ด้วยดอกไม้ในวันเข้าพรรษา ซึ่งเกี่ยวพันกับประเพณีของเมือง<br />

สระบุรี นอกจากนี้ยังปรากฏร่องรอยความเชื่อดั้งเดิมเกี่ยวกับ<br />

สิ่งลึกลับเหนือธรรมชาติแทรกตัวอยู่ในชุมชนวัฒนธรรมแห่งนี้<br />

อย่างแนบแน่น<br />

ชุมชนยวนสีคิ้วจึงเป็นตัวอย่างหนึ่งของชุมชนชาติพันธุ์<br />

ในความเป็นพหุสังคมของภาคอีสาน นอกเหนือจากการเรียน<br />

รู้ผ่านงานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นและสิ่งแวดล้อมสรรสร้างใน<br />

ชุมชนแล้ว การสัมผัสวิถีชีวิตของผู้คนในท้องถิ่นที่สื่อสารกัน<br />

ด้วยภาษาไทยถิ่นเหนือ แต่งกายด้วยผ้าทอพื้นเมือง และ<br />

สืบทอดประเพณีวัฒนธรรมดั้งเดิมภายใต้ความผสมผสาน<br />

ระหว่างวัฒนธรรมภาคอีสานและภาคกลางยังเป็นองค์ประกอบ<br />

สำคัญที่จะช่วยสร้างความประทับใจและประสบการณ์ที่ดีให้<br />

แก่นักเดินทางผู้มาเยี่ยมเยือนชุมชนแห่งนี้<br />

When Yuan people migrated into the area, they brought<br />

Yuan-Sikhio Community<br />

ชุมชนยวนสีคิ้ว : ร่องรอยล้านนาในแดนโคราช<br />

ชุมชนยวนสีคิ้วเป็นชุมชนของประชากรกลุ่มชาติพันธุ์ไต<br />

ยวน ซึ่งตั้งอยู่ในเขตอำเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา บรรพ<br />

ชนของคนกลุ่มนี้สืบเชื้อสายมาจากชาวยวนเมืองเชียงแสน<br />

(ในเขตจังหวัดเชียงราย) ซึ่งย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานในบริเวณ<br />

ลุ่มน้ำลำตะคอง เขตอำเภอสีคิ้ว ในสมัยรัชกาลที่2 แห่งกรุง<br />

รัตนโกสินทร์ ชุมชนแห่งนี้จึงมีวัฒนธรรมบางประการที่แตก<br />

ต่างจากสังคมแวดล้อมในภาคอีสาน รวมถึงปรากฏร่องรอย<br />

ทางสถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อมสรรสร้างที่โดดเด่น แม้ว่า<br />

จะดำรงอยู่ร่วมกันกับผู้คนในพื้นที่ชายขอบระหว่างภาคกลาง<br />

และภาคอีสานมายาวนานร่วม 200 ปี ในฐานะชุมชน “หน้า<br />

ด่าน” และ “ทางผ่าน”<br />

แต่เดิมพื้นที่บริเวณอำเภอสีคิ้วถือเป็นเขตชายป่าดง<br />

พญาไฟที่ทุรกันดาร และมีภูมิประเทศเป็นที่ลาดเชิงเขาจึงไม่<br />

เอื้อต่อการตั้งถิ่นฐานเป็นชุมชนเกษตรกรรมมากนักเมื่อชาว<br />

ยวนเข้ามาบุกเบิกที่ท ำกินในบริเวณนี้ได้นำภูมิปัญญาเหมือง<br />

ฝายและระหัดวิดน้ำเข้ามาพัฒนาเครือข่ายชลประทาน และ<br />

ขยายพื้นที่เพาะปลูกให้กว้างขวางมากขึ้น จนสามารถตั้ง<br />

ถิ่นฐานเป็นชุมชนเกษตรกรรมขนาดใหญ่ได้ ในปัจจุบันยัง<br />

ปรากฏร่องรอยเหมืองฝายโบราณหลายแห่ง ซึ่งมีคุณลักษณะ<br />

ที่สัมพันธ์กับภูมิปัญญาเหมืองฝายของล้านนา รวมถึงพบ<br />

การใช้ระหัดวิดน้ำอย่างแพร่หลายในบริเวณนี้<br />

ที่สำคัญคือลุ่มน้ำลำตะคองในเขตอำเภอสีคิ้ว เป็นพื้นที่<br />

ที่มีระหัดวิดน้ำปรากฏอยู่มากที่สุดในประเทศไทย ความ<br />

ชัดเจนของสิ่งแวดล้อมสรรสร้างทางการเกษตรเหล่านี้ชวนให้<br />

จินตนาการไปถึงระบบการทำนาทดน้ำสมัยโบราณของกลุ่ม<br />

คนผู้พูดภาษาตระกูลไทในเขตภูมิลักษณ์ภูเขาบริเวณตอน<br />

บนของภาคพื้นทวีปอุษาคเนย์<br />

สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นในชุมชนยวนสีคิ้วมีเรือนพักอาศัย<br />

ที่ปลูกสร้างตามแบบแผนวัฒนธรรมล้านนา ลักษณะเป็น<br />

“เรือนสองหลังร่วมพื้น” หรือ “เรือนสามหลังร่วมพื้น” วางตัว<br />

เรือนขวางตะวันเป็นเอกลักษณ์ แต่มีความผสมผสานกับ<br />

วัฒนธรรมภาคกลางและท้องถิ่นโคราช จนเกิดเป็นเรือนไต<br />

ยวนที่มีลักษณะโดดเด่น ปัจจุบันยังสามารถพบเห็นเรือนยวน<br />

สีคิ้วแทรกตัวอยู่ในเขตเทศบาลเมืองและหมู่บ้านชนบทต่างๆ<br />

โดยในพื้นที่ชนบทจะปรากฏเรือนเหล่านี้อยู่ท่ามกลาง<br />

บรรยากาศของชุมชนเกษตรกรรมแบบดั้งเดิม ในสมัยหลัง<br />

ชาวยวนสีคิ้วได้นิยมปลูกสร้างบ้านเรือนโดยวางอาคารตาม<br />

แนวตะวัน เพื่อให้สอดคล้องกับคติความเชื่อของคนกลุ่มใหญ่<br />

ในภาคอีสาน แต่ยังคงลักษณะสำคัญบางประการของเรือน<br />

แบบแผนล้านนาเอาไว้ แสดงให้เห็นถึงการปรับตัวเข้ากับ<br />

สังคมใหญ่อย่างยืดหยุ่นของชาวยวนสีคิ้วที่ดำเนินไปควบคู่<br />

กับการธำรงความเป็นตัวตนทางชาติพันธุ์<br />

the knowledge about mining, norias and dams to develop the<br />

irrigation system and expanded area for agriculture. There<br />

are still some wrecks of ancient dams which relate to the<br />

Laan Na dams. Many norias are found in the area as well.<br />

There are most norias along the Lum Takong River<br />

in Sikhio district. These irrigation environments remind<br />

us about the ancient rice farming system of Tai Group<br />

people who lived on the mountains in the northern part<br />

of Southeast Asia<br />

Yuan Sikhio community has its own local architecture<br />

which is residential buildings built in Laan Na style.<br />

Its outstanding character is the cluster of 2-3 houses<br />

connected on the same deck. The house is located<br />

perpendicular to the path of the sun (East-West axis).<br />

But there are some mixtures that blend them with central<br />

region culture and local Korat culture. Nowadays, we<br />

still can see some of these Yuan houses in the Town<br />

Municipality area and in some far villages. Later Yuan<br />

people usually locate their houses along the path of<br />

the sun to follow beliefs of most northeastern people<br />

but their houses still have the unique character of Laan<br />

Na dwellers. This shows that Yuan Sikhio people adapt<br />

themselves into the major society but still maintain their<br />

original identity.<br />

Temples in Yuan Sikhio community are alike other<br />

temples in the northeast region of Thailand. The oldest<br />

temple was built by local craftsmen with mixture of<br />

various cultures. There are some square based pagodas<br />

in Isan style as well. There are some traces of ancient<br />

traditions about showing respect to the Buddha’s foot<br />

print and tradition of giving flowers to monks on Khao<br />

Pansa Day the same as Saraburi’s tradition. And there are<br />

traces of paranormal beliefs in this community as well.<br />

Yuan Sikhio community is one ethnic community<br />

of northeastern people. Visitors will learn not only Yuan’s<br />

local architecture and creative environment, but they<br />

will also experience the local life style with local clothes,<br />

language, and some ancient traditions referring the<br />

combination between central and northeastern cultures<br />

when they come visit this interesting community.<br />

The Yuan-Sikhio Community is the neighborhood<br />

of Tai Yuan ethnic. It locates in Sikhio district, Nakorn<br />

Ratchasima province (Korat). Their ancestors derived<br />

from Yaun people of Chiang San (in Chiang Rai province)<br />

who migrated into Lum Takong Basin in Sikhio district<br />

in the reign of King Rama II.<br />

The Yuan-Sikhio Community is the neighborhood<br />

of Tai Yuan ethnic. It locates in Sikhio district, Nakorn<br />

Ratchasima province (Korat). Their ancestors derived<br />

from Yaun people of Chiang San (in Chiang Rai province)<br />

who migrated into Lum Takong Basin in Sikhio district<br />

in the reign of King Rama II. This community has some<br />

different culture from other northeastern people. They<br />

also have unique architecture and environment. Even<br />

though Yuan community has remained in the border<br />

land between the central region and the northeast region<br />

for over 200 years as a gateway, but it still can maintain<br />

its identity including with adaptation to be a part of<br />

Korat society.<br />

Sikhio district in the past was at the edge of Dong<br />

Phaya Fai forest. It was on the foot of the hill where<br />

was not proper for agricultural community.<br />

- 30 -<br />

- 31 -<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09<br />

MAY-APRIL MAY-JUNE 2018 - ISSUE 09

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!