11.05.2023 Views

ASA JOURNAL 11/2023

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Concrete / Concept<br />

/ Construction<br />

<strong>2023</strong>.Jan-Feb<br />

The Architectural Journal of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage


04 advertorial<br />

SHERA<br />

05<br />

เป็นพื้นที่แออัด การคำนึงถึงพื้นฐานฝีมือของทีมทหารช่างที่ต้อง<br />

เป็นวิธีการก่อสร้างที่เรียบง่าย และสามารถให้ผู้ลงมือหน้างาน<br />

ตัดสินใจได้ในทันที ไปจนถึงอุปสรรคในการก่อสร้าง ที่วัสดุและ<br />

เครื่องมือทั้งหมดจะต้องถูกขนย้ายด้วยกำลังคนและการเดินเท้า<br />

ไปตามทางเดินแออัดของชุมชนที่คับแคบเพียงเท่านั้น ทีมสถาปนิก<br />

จึงพัฒนาแบบให้เป็น Typical Detail ที่สามารถประยุกต์ใช้ได้กับ<br />

บ้านทุกหลัง มีรูปแบบการก่อสร้างที่เรียบง่ายและสามารถยืดหยุ่น<br />

ได้เมื่อมีปัญหาหน้างาน โดยโครงสร้างหลักของบ้านยังคงใช้<br />

มาตรฐานตามเฟสเริ่มต้น จากความร่วมมือของทีมวิศวกรจิตอาสา<br />

และใช้วิธีการนำเสนอความน่าสนใจผ่านรูปแบบของ facade ที่ห่อ-<br />

หุ้มโครงสร้างตัวบ้านเอาไว้ เพื่อลดภาระของงานละเอียดอ่อนใน<br />

เวลาเดียวกัน<br />

Klongtoey Low-Cost<br />

Micro Houses<br />

โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยให้กับพื้นที่ชุมชนคลองเตย หรือ<br />

Klongtoey Low-Cost Micro Houses คือโครงการเพื่อสังคมที่<br />

มูลนิธิเจริญโภคภัณฑ์ (CPF) และกองทัพภาคที่ 1 ได้ร่วมกัน<br />

พัฒนาและปรับปรุงพื้นที่อยู่อาศัยในชุมชนแออัดให้น่าอยู่ เป็น<br />

สัดส่วน ปลอดภัย สะอาด และถูกสุขลักษณะมากขึ้น ภายใต้<br />

รูปแบบของบ้านที่เรียบง่ายที่สุดและตอบโจทย์ความต้องการ<br />

ของผู้อาศัย ซึ่งการดำเนินโครงการในครั้งนี้ ได้มีการจัดทำขึ้น<br />

ในหลากหลายโซนภายในชุมชน และยังมีการแบ่งออกเป็นเฟส<br />

ต่างๆ โดยเฟสเริ่มต้น ได้แก่ เฟสที่ 1 และเฟสที่ 2 บ้านแต่ละหลัง<br />

ได้รับการออกแบบจากทางกองทัพบกทั้งหมด ในเฟสล่าสุด หรือ<br />

เฟสที่ 3 ทางมูลนิธิเจริญโภคภัณฑ์ (CPF) จึงได้ทาบทามให้ทีม<br />

สถาปนิก Vin Varavarn Architects (VVA) เข้ามาเป็นผู้พัฒนา<br />

แบบ เพื่อให้เกิดบ้านต้นแบบที่จะถูกนำไปปรับใช้กับเฟสอื่นๆ<br />

ในอนาคตได้อย่างเหมาะสม<br />

สำหรับการพัฒนาแบบและปรับปรุงบ้านจำนวน 47 หลัง ในเฟส<br />

ที่ 3 ทีมสถาปนิกจาก VVA ได้นำอ้างอิงการศึกษาข้อมูลจากเฟส<br />

เริ่มต้นมาประยุกต์ใช้และคำนึงในการออกแบบ โดยส่วนที่ยากและ<br />

เป็นตัวแปรของการออกแบบในครั้งนี้ คือข้อจ ำกัดนานับประการ<br />

ไม่ว่าจะเป็นการวัดพื้นที่จริงที่ไม่สามารถท ำได้อย่างแม่นยำเนื่องจาก<br />

The housing development project for the Klong Toei community<br />

area, or Klongtoey Low-Cost Micro Houses, is a social<br />

project that The Charoen Pokphand Foundation (CPF) and<br />

the 1st Army Area have jointly developed and improved the<br />

residential areas in slum communities to make them more<br />

livable, proportional, safe, clean, and hygienic. The architectural<br />

design of the house is modest and simple and meets the<br />

needs of the residents. The project has been implemented<br />

and prepared in various zones within the community and is<br />

divided into different phases . In the initial phases, Phase 1<br />

and Phase 2, each house is designed entirely by the Royal<br />

Thai Army, while in Phase 3, the latest phase, the Charoen<br />

Pokphand Foundation (CPF) has approached the architect<br />

team of Vin Varavarn Architects (VVA), and together they have<br />

become the developer to create a prototype house that is<br />

planned to be adapted to other phases in the future.<br />

For the development and renovation of 47 houses in Phase 3,<br />

the architect team from VVA has applied the study reference<br />

from the initial phase and taken the design into account. In the<br />

design process of this phase, there were some difficulties and<br />

a number of limitations, including the real area measurement,<br />

which can’t be done accurately because it’s a crowded area.<br />

ในส่วนของการเลือกใช้วัสดุโครงสร้าง อ้างอิงจากบริบทของพื้นที่<br />

ที่มีความเป็นอยู่ค่อนข้างหนาแน่นสูง นอกเหนือจากเรื่องความ<br />

แข็งแรงทนทาน จึงได้คำนึงไปถึงเรื่องของการกันร้อนและกันลาม-<br />

ไฟเป็นหลัก โดยโครงสร้างตัวบ้านใช้เป็นเหล็กลงฐานรากด้วยแรง<br />

กำลังทหาร ผนังและพื้นกรุด้วยซีเมนต์บอร์ด ปูพื้นทับด้วยเสื่อน้ ำมัน<br />

หนาพิเศษ และส่วนของหลังคาถูกออกแบบเป็นหลังคาหมาแหงน<br />

ทรงสูง ที่ช่วยให้บ้านขนาดเล็กดูโปร่งมากขึ้น มุงด้วยเมทัลชีทแบบ<br />

แซนด์วิช มีไส้กลางเป็นฉนวนโฟมแบบกันลามไฟหนา 5 ซม. เพื่อ<br />

ช่วยกันความร้อนและเพิ่มความปลอดภัยให้กับผู้อยู่อาศัย สำหรับ<br />

สีสันบริเวณทางเข้าบ้านทุกหลังอย่างที่เห็น เกิดจากการเปิดพื้นที่<br />

ให้เจ้าของบ้านได้มีโอกาสเลือกสีสันของบ้านตามที่ตนเองชอบ เพื่อ<br />

ให้ผู้อยู่อาศัยจริงได้มีส่วนร่วมในการปลูกสร้างบ้านของตนเองใน<br />

ครั้งนี้ จนกลายเป็นที่มาของบ้านสีสันสดใสภายในพื้นที่โครงการ<br />

พัฒนาที่อยู่อาศัยชุมชนคลองเตยในที่สุด<br />

ปัจจุบัน จากบ้านทั้งหมด 47 หลัง ของขอบเขตโครงการในเฟสที่<br />

3 ได้ก่อสร้างแล้วเสร็จและส่งมอบแก่ผู้อยู่อาศัยในโซนบ่อน้ ำไปแล้ว<br />

จำนวน 9 หลัง สำหรับโซนอื่นๆ กำลังอยู่ในช่วงการพัฒนาและ<br />

ปรับปรุงไปตามลำดับ แม้โครงการในครั้งนี้จะไม่สามารถก่อสร้าง<br />

ให้แล้วเสร็จพร้อมกันได้ในคราวเดียวทั้งหมด ด้วยตัวแปรทั้งเรื่อง<br />

ของงบประมาณ ข้อจำกัดในการก่อสร้างที่ยากลำบาก และความ<br />

ต้องการของชุมชน แต่ด้วยความร่วมมือจากทุกๆ ฝ่าย ไม่ว่าจะ<br />

เป็นผู้ริเริ่มโครงการ ไปจนถึงผู้ร่วมออกแบบและก่อสร้าง ก็ทำให้<br />

โครงการนี้ตั้งแต่เฟสที่ 1 ถึงเฟสที่ 3 ประสบความสำเร็จ และส่ง<br />

มอบที่อยู่อาศัย พร้อมชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นให้แก่ชุมชนแห่งนี้<br />

ไปแล้วจำนวนไม่น้อย<br />

Due to the limited construction skills of the military support<br />

team, which required the design to be a simple construction<br />

method for which the operators on site could make decisions<br />

immediately, the site is an area where all materials and tools<br />

must be transported only by manpower and on foot along<br />

the cramped corridors of the community. The architect team<br />

therefore develops a design with typical details that can be<br />

applied to every house. It has a simple construction model<br />

and can be flexible when there are problems on site. The main<br />

structure of the house still uses the standard according to<br />

the initial phase, with the cooperation of a team of volunteer<br />

engineers. The design also accommodates architectural elements<br />

with more aesthetic through the form of a facade that<br />

encapsulates the structure of the house to reduce the burden<br />

of delicate work at the same time.<br />

In terms of the selection of structural materials, according to<br />

the context of a relatively high density living area, the issue<br />

of heat protection and flame retardant was mainly taken into<br />

account in addition to strength and durability. The structure of<br />

the house is a steel structure with a foundation cast on site by<br />

a team of military builders. The walls and floors are lined with<br />

cement board. The floor is covered with extra thick linoleum.<br />

The roof is designed in a lean-to shape, to help a small house<br />

look more airy. It is thatched with sandwich metal sheeting<br />

with a 5 cm. thick layer of flame retardant foam insulation in the<br />

middle to help prevent heat and increase the safety of residents.<br />

In the design, the architect has also allowed the owner of<br />

each house to paint the entrance any color they like so that<br />

the owners can participate in building their own homes. Eventually,<br />

it created a compound of colorful houses in this Klong<br />

Toei Community Housing Development Project.<br />

Currently, out of a total of 47 houses in the 3rd phase of the<br />

project, 9 houses have been completed and delivered to the<br />

residents of the well zone, and the remaining are in various<br />

stages of development and improvement accordingly.<br />

Although this project cannot be completed all at once due to<br />

variables in the budget, construction constraints, and specific<br />

needs of the community, cooperation from all parties, from the<br />

initiator of the project to co-designers and contractors, has<br />

made this project from Phase 1 to Phase 3 successful and<br />

delivered houses together with a better life for the community.<br />

shera.com


advertorial<br />

07<br />

AEROFLEX ผลิตภัณฑ์แบรนด์คนไทย และผู้นำตลาดการผลิต<br />

ฉนวนจากยางสังเคราะห์ ที่อยู่คู่กับคนไทยมานานกว่า 40 ปี จึง<br />

เข้าใจปัญหาเรื่องความร้อนจากสภาพภูมิอากาศ และรูปแบบการ<br />

ใช้ชีวิตของคนไทยเป็นอย่างดี ผลิตภัณฑ์ AERO-ROOF ฉนวน<br />

กันความร้อนใต้หลังคา ฝ้า ผนัง จึงได้รับการพัฒนาด้วยจากการ<br />

เข้าไปแก้ไขจุดบกพร่องและข้อจำกัดเดิมๆ ของฉนวนกันความร้อน<br />

ใต้หลังคา ด้วยนวัตกรรมของวัสดุยางสังเคราะห์ชนิดพิเศษ EPDM<br />

เคลือบอลูมิเนียมฟอยล์เสริมเส้นใย ช่วยเพิ่มคุณสมบัติพิเศษดังนี้<br />

- คุณสมบัติโครงสร้างเซลปิด ช่วยให้น้ ำและความชื้น<br />

ไม่สามารถแทรกซึมได้<br />

- มีน้ำหนักที่เบาและความบางเพียง 10 มม. ไม่เป็นภาระ<br />

ต่อโครงสร้าง<br />

- มีค่า K value หรือ ค่าสัมประสิทธิ์การน ำความร้อนต่ำ<br />

(Thermal Conductivity) ที่ (0.035 w/mK)<br />

- มีค่า R value หรือ ค่าการต้านทานความร้อนสูง<br />

(Thermal Resistance) ที่ Rt-36 hr.ft² °F/Btu<br />

- มีอายุการใช้งานที่ยาวนานกว่า 10 ปี<br />

อีกทั้งยังผสมสารกันไฟและเป็นวัสดุประเภท Thermosetting<br />

ทำให้ฉนวนไม่หลอมเหลวและไม่ลามไฟ เมื่อได้รับความร้อนหรือ<br />

เปลวไฟ ซึ่งอาจทำให้เกิดการหลอมละลายและเกิดหยดไฟลงสู่<br />

สิ่งต่างๆ ในอาคาร เช่น โต๊ะ เตียง เก้าอี้ เฟอร์นิเจอร์ กระดาษ และ<br />

อื่นๆ ที่จะเกิดการติดไฟได้ง่ายและเกิดเพลิงไหม้ ซึ่งเป็นอันตราย<br />

ต่อผู้อยู่อาศัย<br />

AEROFLEX is a Thai brand product and one of the leaders in<br />

the production of insulation from synthetic rubber. The brand<br />

has been with the Thai people for more than 40 years. Therefore,<br />

it understands the problem of heat from the climate and<br />

the way of life of Thai people very well. The product lines<br />

such as AERO-ROOF, insulation under the roof, ceilings, and<br />

walls were developed by solving the deficiencies and limitations<br />

of the insulation under the roof. With the innovation of a<br />

special synthetic rubber material, EPDM, coated with aluminum<br />

foil reinforced fiber, all add extra features, including:<br />

AERO-ROOF<br />

ในช่วงเดือนเมษายนของทุกปี เรามักจะพบปัญหาเรื่อง ‘บ้านร้อน’<br />

เป็นปัญหาที่อยู่คู่คนไทยมานาน ผลกระทบที่ตามมาคือ ค่าไฟที่<br />

เพิ่มขึ้นอย่างมากเพราะผู้ที่อาศัยอยู่ในบ้าน ต้องท ำทุกอย่างให้อยู่<br />

สบายที่สุด ไม่ว่าจะเปิดแอร์ เปิดพัดลม แต่สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือน<br />

การแก้ปัญหาปลายเหตุ เพราะปัญหาที่ส่งผลจริงๆ คือความร้อนที่<br />

มาจากหลังคา และผนังของบ้าน แม้วิธีการช่วยให้บ้านหรือ ภายใน<br />

อาคารสามารถเย็นขึ้นจะทำได้หลายวิธี อาทิ การปลูกต้นไม้ใหญ่<br />

รอบบ้าน ติดตั้งกันสาด และเลือกติดฟาซาดกับผนังอาคาร (Façade)<br />

แต่อีกวิธีหนึ่งที่เป็นวิธีกันความร้อนเข้าสู่ตัวบ้านหรืออาคารได้ดี<br />

คือการติดฉนวนกันความร้อน โดยเฉพาะในเมืองร้อนอย่างประเทศ-<br />

ไทย ที่เจ้าของมักเลือกการป้องกันความร้อนด้วยวิธีนี้เป็นวิธีแรกๆ<br />

เพราะใช้งบประมาณไม่มาก และสามารถติดตั้งได้ทั้งอาคารเก่าและ<br />

อาคารใหม่<br />

During the month of April every year, we often encounter the<br />

problem of ‘hot houses, a problem that has been with Thai<br />

people for a long time. As a result, the electricity bills have<br />

increased dramatically because those who live in the house<br />

want to do everything to stay as comfortable as possible.<br />

Whether turning on the air conditioner, turning on the fan,<br />

these are like solving the root cause problem. Because the<br />

problem that really affects the house is the heat coming from<br />

the roof and the walls. Though there are many ways to help<br />

the house or make the inside of the building cooler, such as<br />

planting large trees around it, installing awnings and shades,<br />

and choosing the cladding or facade for the building walls. A<br />

good way to prevent heat from entering the house or building<br />

is to install insulation. In hot cities like Thailand, in particular,<br />

heat protection is a popular method for the owners since the<br />

budget is quite reasonable and it can be installed in both old<br />

and new buildings.<br />

before<br />

AERO-ROOF ยังเป็นฉนวนกันความร้อนที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม<br />

ปลอดภัยต่อชีวิตและสุขภาพ เพราะปราศจากกลิ่นและฝุ่นละออง<br />

ฟุ้งกระจาย ซึ่งเป็นหนึ่งในปัญหาด้านสุขภาพที่ส่งผลต่ออาการภูมิ-<br />

แพ้ต่างๆ อีกทั้งยังเป็นวัสดุที่ช่วยลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้ดี<br />

กว่าฉนวนกันความร้อนทั่วไป โดยผ่านการทดสอบการปล่อยก๊าซ<br />

เรือนกระจกทั้งในระดับผลิตภัณฑ์และองค์กร CFP/CFO (Carbon<br />

Footprint for Product and Organization), ได้รับมาตรฐานการ<br />

ปล่อยสารเคมีไม่เกินตามข้อกำหนด (GREENGUARD) และยังเป็น<br />

ผลิตภัณฑ์ที่ได้รับฉลากสิ่งแวดล้อม EPD (Environmental Product<br />

Declaration) รับรองมาตรฐานความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมอย่าง<br />

ถูกต้อง<br />

after<br />

- closed cell structure helps prevent water and moisture<br />

from penetrating.<br />

- only 10 mm. thick, making it lightweight and not burden<br />

some on the structure.<br />

- K value or Thermal Conductivity (0.035 w/mK)<br />

- R value, or thermal resistance, at Rt-36 hr.ft 2 °F/Btu<br />

- long service life of more than 10 years.<br />

AEROFLEX products also contain fire retardant mixtures and<br />

a type of thermosetting material that prevents the insulation<br />

from melting and spreading fire when exposed to heat or<br />

flame, which may cause melting and dripping fire into tables,<br />

beds, chairs, furniture, paper, and others that are easily flammable<br />

and cause a fire, which is dangerous to residents.<br />

AERO-ROOF is also an environmentally friendly insulation<br />

that is safe for life and health. There is no odor, and dust is<br />

spreading, which is one of the health problems that affect<br />

various allergy symptoms. It is also a material that helps<br />

reduce greenhouse gas emissions better than general insulation.<br />

The product has been tested for greenhouse gas<br />

emissions both at the organizational level and for CFP/CFO<br />

(Carbon Footprint for Product and Organization) products,<br />

receiving chemical emission standards that do not exceed<br />

the requirements (GREENGUARD) and also receiving an<br />

EPD (Environmental Product Declaration), which is an<br />

environmentally friendly standards certification.<br />

aero-roof.com<br />

fb.com/aeroroofthailand


The Architectural Journal of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage<br />

<strong>2023</strong><br />

JAN-FEB<br />

CONCRETE /<br />

CONCEPT /<br />

CONSTRUCTION<br />

The Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)<br />

Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

Subscribe to <strong>ASA</strong> Journal<br />

T : +662 319 6555<br />

<strong>ASA</strong> <strong>JOURNAL</strong><br />

COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

Advisor<br />

Chana Sumpalung<br />

Chairperson of Committee<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Committee<br />

Asst. Prof. Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

Vorapoj Tachaumnueysuk<br />

Padirmkiat Sukkan<br />

Prachya Sukkaew<br />

Namtip Yamali, Ph.D.<br />

Jenchieh Hung<br />

Secretary<br />

Theerarat Kaeojaikla<br />

บทความหรือภาพที่ลงใน<br />

วารสารอาษาหรือสื่ อออนไลน์<br />

สมาคมฯ ขอสงวนลิขสิทธิ ์ตาม<br />

กฎหมาย การนำาบทความ<br />

หรือภาพจากวารสารอาษา<br />

ไปตีพิมพ์ อ้างอิงหรือประโยชน์<br />

ใดในสิ ่งพิมพ์หรือสื่ อออนไลน์<br />

อื่น ต้องได้รับอนุญาตจาก<br />

สมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์<br />

ตามกฎหมายเท่านั้น<br />

Editor-in-Chief<br />

Mongkon Ponganutree<br />

Editor<br />

Supreeya Wungpatcharapon<br />

Managing Editor<br />

Kamolthip Kimaree<br />

Assistant Editor<br />

Pichapohn Singnimittrakul<br />

Contributors<br />

Korrakot Lordkam<br />

Kullaphut Senevong Na Ayudhaya<br />

Nathanich Chaidee<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

Pinai Sirikiatikul<br />

Pornpas Siricururatana<br />

Saithiwa Ramasoot<br />

Surawit Boonjoo<br />

Takumi Saito<br />

Warut Duangkaewkart<br />

Weerapon Singnoi<br />

Xaroj Phrawong<br />

English Translators<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

Pawit Wongnimmarn<br />

English Editors<br />

Daniel Cunningham<br />

Sheena Sophasawatsakul<br />

Graphic Design<br />

art4d WORKS<br />

Wasawat Dechapirom<br />

Jitsomanus Kongsang<br />

Photographer<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Production Manager<br />

Areewan Suwanmanee<br />

Account Director<br />

Rungladda Chakputra<br />

Advertising Executives<br />

Napharat Petchnoi<br />

Chatchakwan Fagon<br />

Napisit Woranaipinit<br />

Special Thanks<br />

AOMO Architecture of My Own<br />

Architecture Asia<br />

Beer Singnoi<br />

Depth of Field<br />

Joy Architects<br />

Peerapat Wimolrungkarat<br />

Plan Architect<br />

Rungkit Charoenwat<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Komkrich Panonsatit<br />

Spaceshift Studio<br />

Studio Krubka<br />

Stu/D/O Architects<br />

Srirath Somsawat<br />

Vaslab Architecture<br />

Print<br />

SUPERPIXEL<br />

Publisher<br />

The Association of<br />

Siamese Architects<br />

Under Royal Patronage<br />

Copyright <strong>2023</strong><br />

No responsibility can be<br />

accepted for unsolicited<br />

manuscripts or photographs.<br />

ISSN 0857-3050<br />

Contact<br />

asajournal@asa.or.th<br />

<strong>2023</strong>.Jan-Feb<br />

Concrete / Concept<br />

/ Construction<br />

Photo Credit: Beer Singnoi


์<br />

10<br />

message from the president<br />

รายนามคณะกรรมการ<br />

บริหาร สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ประจำปี 2565-2567<br />

นายกสมาคม<br />

ชนะ สัมพลัง<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

ขอต้อนรับสู่วารสารอาษาฉบับที่ <strong>11</strong> วารสารฉบับที่จะ<br />

ออกเผยแพร่ในช่วงกิจกรรมใหญ่ของเรา งานสถาปนิก’66<br />

โดยงานประจำาปี นี้ของเราค่อนข้างน่าสนใจมาก เพราะเป็ น<br />

การจัดงานรูปแบบของการเชิญสมาคมวิชาชีพทั้งหมดที่<br />

เกี่ยวข้องกับงานออกแบบ มาร่วมกันจัดกิจกรรมใหญ่ ให้<br />

เป็ นกิจกรรมประจำาปี ที่น่าจดจำา พร้อมทั้งเต็มไปด้วยมุมมอง<br />

ต่างๆ จากหลากหลายวิชาชีพ เราได้เชิญทั้ง TIDA, TALA<br />

และ TUDA มาร่วมกันคิดและจัดทำาเนื้อหาต่างๆ โดยมี<br />

สภาสถาปนิก ร่วมสนับสนุนในส่วนของ Forum ซึ ่งเป็ น<br />

พื้นที่สำาหรับนำาเสนอองค์ความรู้ที่น่าสนใจรอบด้าน เพื่อ<br />

นำามาถ่ายทอดอย่างสร้างสรรค์สู่สมาชิกประชาชนทั่วไป<br />

ให้ ได้รับชมรับฟั งกัน<br />

ในส่วนของวารสารอาษาฉบับใหม่ฉบับนี้ มาพร้อมกับ<br />

เนื้อหาที่มีความน่าสนใจ ภายใต้ธีม Concrete Concept<br />

Construction เชื่อว่าคงจะถูกใจสมาชิกหลายๆ ท่านกัน<br />

เช่นเคย โดยเฉพาะผู้ที่ชอบงานแนวคอนกรีต อีกทั้งทุกท่าน<br />

ก็คงจะได้รับทั้งความรู้และแรงบันดาลใจจากเนื้อหาภายใน<br />

เล่ม โดยนำาไปปรับใช้กับงานออกแบบ หรือต่อยอดแนวคิด<br />

ใหม่ๆ ได้เป็ นอย่างด้วย นอกจากนี้วารสารอาษาของเรา<br />

ยังจัดกิจกรรมคู่ขนานไปกับธีมเล่ม โดยจะพาทุกท่านเปิ ด<br />

หนังสื อและเดินชมสถาปั ตยกรรมที่ใช้งานมาแล้วระยะหนึ ่ง<br />

ไปพร้อมๆ กัน เพื่อการสร้างความเข้าใจและองค์ความรู้<br />

ในแง่ของการใช้งานได้อย่างแท้จริง ไปจนถึงการต่อยอด<br />

ไปสู่สถาปั ตยกรรมที่ยั่งยืนในอนาคต สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณ<br />

ผู้อ่านและผู้สนับสนุนทุกท่านอีกครั้ง ที่ร่วมทำาให้วารสาร<br />

อาษาดำาเนินมาถึงเล่มที่ <strong>11</strong> และหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าจะยัง<br />

คงได้รับการสนับสนุนจากทุกท่านต่อไปเรื่อยๆ ในอนาคต<br />

และวาระต่อไปด้วยครับ<br />

อุปนายก<br />

นิเวศน์ วะสีนนท์<br />

จีรเวช หงสกุล<br />

ไพทยา บัญชากิตติกุล<br />

ชุตยาเวศ สินธุพันธุ์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ<br />

รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

เลขาธิการ<br />

พิพัฒน์ รุจิราโสภณ<br />

นายทะเบียน<br />

คมสัน สกุลอำนวยพงศา<br />

เหรัญญิก<br />

ไมเคิลปริพล ตั้งตรงจิตร<br />

ปฏิคม<br />

เฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

กุลธิดา ทรงกิตติภักดี<br />

กรรมการกลาง<br />

ศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

เฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

อดุลย์ แก้วดี<br />

ผศ.ณธทัย จันเสน<br />

ธนพงษ์ วิชคำหาญ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกล้านนา<br />

ปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกอีสาน<br />

วีรพล จงเจริญใจ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกทักษิณ<br />

ดร.กาญจน์ เพียรเจริญ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกบูรพา<br />

คมกฤต พานนสถิตย์<br />

กรรมการที่ปรึกษา<br />

การบริการ<br />

สมิตร โอบายะวาทย์<br />

Celebrating<br />

25 Years 2of AAU<br />

5<br />

Platform<br />

Montfort del Rosario<br />

School of Architecture and Design<br />

Assumption University


12<br />

message from the president<br />

Welcome to the <strong>11</strong>th issue of the <strong>ASA</strong> Journal, the<br />

issue that will be published during our main event,<br />

the Architect’23. This year’s annual event will be<br />

quite interesting because we have come up with a<br />

way to invite all design-related professional groups<br />

to join, to come together to be a part of this big<br />

event, and to make it a memorable one with many<br />

different points of view. The <strong>ASA</strong> has invited TIDA,<br />

TALA, and TUDA to join us and create some exciting<br />

content. The Architects Council of Thailand also<br />

participates in organizing this year’s Forum, to<br />

present interesting and practical knowledge in all<br />

areas, which will be conveyed creatively to members<br />

of the general public as they watch and listen to<br />

each other.<br />

In this new issue, the Journal has interesting content<br />

under the theme Concrete Concept Construction,<br />

which again, believed to be liked by our members<br />

and audiences, especially those who like concrete<br />

work. In addition, everyone would receive both<br />

knowledge and inspiration from the content in the<br />

issue by applying it to their design work or developing<br />

new ideas. I also would like to share that our<br />

<strong>ASA</strong> Journal and <strong>ASA</strong> Platform have also organized<br />

a site tour activity in parallel to the theme of the<br />

journal. It will take everyone visiting architecture<br />

projects to create an understanding and knowledge<br />

of real-world use that can be developed and culminated<br />

into a more sustainable architecture concept<br />

in the future. Finally, once again, thank you to all<br />

readers and supporters for contributing to making<br />

the <strong>ASA</strong> Journal reach its <strong>11</strong>th volume, and we<br />

sincerely hope that it will continue to be supported<br />

by everyone indefinitely in the future and on the<br />

next agenda. Until then.<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

President<br />

Chana Sumpalung<br />

Vice President<br />

Nives Vaseenon<br />

Jeravej Hongsakul<br />

Phaithaya Banchakitikun<br />

Chutayaves Sinthuphan<br />

Asst. Prof. Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

Rungroth Aumkaew<br />

Secretary General<br />

Pipat Rujirasopon<br />

Honorary Registrar<br />

Khomsan Sakulamnuaypongsa<br />

Honorary Treasurer<br />

Michael Paripol Tangtrongchit<br />

Social Event Director<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Public Relations Director<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Executive Committee<br />

Prof. Tonkao Panin, Ph.D.<br />

Vasu Poshyanandana, Ph.D.<br />

Chalermphong Netplusarat<br />

Adul Kaewdee<br />

Asst. Prof. Nathatai Chansen<br />

Tanapong Witkhamhan<br />

Chairman of<br />

Northern Region (Lanna)<br />

Prakan Chunhapong<br />

Chairman of<br />

Northeastern Region (Esan)<br />

Werapol Chongjaroenjai<br />

Chairman of<br />

Southern Region (Taksin)<br />

Dr.Kam Phiancharoen<br />

Chairman of<br />

Eastern Region (Burapa)<br />

Komkrit Panonsatit<br />

Advisory Committee<br />

Smith Obayawat<br />

OUT<br />

NOW!<br />

Available at<br />

E: mail@art4d.com<br />

FB: art4dMagazine<br />

T: 02 260 2606-8 art4d.com


14<br />

foreword<br />

Photo Credit: Beer Singnoi<br />

คอนกรีต นับเป็นวัสดุที่อยู่ในประวัติศาสตร์พัฒนาการสถาปัตยกรรมมา<br />

อย่างยาวนาน และสามารถพบเห็นการใช้งานได้ทั่วทุกภูมิภาคของโลก ที่<br />

ผ่านมาคอนกรีตได้ผ่านการทดลอง ประยุกต์ใช้กับรูปแบบสถาปัตยกรรมที่<br />

หลากหลาย ตั้งแต่อาคารโครงสร้างช่วงกว้าง อาคารสูง หรือผลงานทดลอง<br />

ด้วยวิธีการสร้างและการผลิตในรูปแบบใหม่ๆ ต่างเทคนิคการก่อสร้าง<br />

จนกระทั่งในปัจจุบันเองมีการตั้งคำาถามกับวัสดุคอนกรีตที่เชื่อมโยงกับ<br />

ผลกระทบทางสภาพแวดล้อมและความยั่งยืน<br />

วารสารอาษาฉบับนี้ ในธีมเล่ม Concrete Concept Construction จึง<br />

นำาเสนอเรื่องราวศักยภาพของวัสดุคอนกรีตกับการก่อร่างสร้างสรรค์<br />

สถาปัตยกรรม และตัวอย่างผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมในบริบทไทย<br />

ที่นอกจากจะเน้นคอนกรีตเป็นหลักของการก่อสร้างแล้วนั้น ในขณะเดียว-<br />

กันคอนกรีตยังเป็นเสมือนภาพตัวแทนของสถาปนิกผู้ออกแบบเอง ไม่ว่า<br />

จะเป็นสถาปนิกที่เป็นที่จดจำากันได้อย่างดีกับคอนกรีตในหลายชิ้นอย่าง<br />

Vaslab stu/D/O และ Plan Architect หรือสำานักงานออกแบบที่เพิ่งเริ่ม<br />

ทดลองกับงานคอนกรีต Studio Krubka และ Joys Architect รวมถึง<br />

ใน <strong>ASA</strong> Revisit โรงเรียนสอนคนตาบอด งานออกแบบอาคารคอนกรีต<br />

ยุคแรกๆ ในฐานะที่มีส่วนสร้างตัวตนของสถาปนิกและศิลปินแห่งชาติ<br />

อย่าง ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา ในยุคนั้นไปพร้อมกัน<br />

ในส่วนของ <strong>ASA</strong> Professional นั้น นำาเสนอเรื่องราวการทำางานของ DOF-<br />

Depth of Field ซึ่งเป็นอีกตัวอย่างของกลุ่มสถาปนิกที่ผันตัวเองไป<br />

ทำางานด้าน Visualization และ Media นอกเหนือจากสายงานหลักทาง<br />

ด้านการออกแบบ และบทสนทนาแนะนำาสตูดิโอที่น่าสนใจอย่าง AOMO-<br />

Architecture of My Own<br />

เรียกได้ว่าสถาปัตยกรรมคอนกรีตได้สะท้อนแนวคิด ตัวตน ของสถาปนิก<br />

แต่ละคน การสื่อความหมายจากหลายสำานักคิด ที่ต่างกันไปตามวาระสมัย<br />

และบริบทของพื้นที่ และคอนกรีตยังคงเป็นวัสดุที่ท้าทายสำาหรับแวดวง<br />

สถาปัตยกรรม ทั้งในมิติของนวัตกรรมวัสดุที่ถูกพัฒนาคิดค้นเพื่อความ<br />

ยั่งยืน หรือในมิติของเทคนิคการก่อสร้างจากไม้แบบต่างๆ มาสู่การพิมพ์<br />

อาคารสามมิติแล้ว และเชื่อได้ว่าเสน่ห์ของสถาปัตยกรรมคอนกรีตคงจะ<br />

ถูกค้นพบ และปรากฎออกมาใหม่เรื่อยๆ ไปตามยุคสมัยที่เปลี่ยนผ่าน<br />

พร้อมกับจินตนาการของสถาปนิกนักออกแบบ<br />

Concrete has been in the history of architectural development<br />

for a long time and can be seen in use in all regions of the<br />

world. In the past, concrete has passed the test and been<br />

used in a wide range of architectural styles, from wide-span<br />

structures and high-rise buildings to experimental works with<br />

new ways of building and production and different construction<br />

techniques. Now, as an architectural material, concrete<br />

has been questioned in relation to its environmental impact<br />

and sustainability.<br />

In this issue, Concrete Concept Construction, <strong>ASA</strong> Journal<br />

explores the potential of concrete materials and architectural<br />

creativity with examples of architectural design works in the<br />

Thai context, in addition to focusing on concrete as the main<br />

construction material. At the same time, concrete is a representation<br />

of the architect who designed it. Whether it’s an<br />

architect best remembered for concrete works such as Vaslab,<br />

stu/D/O, and Plan Architect, or young practices that have just<br />

started to experiment with concrete like Studio Krubka and<br />

Joys Architect, in <strong>ASA</strong> Revisit, we discuss the School for the<br />

Blind, an early concrete building designed by the respected<br />

architect and national artist, Dr. Sumet Jumsai Na Ayutthaya.<br />

The <strong>ASA</strong> Professional shows the work of DOF (Depth of Field),<br />

which is a good example of an architect team that went beyond<br />

its main work in design to become experts in architecture<br />

visualization and media. And interesting studio introductions<br />

like AOMO Architecture of My Own.<br />

Concrete architecture has reflected the identity of each<br />

architect through interpretation by many schools of thought<br />

that vary according to the agenda and the context. After all,<br />

concrete is still a challenging material to work with in architecture,<br />

both as a new material that has been developed for a<br />

long time to be more sustainable and as a way to build, from<br />

different kinds of wood formwork to 3D printing. The charm<br />

of concrete architecture will continue to be found and rediscovered<br />

as the years go by and as architects and designers<br />

come up with new ideas.


<strong>2023</strong><br />

JAN-FEB<br />

CONCRETE /<br />

CONCEPT /<br />

CONSTRUCTION<br />

around<br />

20x20<br />

18<br />

Architecture<br />

Asia Forum<br />

Series:<br />

Thailand<br />

Contemporary<br />

Architecture<br />

22<br />

theme<br />

Concrete<br />

Construct<br />

Conception<br />

Concrete has always adapted<br />

itself to the social paradigm. Concrete<br />

as a structure helps to bring<br />

light into the peaceful and profound<br />

religious space. Concrete<br />

as a construction system help<br />

freed the hierarchical system by<br />

eliminating ornamentation. In the<br />

post-war era, the raw and rough<br />

nature of concrete, including its<br />

locality, helped overcome the<br />

scarcity of resources. Concrete is<br />

a kaleidoscope and a legacy of a<br />

society. It is truly an open material.<br />

42<br />

theme / review<br />

Free Flow<br />

In designing a vacation home<br />

in Khao Yai, Stu/D/O Architects<br />

prioritized the relationship<br />

between the architectural<br />

structure and living areas<br />

and the surrounding nature<br />

by creating an outline in the<br />

form of concrete walls that<br />

surround the house. This<br />

particular contour is intended to<br />

flow freely, following the landscape’s<br />

naturally curving lines.<br />

64<br />

Photo Credit: Rungkit Charoenwat<br />

theme / review<br />

Concrete in the<br />

Wood<br />

Following the commercial<br />

success and architectural merits<br />

of the Yellow Submarine Coffee<br />

Tank in the hilly terrain of Pak<br />

Chong, Suebsai Jittakasem and<br />

JOYS Architects have added<br />

two new concrete structures<br />

to the inclining features of<br />

the landscape and crafted<br />

novel spatial perceptions and<br />

experiences with the original<br />

building as the meaningful<br />

backstory.<br />

78<br />

92<br />

Photo Credit: Beer Singnoi<br />

theme / review<br />

Signature Blocks<br />

The owner’s personal admiration<br />

for Vaslab’s early works<br />

served as the inspiration for<br />

House in the Dust, a residence<br />

in Petchaboon that gave the<br />

studio the creative freedom to<br />

fully develop and express its<br />

distinctive architectural style.<br />

Photo Credit: Spaceshift Studio<br />

Photo Credit: Beer Singnoi<br />

theme / review<br />

Face Value<br />

Studio Krubka has experimented<br />

with new techniques and the<br />

construction process in the<br />

house they designed for a couple<br />

who love exposed concrete.<br />

theme / review<br />

Above the Line<br />

Plan Architect has created<br />

a design for the Sindhorn<br />

Kempinski Hotel with concave<br />

and curved elements that<br />

echo the landscape of the<br />

expansive garden that serves<br />

as the project’s green space.<br />

120<br />

134<br />

Photo Credit: Ketsiree Wongwan<br />

Revisit<br />

The Bangkok<br />

School for<br />

the Blind by<br />

Dr. Sumet Jumsai<br />

na Ayutthaya<br />

The prefabricated concrete<br />

structure of Bangkok School for<br />

the Blind and the formation of<br />

Dr. Sumet Jumsai na Ayutthaya’s<br />

architectural identity<br />

Photo Credit: Assistant Professor<br />

Pinai Sirikiatikul, PhD.<br />

material<br />

Brutal Beauty:<br />

From Concept<br />

to Construction<br />

The story of the bare concrete<br />

works has a long history. But<br />

interestingly, the popularity of<br />

this concrete material still has<br />

a spell for architects to apply it<br />

to the architecture of each era<br />

continuously until now. Building<br />

with bare concrete is a simple<br />

technology, but the design, its<br />

details, and the work required<br />

to achieve good quality work<br />

are not. Often, debates arise<br />

between architects, contractors,<br />

and project owners concerning<br />

aesthetics, standard quality,<br />

and acceptance of the completed<br />

work.<br />

144<br />

Fast<br />

Complexity<br />

3D Printed<br />

Concrete 152<br />

Engineered<br />

Cementitious<br />

Concrete<br />

Bendable<br />

Concrete 153<br />

dezeen.com<br />

dbt.arch.ethz.ch<br />

professional<br />

Depth of Field<br />

Depth of Field is a 3D<br />

visualization specialist for<br />

design and architecture,<br />

founded by Ek Krittapak<br />

Kulabusaya, who drives,<br />

discovers, and adopts new<br />

technologies to support<br />

customers’ needs.<br />

154<br />

professional<br />

AOMO<br />

Architecture<br />

of My Own<br />

168<br />

chat<br />

Komkrit<br />

Panonsatit<br />

As the chairman of the<br />

Eastern Region (Burapa) of the<br />

Association of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage,<br />

Komkrit Panonsatit shared<br />

the beginning of joining as a<br />

member of the committee of<br />

the <strong>ASA</strong>, roles, duties, and<br />

past works.<br />

172<br />

Photo Credit: Depth of Field<br />

the last page<br />

176<br />

Photo Credit: Pornpas Siricururatana<br />

106


18<br />

around<br />

20X20<br />

19<br />

20x20<br />

Photo: Peerapat Wimolrungkarat<br />

asa Platform โดยสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

จัดกิจกรรม asa 20x20 ครั้งที่สอง ในรูปแบบกิจกรรมการ<br />

บรรยายเล่าเรื่องประกอบภาพ 20 ภาพในเวลา 20 นาที<br />

เพื่อให้ความรู้อันสามารถนำาไปประยุกต์ใช้ทั้งดำาเนินชีวิตและ<br />

วิชาชีพ ในรูปแบบที่สอดแทรกความเพลิดเพลินและความ<br />

สนุกสนานไปพร้อมๆ กัน<br />

<strong>ASA</strong> 20x20 is a talk series in the form of a showand-tell<br />

with 20 pictures in 20 minutes by guest<br />

speakers, organized by the <strong>ASA</strong> Platform of the<br />

Association of Siamese Architects under Royal<br />

Patronage. <strong>ASA</strong> 20x20 aims to entertain and<br />

educate audiences while providing knowledge<br />

that can be applied in academics and practices.<br />

1<br />

01<br />

ภาพหมู่ กิจกรรม<br />

asa 20x20 ‘AAU Alumni:<br />

Achievement Achievement<br />

& Challenges’<br />

กิจกรรม asa 20x20 ในครั้งที่สองนี้ เป็นการจัดร่วมกับคณะ<br />

สถาปัตยกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ<br />

(AAU) เนื่องในโอกาสครบรอบ 25 ปีของการก่อตั้ง AAU<br />

โดยมาภายใต้ธีม ‘AAU25+ | AAU Alumni: Achievement<br />

and Challenges’ กิจกรรมการบรรยายได้จัดขึ้น ณ Lido<br />

Connect 1 ในวันพุธที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 พร้อมทั้งการ<br />

ถ่ายทอดสดผ่านทางเพจ asa Platform และเพจ Montfort del<br />

Rosario School of Architecture and Design โดยมีคุณชนะ<br />

สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ ให้เกียรติเป็นประธาน<br />

กล่าวเปิดงาน ตามด้วยการบรรยายของผู้บรรยาย 5 ท่าน<br />

ซึ่งเป็นศิษย์เก่าของ AAU พร้อมผู้บรรยายรับเชิญพิเศษอีก<br />

หนึ่งท่าน มาร่วมแบ่งปันประสบการณ์การทำางานวิชาชีพ<br />

ในมุมมองของสถาปนิก นักออกแบบ และผู้ประกอบการ<br />

กิจกรรมการบรรยายประสบการณ์เริ่มต้นด้วย ชินธร อรรถ-<br />

สารประสิทธิ์ ผู้จัดการส่วนสื่อสารแบรนด์ สีจระเข้ โดยได้<br />

เล่าถึงประสบการณ์ รวมถึงแนวความคิดในการออกแบบ<br />

และความท้าทายในการปรับเปลี่ยน หยิบนำาส่วนผลิตภัณฑ์<br />

อย่างสี แบรนด์จระเข้ ซึ่งเป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ยังไม่เป็นที่<br />

รู้จักโดยทั่วไปมาต่อยอดปรับพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์รูปแบบ<br />

ใหม่ โดยได้นำาเสนอให้เห็นภาพของการจัดเตรียมและการ<br />

ดำาเนินงานในด้านต่างๆ อย่างชัดเจน<br />

ต่อด้วย จุฤทธิ์ กังวานภูมิ สถาปนิกผู้ทำางานด้านสถาปัตย-<br />

กรรมเพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม ผู้ร่วมก่อตั้งกลุ่มปั้นเมือง<br />

นำาเสนอภาพรวมของทิศทางการประกอบสร้างตัวตน จาก<br />

การคลุกคลีกับผู้คนและชุมชน นำาไปสู่ความสนใจในรูปแบบ<br />

การทำางานเพื่อชุมชนและสิ่งแวดล้อม อันเกิดขึ้นจากการ<br />

ออกค่ายช่วยเหลือผู้ประสบภัยสึนามิขณะเป็นนักศึกษา<br />

ท้ายที่สุดจึงตระหนักถึงอีกหนึ่งแง่มุมการทำางานที่สอดรับไป<br />

กับความสนใจและเป้าหมายในการทำางานของตนเอง ส่วน<br />

พิลาสินี รัตนรังสี สถาปนิกและนักออกแบบแสงที่มีชื ่อเสียง<br />

ในระดับนานาชาติผู้ก่อตั้ง Rangsi Atelier ได้เล่าถึงประสบ-<br />

การณ์การออกเดินทางบนสายงานวิชาชีพ นับตั้งแต่ขณะ<br />

ศึกษาที่ AAU กระทั่งเดินทางไปศึกษาต่อในต่างประเทศ พร้อม<br />

เสริมความคิดและแนวทางในการปรับตัว ทิศทางการใช้ชีวิต<br />

ทั่วไปและในวิชาชีพ ประกอบการนำาเสนอแง่มุมต่างๆ ที่ได้<br />

สอนและสร้างตัวตนของเธอผ่านหลากหลายโปรเจกต์ตัวอย่าง<br />

สอดคล้องไปกับแนวทางการบรรยายของ ธเนศ แซ่อู สถาปนิก<br />

และนักออกแบบผู้ก่อตั้ง SpaceLab ที่ได้เล่าถึงเรื่องราว<br />

เหตุการณ์การใช้ชีวิต และการเล่าเรียนในขณะเป็นนักศึกษาที่<br />

AAU โดยได้เสนอให้เห็นวิธีการ อีกทั้งรูปแบบการทำ างานและการ<br />

เรียนที่สามารถเข้าถึงได้ พร้อมทั้งยังได้สอดแทรกและเชิญชวน<br />

ให้กล้าคิดที่จะแตกต่าง เพื่อการก้าวไปยังพื้นที่ด้านหน้าอยู่เสมอ<br />

The second event of the series was held in conjunction<br />

with the School of Architecture and<br />

Design, Assumption University (AAU), on the<br />

occasion of the 25th anniversary of the establishment<br />

of AAU under the theme “AAU25+ | AAU<br />

Alumni: Achievement and Challenges.” The event<br />

took place at Lido Connect 1 on Wednesday,<br />

February 1st, <strong>2023</strong>, along with a live broadcast<br />

on the <strong>ASA</strong> Platform page and the Montfort<br />

del Rosario School of Architecture and Design<br />

page. Chana Sumpalang, the president of the<br />

Association of Siamese Architects, delivered the<br />

opening remarks before talks by five AAU alumni<br />

and a special guest to share professional work<br />

experiences from the point of view of architects,<br />

designers, and entrepreneurs.<br />

The talk started with Shintorn Arthasarnprasit, the<br />

brand communication manager of SEE JORAKAY,<br />

sharing his experience, including design ideas<br />

and challenges to revamp SEE JORAKAY paint,<br />

a new product line that is making its presence in<br />

the market.<br />

Churit Kangwanpoom, an architect who works in<br />

architecture for the community and the environment<br />

and the co-founder of Punmuang, was the<br />

second speaker. He gave an overview of how he<br />

became a community architect by engaging with<br />

people and communities, which stemmed from<br />

going outfield to help tsunami victims in Southern<br />

Thailand while studying architecture at AAU. He<br />

disclosed how his work was eventually aligned<br />

with his interests and goals. While Pilasini Rattarangsi,<br />

an internationally renowned architect and<br />

lighting designer and founder of Rangsi Atelier,<br />

described her experience on the professional<br />

journey from the early days at AAU to studying<br />

abroad and working internationally. She also presented<br />

various incidents that taught and shaped<br />

her identity through various sample projects.<br />

This aligns with the presentation of Thanet Sae-U,<br />

the architect and designer who founded SpaceLab.<br />

He retold the stories and events while studying at<br />

AAU and his work experiences. Finally, he challenged<br />

architects and designers to think differently in order<br />

to distinct themselves at the forefront.


20<br />

around<br />

20X20<br />

21<br />

2<br />

3<br />

7<br />

8<br />

02<br />

คุณชนะ สัมพลัง<br />

นายกสมาคมฯ<br />

กล่าวเปิดกิจกรรม<br />

03<br />

คุณพิลาสินี รัตนรังสี<br />

สถาปนิกและ<br />

นักออกแบบแสง<br />

ผู้ก่อตั้ง Rangsi Atelier<br />

04<br />

คุณชินธร อรรถสาร<br />

ประสิทธิ์ ผู้จัดการ<br />

ส่วนสื่อสารแบรนด์<br />

SEE JORAKAY<br />

05<br />

คุณธเนศ แซ่อู<br />

สถาปนิกและผู้ก่อตั้ง<br />

SpaceLAB<br />

4 5<br />

6<br />

06<br />

คุณจุฤทธิ์ กังวานภูมิ<br />

สถาปนิกชุมชนและ<br />

สิ่งแวดล้อม และผู้ร่วม<br />

ก่อตั้งเพจปั้นเมือง<br />

07<br />

คุณจุติ กลีบบัว<br />

สถาปนิกและผู้ก่อตั้ง<br />

Juti Architects<br />

08<br />

คุณวสุ วิรัชศิลป์<br />

สถาปนิกและผู้ก่อตั้ง<br />

VasLab Architects<br />

ผู้บรรยายลำาดับต่อมาคือจุติ กลีบบัว ผู้ก่อตั้ง จุติ อาร์คิเท็คส์<br />

ผู้มีผลงานออกแบบโบสถ์แม่พระองค์อุปถัมภ์ เฉวง ซึ่งได้รับ<br />

รางวัลเหรียญเงินสถาปัตยกรรมดีเด่นจากสมาคมสถาปนิก<br />

สยามฯ ได้พามองย้อนกลับถึงความคิดและแนวทางที่สะท้อน<br />

สร้างตัวตนของเขา ผ่านประสบการณ์ที่หลอมรวมจากการ<br />

ใช้ชีวิตและการเรียน สอดแทรกไปกับการนำาเสนอแนวความ<br />

คิดที่อยู่เบื้องหลังงานออกแบบสถาปัตยกรรม ซึ่งเอื้อให้<br />

ตระหนักถึงตัวอย่างวิธีและกระบวนการสร้างแนวความคิด<br />

ในการทำางาน<br />

ปิดท้ายด้วยผู้บรรยายรับเชิญ วสุ วิรัชศิลป์ ผู้ก่อตั้ง VasLab<br />

ได้มาร่วมพูดคุยถึงช่วงเวลาที่เขายังศึกษาที่สหรัฐอเมริกา<br />

และการเริ่มนำาเอาแนวคิดการเรียนการสอนรูปแบบใหม่<br />

ซึ่งศึกษาในต่างประเทศมาปรับใช้ในการสอนนักศึกษาขณะ<br />

เป็นอาจารย์สอนสถาปัตยกรรมที่ AAU ไปจนถึงการเจาะลึก<br />

ถึงประสบการณ์ แนวทางปรัชญา ปัญหาที่พบเจอในการ<br />

ทำางานออกแบบแต่ละโปรเจกต์ เรื่องราว ความคาดหวัง<br />

จุดหมาย ที่เปลี่ยนไปในแต่ละช่วงเวลาของชีวิต<br />

ในการแลกเปลี่ยนประสบการณ์หลากหลายรูปแบบ รวมถึง<br />

มุมมองของนักออกแบบและสถาปนิกที่ประกอบวิชาชีพซึ่ง<br />

โดดเด่นเฉพาะทางตามแต่ละบุคคลนี้ นอกจากจะช่วยขยาย<br />

พรมแดนการรับรู้ ความเข้าใจ และการเรียนรู้ อันนำาไปสู่<br />

การปรับพัฒนาตนเองของผู้ฟังบรรยายแล้ว ท้ายที่สุดได้<br />

ย้อนกลับมาเชื้อเชิญให้เกิดการขบคิด ถกถามถึงการกำาหนด<br />

ทิศทางรวมถึงปรัชญา ที่ไม่ใช่แค่นำาไปใช้ในการเรียนและ<br />

การประกอบวิชาชีพได้เท่านั้น ยังนำาไปใช้กับการดำาเนินชีวิต<br />

ประจำาวันในอนาคตได้อีกด้วย<br />

The next speaker was Juti Klipbua, the founder of<br />

Juti Architects, and the architect of the Mary Help<br />

Church, Chaweng, which received the Silver Medal<br />

from the Association of Siamese Architects. He<br />

reflected on the ideas and approaches that diversified<br />

his view on architecture and refined his design<br />

identity. He explained how AAU experience was<br />

demonstrated in the realization of methodologies<br />

and conceptualization processes in his work.<br />

Lastly, Vasu Virajsilp, the founder of VasLab, joined<br />

the event as a special guest speaker, talking about<br />

his time as a student in the United States, his return<br />

to teach at AAU, and his professional experiences<br />

in the design industry. He also shared his in-depth<br />

experiences, philosophical guidelines, and challenges<br />

encountered in architectural projects from<br />

the early years of practice until present, including<br />

the professional and personal goals that changed<br />

throughout the course of life.<br />

The event is successful, fun, and, with the various<br />

perspectives of AAU-graduates who stand out in<br />

their fields, has helped expand the horizons and<br />

viewpoints of the participants, which leads to selfimprovement.<br />

Eventually, a series of careful selfquestioning<br />

will lead to a philosophy that can be<br />

applied to learning, professional practices, and<br />

daily life.<br />

fb.com/asajournalthailand


22<br />

Architecture Asia<br />

Forum Series:<br />

Thailand Contemporary<br />

Architecture<br />

Text: Asst. Prof. Saithiwa Ramasoot, Ph.D.<br />

Photo Courtesy of Architecture Asia<br />

01<br />

งาน Architecture Asia<br />

Forum Series โดย<br />

สถาปนิกไทยและต่างชาติ<br />

around<br />

Architecture Asia Forum Series เป็นชุดการบรรยาย<br />

ที่จัดโดยวารสาร Architecture Asia ของ Architects<br />

Regional Council Asia (ARCASIA) ซึ่งมี Architectural<br />

Society of China (ASC) และ Tongji University ร่วมเป็น<br />

Co-publishers ตั้งแต่ปี 2020 กิจกรรม Architecture<br />

Asia Forum Series มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงพัฒนาการ<br />

สถาปัตยกรรมร่วมสมัยในประเทศเอเชียที่เป็นสมาชิกของ<br />

ARCASIA อีกทั้งยังส่งเสริมการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น<br />

และสนับสนุนผลงานของสถาปนิกเอเชียให้เป็นที่รู้จักใน<br />

ระดับนานาชาติ การบรรยายออนไลน์ครั้งแรกด้วยความ<br />

ยาวกว่า 5 ชั่วโมง เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม 2565 นั้น มีผู้ฟัง<br />

The Architecture Asia Forum Series is a collection of<br />

lectures organized by the Architecture Asia Journal of<br />

the Architects Regional Council Asia (ARCASIA). Since<br />

2020, the series has also welcomed the Architectural<br />

Society of China (ASC) and Tongji University the copubilshers.<br />

The goal of the Architecture Asia Forum<br />

Series is to highlight the development of contemporary<br />

architecture in ARCACIA member countries, as well as<br />

to promote the exchange of knowledge and ideas, and<br />

the endeavors of Asian architects on a global scale.<br />

The first five-hour online lecture was held on December<br />

3, 2021, with over 5,000 listeners participating from<br />

across the world. The event, co-hosted by Architecture<br />

1<br />

นานาชาติผ่านระบบออนไลน์เกือบ 5,000 คน โดยเป็น<br />

ความร่วมมือของ Architecture Asia กับสมาคมสถาปนิก<br />

สยามในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่มี Abu Sayeed M. Ahmed<br />

ในฐานะ President of Architects Regional Council Asia<br />

(ARCASIA) คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิก<br />

สยามในพระบรมราชูปถัมภ์ และ Professor Wu Jiang<br />

บรรณาธิการ Architecture Asia ให้เกียรติกล่าวต้อนรับ<br />

และเปิดงานการบรรยาย<br />

Jenchieh Hung และ กุลธิดา ทรงกิตติภักดี จาก HAS<br />

Design and Research ทำาหน้าที่เป็นผู้จัดการประชุม<br />

Architecture Asia Forum Series โดยเชิญสถาปนิกไทย<br />

10 กลุ่ม ร่วมบรรยาย ค้นหาทิศทาง และถ่ายทอดประสบ-<br />

การณ์ที่แสดงถึงความเคลื่อนไหวทางสถาปัตยกรรมใน<br />

ประเทศไทย ผ่านการศึกษาค้นคว้าและผลิตผลงานของแต่<br />

ละกลุ่มสถาปนิก โดยกุลธิดาเริ่มต้นด้วยงานศึกษาค้นคว้า<br />

ของ HAS ซึ่งชวนตั้งคำาถามกับสถาปัตยกรรมที่เป็นตัวแทน<br />

ภาพรับรู้ทางวัฒนธรรม และย้อนกลับไปดูพัฒนาการของ<br />

สถาปัตยกรรมร่วมสมัยของประเทศในเอเชียที่บ่งชี้การ<br />

ตามหาทิศทางการออกแบบสถาปัตยกรรมในปัจจุบันที ่ยัง<br />

สามารถบ่งชี้วัฒนธรรมและบริบทของตนได้ สถาปัตยกรรม<br />

ไทยร่วมสมัยมีพัฒนาการมายาวนานจากการก่อตั้งสำานัก-<br />

งานสถาปนิกรุ่นบุกเบิกในช่วงปี 1980s และการอ้างอิง<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรมไทยประเพณี มาสู่การท้าทายด้วย<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรมที่แตกต่างและการค้นหารูป<br />

แบบสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ที่เหมาะสม จนมาถึงปัจจุบันที่<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรมในประเทศไทยเปิดกว้างรับ<br />

รูปแบบและแนวคิดที่หลากหลาย แต่พบว่าเราแทบจะไม่<br />

สามารถแยกความแตกต่างของ skyline ของเมืองใหญ่ใน<br />

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้เลย การศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับ<br />

New Cultural Identify ทำาให้ค้นพบแนวทางการออกแบบ<br />

ที่บ่งชี้ลักษณะทางวัฒนธรรมเฉพาะตัวของแต่ละประเทศ<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรมในสิงคโปร์แสดงการพัฒนา<br />

สู่ Garden City และ Mega City และแสดงการตอบรับ<br />

กับสภาพอากาศเขตร้อนด้วยการสร้างร่มเงา การระบาย<br />

อากาศและพื้นที่สีเขียว ประเทศอินโดนีเซียมีความคล้าย<br />

ประเทศไทยในเรื่องความหนาแน่นของเมือง แต่สถาปัตย-<br />

กรรมรีสอร์ตบนเกาะต่างๆ ที่มีเงื่อนไขจากสันฐานของ<br />

นาขั้นบันไดและการใช้วัสดุท้องถิ่นโดยเฉพาะไม้ไผ่ก็ทำา<br />

ให้สถาปัตยกรรมอินโดนีเซียเป็นที่รู้จักอย่างชัดเจน ส่วน<br />

สถาปัตยกรรมของฮ่องกงถูกก่อรูปผ่านการตั้งถิ่นฐาน<br />

หนาแน่นในเมือง เกิดความพยายามในการใช้พื้นที่จำากัด<br />

และพื้นที่ทางตั้งให้กระชับและเกิดศักยภาพสูง ข้อมูล<br />

เหล่านี้ทำาให้เรากลับมาย้อนถามว่าแล้วสถาปัตยกรรม<br />

ในประเทศไทยมีเอกลักษณ์อย่างไร ซึ่งก็พบว่ากรุงเทพ-<br />

มหานครเมื่อมองจาก skyline แตกต่างจากประสบการณ์<br />

การมองเมืองจากประสบการณ์จริง<br />

ARCHITECTURE ASIA FORUM SERIES<br />

Asia and the Association of Siamese Architects under<br />

Royal Patronage, welcomed Abu Sayeed M. Ahmed,<br />

President of the Architects Regional Council Asia<br />

(ARCASIA), Chana Sumpalung, President of the Association<br />

of Siamese Architects under Royal Patronage,<br />

and Professor Wu Jiang, Editor of Architecture Asia, as<br />

opening and closing speakers.<br />

Jenchieh Hung and Kulthida Songkittipakdee of HAS<br />

Design and Research, the forum’s facilitators, invited<br />

ten Thai architecture firms to join the discussion and<br />

explore potential trajectories as well as share their<br />

experiences reflecting interesting architectural tendencies<br />

in Thailand through presentations of their research<br />

and projects. Kulthida opened the forum by presenting<br />

HAS’s own research project, which questions architecture’s<br />

role as a visual representation of cultural perception.<br />

The presentation transported viewers back in time<br />

to observe the evolution of contemporary architecture<br />

in Asian countries as a result of their search for what<br />

would become today’s architectural design whose existence<br />

demonstrates the context and culture to which<br />

they belong. Since the establishment of the pioneering<br />

architecture firms in the 1980s, to how it referenced<br />

the conventions of traditional Thai architecture, then to<br />

how it challenged the preexisting norms with designs<br />

that are different while still navigating more fitting and<br />

contemporary architectural styles and approaches,<br />

when architectural design in Thailand fully opens to<br />

more diverse stylistic and conceptual possibilities. Yet,<br />

despite such progress, the skylines of major Southeast<br />

Asian cities are barely distinguishable.<br />

The extensive research on the new cultural identity<br />

has resulted in the discovery of a variety of design<br />

techniques that are reflective of each country’s distinct<br />

culture. Singapore’s architectural design reflects the<br />

city-evolution state’s into a garden city and megacity, as<br />

well as an attempt to adapt to the tropical environment<br />

through design that incorporates shade, ventilation,<br />

and green spaces. While one of Indonesia’s commonalities<br />

with Thailand is the issue of urban density, the<br />

Indonesian architecture created within the hospitality<br />

sector, such as island resorts, has been developed from<br />

the geographic conditions of rice terraces and the use<br />

of locally sourced materials, particularly bamboo, which<br />

has contributed to Indonesia’s distinctive bamboo architecture<br />

gaining worldwide recognition. The genesis and<br />

growth of Hong Kong architecture, which arose from<br />

high-density urban settlement, has given birth to several<br />

attempts to maximize the use of confined spaces in<br />

high-rise structures to deliver the best possible efficiency<br />

and maximizing potential. Such information has<br />

compelled many to look back and question the identity<br />

Thai architecture’s identity. The contrast between how<br />

Bangkok is viewed through its skyline and an individual’s<br />

experiences of the city was discovered as a result.<br />

23<br />

Jenchieh Hung<br />

& Kulthida<br />

Songkittipakdee<br />

HAS design and<br />

research


24<br />

around<br />

ARCHITECTURE ASIA FORUM SERIES<br />

25<br />

กลุ่มสถาปนิกไทยที่ได้คัดสรรมาในครั้งนี้จึงเป็นตัวแทนใน<br />

การแสดงทิศทางที่หลากหลายของพัฒนาการของสถาปัตย-<br />

กรรมในประเทศไทย ซึ่งเราสามารถจัดกลุ่มทิศทางของ<br />

สถาปัตยกรรมอย่างกว้างๆ ได้เป็น 4 กลุ่ม คือ 1) Thai-ness<br />

space: tropical hybrids, 2) Sense of culture: material<br />

hybrids, 3) Local craft innovation: vernacular hybrids<br />

และ 4) Simplicity in Buddhism: spiritual hybrids<br />

The groups of Thai architects participated in this forum<br />

are considered the representatives of the various trends<br />

in the development of architecture in Thailand, which<br />

we can broadly organize into 4 groups: 1) Thai-ness<br />

space: tropical hybrids, 2) Sense of culture: material<br />

hybrids, 3) Local craft innovation: vernacular hybrids<br />

and 4) Simplicity in Buddhism: spiritual hybrids<br />

Narongwit<br />

Areemit<br />

Architects 49<br />

03<br />

ผลงานของ A49 ในงาน<br />

Bangkok Design Week<br />

Information Pavilion<br />

2020<br />

04<br />

ผลงาน Sarnsara<br />

Learning Center<br />

โดย A49<br />

3<br />

4<br />

02<br />

นำาเสนองานวิจัย:<br />

Research-New Cultural<br />

Identify คุณกุลธิดา<br />

ทรงกิตติภักดี จาก HAS<br />

2<br />

Architects 49 (A49)<br />

‘Data Driven Architecture Design’<br />

ณรงค์วิทย์ อารีมิตร ถ่ายทอดแนวคิดการนำาเทคโนโลยีมา<br />

ช่วยจัดเก็บและประมวลข้อมูลเพื่อสนับสนุนการผลิตงาน<br />

สถาปัตยกรรมที่สร้างความสุขและพัฒนาชีวิตผ่านตัวอย่าง<br />

3 โครงการของ A49 โครงการแรกคือ Bangkok Design<br />

Week Information Pavilion 2020 ซึ่งเล่นกับอารมณ์ขันและ<br />

ความสุขง่ายๆ จากสิ่งรอบตัวของคนไทยผ่านสัญลักษณ์ที่<br />

สื่อถึงความผ่อนคลายและบรรยากาศเฉลิมฉลอง เช่น ลูกโป่ง<br />

และห่วงยางชายหาด A49 ออกแบบ Pavilion ชั่วคราวที่<br />

สร้างจากการใช้ลูกโป่งลอยตัวห้อยผืนผ้าที่ทำาด้วยเศษผ้า<br />

เหลือใช้หลากสีสันจากโรงงานมาเย็บต่อกันเพื่อสร้างร่มเงา<br />

ให้พื้นที่ การประมวลผลข้อมูลช่วยยืนยันความสามารถใน<br />

การลอยตัวอย่างสมดุลของลูกโป่งเพื่อรับน้ำาหนักผืนผ้า<br />

นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งเครื่องมือตรวจจับการมีส่วนร่วม<br />

ด้วยท่าทางและการเคลื่อนไหวของผู้เข้าร่วมงานเพื่อรับข้อมูล<br />

ของนิทรรศการหรือรับรางวัลกลับไป โครงการ Sarnsara<br />

Learning Center ได้นำา AI Technology มาใช้วิเคราะห์<br />

ข้อมูลเพื่อกำาหนดระดับของแสงธรรมชาติให้เหมาะสมกับ<br />

ส่วนต่างๆ บริเวณโถงชั้น 1 เทคโนโลยีช่วยทดลองการ<br />

ออกแบบหลังคาและทดสอบผลลัพธ์จากการวางสลับหลาย<br />

ทิศทางของลวดลายขององค์ประกอบฝ้าเพดานเพื่อช่วย<br />

ควบคุมระดับและรูปแบบการกระจายแสงให้สอดคล้องกับ<br />

การใช้สอยและสร้างความงามในเวลาเดียวกัน<br />

สำาหรับโครงการ PTT LNG Headquarter Office ข้อมูลถูกนำา<br />

มาประกอบการฟื้นฟูระบบนิเวศผ่านการสร้างป่าพรุภายใน<br />

โครงการ ด้วยการสร้างอาคารสำานักงานรูปวงแหวนล้อมรอบ<br />

พื้นที่สวนป่า นอกจากนี้ ผู้ออกแบบยังเสนอการสร้าง Winter<br />

Garden เพื่อหมุนเวียนพลังงานเย็นจัดที่เป็นผลพลอยได้จาก<br />

กระบวนการผลิตไปผ่านระบบ Chill water system ที่ปล่อย<br />

ลมเย็นสู่อาคาร การใช้โปรแกรมจำาลองอุณหภูมิและลม<br />

ภายในอาคารเพื่อยืนยันความเหมาะสมของสภาพแวดล้อม<br />

สำาหรับทั้งการทำางานของมนุษย์ และการเพาะปลูกดอกไม้<br />

เมืองหนาว Winter Garden ที่สร้างขึ้นจึงช่วยใช้ประโยชน์<br />

พลังงานเหลือทิ้ง สร้างแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัด<br />

และสร้างรายได้จากการส่งออกดอกไม้ให้กับเจ้าของโครงการ<br />

Architects 49 (A49)<br />

‘Data Driven Architecture Design’<br />

Narongwit Areemit translated the conceptual approach<br />

where technology is utilized to help store and process<br />

data to support the creation of architecture with users’<br />

happiness and better quality of life being the primary<br />

goals. Bangkok Design Week Information Pavilion 2020<br />

is the first of A49’s three selected concepts to demonstrate<br />

such an approach. The work explored how Thais<br />

find comedy and joy in commonplace products and<br />

situations by employing a variety of symbols that communicate<br />

a casual and joyful environment, such as<br />

beach inflatables and balloons. A49 constructed the<br />

temporary pavilion by suspending a large colorful<br />

piece of fabric made of discarded textiles and inflating<br />

balloons to provide a shaded area for the pavilion. The<br />

analyzed data reveals that the balloons are capable of<br />

maintaining a balanced level to sustain the weight of the<br />

materials. A sensor was also put to detect the gestures<br />

and movements of participants as they were granted<br />

access to the exhibition’s information and mementos.<br />

AI technology was implemented with the design of the<br />

Sarnsara Learning Center to assist with data analysis<br />

and calculate the optimal level of natural light for different<br />

portions of the atrium on the first floor. The technology<br />

also aided in the design of the roof structure and<br />

testing of the generated outcomes of the randomized<br />

orientations and patterns of the ceiling’s components.<br />

The strategy contributed to the controlled distribution<br />

of light patterns in accordance with the center’s functions<br />

and aesthetic appeal. For the PTT LNG Headquarter<br />

Office, data was developed as a tool for the<br />

revival of the project’s ecosystem through the creation<br />

of a swamp forest, and a ring-shaped office structure,<br />

which was constructed to encircle the forestland. The<br />

architect also proposed the construction of a ‘Winter<br />

Garden’ to ventilate the cool energy produced by the<br />

manufacturing process and released it into the building<br />

via the chill water system. The incorporation of an interior<br />

temperature and airflow simulation program served to<br />

validate the environment’s compatibility for human work<br />

activities and winter plant growth. Winter Garden contributes<br />

to the reuse of waste energy, while also serving<br />

as the province’s newest tourist destination and generating<br />

income from the sale of its flower farm products.


26<br />

around<br />

ARCHITECTURE ASIA FORUM SERIES<br />

27<br />

Varudh Varavarn<br />

Vin Varavarn<br />

Architects<br />

Apichart<br />

Srirojanapinyo<br />

& Chanasit<br />

Cholasuek<br />

Stu/D/O Architects<br />

Vin Varavarn Architects<br />

‘The Possibilities of Transformation’<br />

มล. วรุตม์ วรวรรณ เล่าถึงความเชื่อของ VVA ในการใช้<br />

วัสดุท้องถิ่นและภูมิปัญญาการก่อสร้างในอดีตเป็นพื้นฐาน<br />

ในการพัฒนาสถาปัตยกรรมสู่อนาคตถูกถ่ายทอดผ่าน<br />

โครงการที่เลือกมานำาเสนอ ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พอเพียง<br />

พรรณนา เขาใหญ่ (Pannar Sufficiency Economy &<br />

Agriculture Learning Center) ทดลองการนำาแนวคิดศาสตร์<br />

พอเพียงมาใช้ก่อสร้างอาคารในชนบท และสร้างสรรค์<br />

สถาปัตยกรรมที่กลมกลืนกับบริบทและยุคสมัยปัจจุบันผ่าน<br />

ฝีมือช่างท้องถิ่นและวัสดุในพื้นที่ โดยไม่ยึดติดกับรูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมแบบประเพณีที่พบทั่วไป อาคารหลักของ<br />

โครงการใช้ประโยชน์วัสดุท้องถิ่น เช่น ดินสำาหรับฉาบผิว<br />

อาคาร และไม้ไผ่สำาหรับมุงหลังคา ส่วนอาคารห้องน้ำา<br />

เปลี่ยนปัญหาที่พบทั่วไปให้เป็นอาคารที่น่าสนใจด้วยการ<br />

ออกแบบรูปทรงอาคารที่โค้งไร้มุมอับและการก่อเรียงผนังอิฐ<br />

ที่เอื้อต่อการระบายอากาศ และสอดคล้องกับระดับความ<br />

เป็นส่วนตัว การทำางานในโครงการพรรณนาสร้างการเรียนรู้<br />

ระหว่างสถาปนิกและช่างท้องถิ่น และพิสูจน์ให้เห็นว่า<br />

สถาปัตยกรรมเป็นศาสตร์ที่มีชีวิตที่สามารถเปลี่ยนแปลง<br />

และเติบโตไปร่วมกับการพัฒนาและเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อ<br />

ตอบรับความต้องการของมนุษย์ได้<br />

โครงการบ้านราคาประหยัดสำาหรับคนในชุมชนคลองเตย<br />

ซึ่งสนับสนุนการก่อสร้างโดยกองทัพบก ด้วยการขนส่งวัสดุ<br />

ในพื้นที่แออัด และพื้นที่ก่อสร้างที่จำากัดเป็นเงื่อนไขสำาคัญ<br />

ของการออกแบบและก่อสร้าง นำามาสู่รูปทรงอาคารที่<br />

เรียบง่าย แต่สามารถปรับให้เข้ากับพื้นที่ก่อสร้างอาคาร<br />

แต่ละหลังที่มีรูปร่าง และขนาดต่างๆ กัน เจ้าของบ้านมี<br />

ส่วนร่วมในการเลือกสีสันที่แสดงบุคลิกเฉพาะตัวให้กับ<br />

หน้าบ้านของตน นอกจากนี้รายละเอียดการออกแบบสะท้อน<br />

ความต้องการเฉพาะของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม เช่น การกั้นห้อง<br />

เพื่อป้องปัญหาการคุกคามทางเพศ และการรองรับต่อเติม<br />

ในอนาคตสำาหรับบ้านเล็กที่มีผู้อยู่อาศัยจำานวนมาก<br />

stu/D/O<br />

‘Change and Continuity’<br />

อภิชาติ ศรีโรจนภิญโญ และชนาสิต ชลศึกษ์ เลือกนำาเสนอ<br />

สองโครงการของ stu/D/O เพื่อแสดงแนวคิดและทิศทาง<br />

ในการทำางานที่ใช้การสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมเพื่อแก้<br />

ปัญหาที่ตั้งโครงการและโปรแกรม โครงการแรกคือ Naiipa<br />

ซึ่งมีที่ตั้งอยู่ใจกลางกรุงเทพมหานครในย่านพระโขนง<br />

สถาปนิกต้องการรักษาเก็บรักษาต้นไม้ใหญ่ที่แผ่กิ่งก้าน<br />

เป็นจุดเด่นของที่ตั้งโครงการและบรรยากาศธรรมชาติไว้<br />

และเปิดการเข้าถึงให้สาธารณะได้เข้ามาใช้ประโยชน์ การ<br />

Vin Varavarn Architects<br />

‘The Possibilities of Transformation’<br />

Through the selected architectural projects, M.L.<br />

Varudh Varavarn discussed the VVA’s belief in the<br />

utilization of local materials and inherited building construction<br />

know-how from the past as the foundation for<br />

the studio’s future architectural trajectory. With the<br />

Pannar Sufficiency Economics & Agriculture Learning<br />

Center, VVA experimented with adapting the sufficiency<br />

philosophy to building construction in rural areas of<br />

Thailand. The studio developed the architecture by<br />

using the skills and knowledge of local builders and<br />

locally sourced materials but breaking away stylistically<br />

from the conventions of traditional Thai architecture.<br />

The primary structure of the project makes intelligent<br />

use of local resources, such as the earth cladding<br />

exterior finish and bamboo used for the roof. With its<br />

curved structure that lacks closed corners and brick<br />

arrangement of walls that allow for natural ventilation<br />

while still giving the required level of privacy, the design<br />

of the restroom facility transformed what would<br />

ordinarily be regarded as drawbacks into interesting<br />

features. The collaboration between the architect and<br />

local builders for Pannar Sufficiency Economy &<br />

Agriculture Learning Center initiated a collaborative<br />

learning experience and demonstrated that architecture<br />

is a living, evolving entity that can grow alongside<br />

new developments and technologies to best meet the<br />

ever-changing needs of humans.<br />

The low-cost housing project is for the people in<br />

Klong Toey community of Bangkok funded by the Royal<br />

Thai Army. The site’s restricted space and poor accessibility<br />

were the causes of the project’s challenging<br />

logistics and construction. Such limitation led to the<br />

development of a simplistic design that could be<br />

adapted to the unique physical constraints of each plot<br />

of land on which a house was constructed, resulting<br />

in a variety of sizes and forms of the houses. The<br />

process involved the homeowners’ participation by<br />

asking them to choose the color that would be painted<br />

on the front of their houses, while the design of each<br />

house reflects its users’ specific needs, such as proper<br />

room partitioning that protects inhabitants from sexual<br />

harassment and the structural and spatial components<br />

of smaller houses with multiple inhabitants that allow<br />

for future expansions.<br />

stu/D/O<br />

‘Change and Continuity’<br />

Apichart Srirojanapinyo and Chanasit Cholasuek<br />

chose both of stu/D/O’s projects to exemplify the<br />

office’s conceptual approach and design approach,<br />

in which architecture serves as a means of solving<br />

5<br />

ออกแบบจึงเริ่มต้นด้วยสำารวจตำาแหน่งของต้นไม้เดิมแล้ว<br />

จึงวางตัวอาคารในที่ว่างที่เหลือ ด้วยเหตุนี้รูปทรงและความ<br />

สูงของอาคารจึงถูกกำาหนดให้สอดคล้องกับต้นไม้ โดยมี<br />

สะพานเชื่อมต่อกลุ่มก้อนอาคาร นอกจากนี้ยังออกแบบด้าน<br />

หน้าอาคารให้เล่นกับแสงเงาของต้นไม้ เชื่อมต่อกับภาพรวม<br />

ของเมือง และช่วยระบายอากาศและป้องกันแสงแดดให้กับ<br />

พื้นที่ด้านใน สถาปัตยกรรมถูกสร้างมาเพื่อเชื่อมต่อผู้คน<br />

กับธรรมชาติเข้าด้วยกันและรักษาจิตวิญญาณของที่ตั้ง<br />

6<br />

different site- and program-specific issues. The first<br />

project, Naiipa, located in Bangkok’s Phra Kanong<br />

district, demonstrates the architecture team’s endeavor<br />

to conserve the enormous trees growing and their<br />

branching canopies within the site, making them the<br />

project’s focal point and an integral component of<br />

the space that is open to public access. Prior to incorporating<br />

the built structures into the remaining free<br />

spaces, the design process commenced with a survey<br />

of the positions of the existing trees. It explains how<br />

the forms of the trees determine the shapes and heights<br />

of the buildings. The fronts of the buildings are meant<br />

to interact with the light and shadow cast under tree<br />

canopies, showing a connection to the surrounding<br />

urban environment and aiding in the ventilation and<br />

sun protection of interior spaces. The built structure<br />

was intended to reconnect people with nature while<br />

also preserving the spirit of the site.<br />

05<br />

ผลงานออกแบบ Naiipa<br />

โดย Stu/D/O<br />

06<br />

Vin Varavarn Architects<br />

กับผลงานบ้านราคา<br />

ประหยัด สำาหรับคนรายได้<br />

น้อยในชุมชนคลองเตย<br />

07<br />

ศูนย์เรียนรู้ศาสตร์พอเพียง<br />

พรรณนา เขาใหญ่ โดย<br />

Vin Varavarn Architects<br />

7


28<br />

around<br />

ARCHITECTURE ASIA FORUM SERIES<br />

29<br />

08<br />

ผลงานบ้านตรอกถั่วงอก<br />

โดย Stu/D/O<br />

09<br />

โครงการ Under the Sun<br />

โดยสถาปนิก POAR<br />

โครงการถัดมาคือบ้านตรอกถั่วงอก ซึ่งเป็นการบูรณะอาคาร<br />

เก่าอายุ 90 ปี ในพื้นที่เยาวราชที่กำาลังเผชิญสถานการณ์<br />

Gentrification อาคารเดิมซึ่งสร้างในปี 1932 และถูกต่อเติม<br />

ในปี 1981 ได้ผ่านการใช้สอยหลายรูปแบบก่อนจะถูก<br />

ปล่อยทิ้งไม่ได้ใช้งาน หัวใจของการพัฒนาโครงการจึงไม่<br />

เป็นเพียงการอนุรักษ์องค์ประกอบสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่า<br />

แต่ต้องการสืบทอดความทรงจำาของอาคารต่อไป ผังอาคาร<br />

ถูกปรับเปลี่ยนโดยขับเน้นช่องเปิดโล่งกลางอาคาร และการ<br />

เล่นกับจังหวะของหน้าต่างและประตู การปรับปรุงอาคารใน<br />

การตีความใหม่สามารถรักษาความทรงจำาของครอบครัวใน<br />

อาคารเก่าได้ แต่การออกแบบก็กล้าที่จะแทรกองค์ประกอบ<br />

ใหม่หรือแก้ปัญหาด้วยเทคนิคใหม่ หากจะสามารถรองรับ<br />

การใช้สอยที่ยืดหยุ่นและเป็นสาธารณะในปัจจุบันได้ดียิ่งขึ้น<br />

Patchara + Ornnicha<br />

ARchitecture (POAR)<br />

‘The Dialogues around Architecture’<br />

พัชระ วงษ์บุญสิน เริ่มต้นด้วยประเด็นทางเลือกของ<br />

ทรัพยากรที่ลดน้อยลง แม้พฤติกรรมของมนุษย์ในยุคสมัย<br />

ต่างๆ จะเหมือนเดิม เราจึงควรใช้วัสดุให้น้อยแต่ใช้ให้ยาว-<br />

นานที่สุด งานออกแบบของ POAR ตระหนักว่าหน้าที่ของ<br />

สถาปนิก คือการฟื้นจิตวิญญาณของที่ตั้งโครงการที่ถูกลืม<br />

ไป โครงการ Under the Sun ร้านอาหารสำาหรับคนทุกวัย<br />

ในพัทยาออกแบบผ่านการศึกษาขอบเขตพื้นที่ทางสังคม<br />

ของผู้ใหญ่และเด็ก คน Introvert และ Extrovert ซึ่งพบว่า<br />

เด็กจะเป็นตัวเชื่อมให้พื้นที่ส่วนตัวของผู้ใหญ่เข้ามาใกล้กัน<br />

โครงการจึงสร้างหลังคาไฟเบอร์กลาสสีแดงที่โค้งตาม<br />

ฟอร์มวงกลมคล้ายสไลเดอร์ เพื่อเป็นพื้นที่เล่นสำาหรับทั้ง<br />

เด็กและผู้ใหญ่ที่สามารถตีความการเล่นได้หลายรูปแบบ<br />

The second project chosen for presentation was Baan<br />

Trok Tua Ngork. The refurbishment of the 90-year-old<br />

shophouses in Bangkok’s Chinatown (Yaowarat)<br />

happened amidst the rise of gentrification in the area.<br />

The structure, which was originally built in 1932 and<br />

remodeled with newly constructed extensions in 1981,<br />

served a variety of uses for a number of years before<br />

being left unused. In addition to a conservational<br />

approach that attempted to preserve the building’s<br />

unique architectural characteristics, the most recent<br />

innovation of the project also aims to retain the building’s<br />

history and memories. Adjustments are made to the<br />

building’s layout to emphasize the void at the center<br />

of the interior program and the order of the openings.<br />

While remodeling under this new interpretation preserves<br />

the family members’ memories of the building,<br />

the design does not hesitate to incorporate new aspects<br />

and components, as well as technical solutions, if they<br />

are able to deliver functions that are more flexible to<br />

the building’s now more public functionalities.<br />

Patchara + Ornnicha<br />

ARchitecture (POAR)<br />

‘The Dialogues around Architecture’<br />

Patchara Wongboonsin started off the presentation<br />

with his view on issues surrounding resource depletion,<br />

and that while human behaviors fundamentally<br />

stay the same, the use of resources and materials<br />

should be minimized with the extended longevity.<br />

POAR’s design is fully conscious of the architect’s role<br />

and responsibility to bring back the lost spirit of places.<br />

Under the Sun is a family restaurant situated in Pattaya<br />

where the architecture team developed the design from<br />

the research they did on the characteristics of social<br />

spaces of adults and children, as well as introverts<br />

8<br />

โครงการ ณ ตะนาว เป็นโรงแรมบูทีคที่มีข้อจำากัดการ<br />

ออกแบบจากที่ตั้งโครงการรูปร่างแคบลึกในย่านเมืองเก่า<br />

ของกรุงเทพมหานคร การออกแบบเลือกที่จะประนีประนอม<br />

กับตึกแถวสองข้างที่เปิดหน้าต่างสู่โครงการ และเว้นพื้นที่<br />

ถอยร่นตามกฎหมายอาคาร การสร้างช่องว่างระหว่าง<br />

อาคารข้างเคียงและระหว่างห้องต่างๆ ในโครงการเอื้อให้<br />

เกิดการระบายอากาศระหว่างพื้นที่ใช้สอยคล้ายเรือนไทย<br />

นอกจากนี้ ยังสร้างบันไดเชื่อมต่อกับพื้นที่ว่างด้านหน้า<br />

อาคาร ซึ่งสามารถทำาหน้าที่คล้ายอัฒจันทร์ให้อีเวนท์ต่างๆ<br />

ที่อาจเกิดขึ้น<br />

and extroverts. The design of the red fiberglass roof<br />

with a curvature resembling the shape of a slider was<br />

inspired by the discovery that children have the potential<br />

to bring adults’ personal spaces closer together.<br />

Thus, a play space for children and adults with diverse<br />

interpretations of ‘playing’ was created.<br />

The na Tanao boutique hotel is a project with a variety<br />

of restrictions. The hotel is situated on an elongated and<br />

narrow plot of land in the old town district of Bangkok.<br />

The design compromises the shophouses on both sides<br />

of the building with windows and openings facing the<br />

hotel’s interior spaces. With the setback mandated<br />

by the area’s building codes, the spaces between the<br />

hotel and the adjacent buildings, as well as the hotel<br />

rooms are designed to enhance natural ventilation,<br />

similar to how the layout of a traditional Thai home<br />

facilitate natural airflow. In addition, a set of steps at<br />

the front of the building provides an amphitheater-like<br />

area that can accommodate different activities.<br />

Patchara<br />

Wongboonsin &<br />

Ornnicha<br />

Duriyaprapan<br />

Patchara +<br />

Ornnicha<br />

Architecture<br />

9


30<br />

around<br />

ARCHITECTURE ASIA FORUM SERIES<br />

31<br />

10<br />

All-day Swimming<br />

Pool ในโรงแรม Livist<br />

โดย POAR<br />

โครงการสุดท้ายคือ All-day Swimming Pool ซึ่งตั้งอยู่<br />

บริเวณทิศตะวันตกของ Livist Resort การออกแบบตั้ง<br />

คำาถามกับผู้ใช้สระว่ายน้ำาที่มักต้องการหลบแดดและความ<br />

ร้อนในเวลากลางวัน จึงสร้างชุดของ planters คอนกรีต<br />

หล่อรูปร่างคล้ายปิรามิดกลับหัวที่ด้านบนตั้งอยู่กลางสระ<br />

ว่ายน้ำาวงกลม และทำาหน้าที่เป็นอุปกรณ์กันแดดสร้างร่ม<br />

เงาและความเป็นส่วนตัวให้กับสระว่ายน้ำาได้ตลอดทั้งวัน<br />

การออกแบบไฟส่องสว่างที่ส่งเสริมกันช่วยให้ planters<br />

เหล่านี้กลายเป็นประติมากรรมในเวลากลางคืน<br />

The second proposal presented by POAR is the Allday<br />

Swimming Pool. Situated in the west wing of the<br />

Livist Resort, the design challenges the way pool users<br />

would usually have to stay out of the pool in the afternoon<br />

to avoid direct sunshine and high temperatures.<br />

The design constructed a collection of concrete planters<br />

in the shape of an inverted pyramid, with the apex<br />

emerging in the center of the circular pool. The planters<br />

also serve as a sun protection feature, providing shaded<br />

spaces and a sense of seclusion for the resort’s swimming<br />

pool and guests throughout the day. The lighting<br />

design turn the planters into a statement sculptural<br />

piece at night.<br />

Amata<br />

Luphaiboon &<br />

Twitee Vajrabhaya<br />

Department of<br />

ARCHITECTURE<br />

<strong>11</strong><br />

The Commons Saladaeng<br />

โดย Department<br />

of ARCHITECTURE<br />

12<br />

The Commons Thonglor<br />

โดย Department of<br />

ARCHITECTURE<br />

10<br />

<strong>11</strong><br />

Department of ARCHITECTURE<br />

ผลงาน 3 โครงการที่นำาเสนอโดย อมตะ หลูไพบูลย์ แสดง<br />

ถึงแนวทางการออกแบบโครงการสถาปัตยกรรมเอกชนเพื่อ<br />

รองรับสาธารณะของ Department of ARCHITECTURE<br />

โครงการแรกคือ The Commons Thonglor ที่ตระหนักถึง<br />

ความขาดแคลนพื้นที่สีเขียวและต้องการสร้าง urban oasis<br />

ที่ต้อนรับผู้คนที่มีไลฟ์สไตล์ที่หลากหลาย Department<br />

of ARCHITECTURE วิเคราะห์การออกแบบ Retail ที่มัก<br />

ประสบปัญหาการดึงดูดผู้ใช้โครงการขึ้นไปที่ชั้นบน จึง<br />

ออกแบบ ‘the common ground’ พื้นที่ส่วนกลางในลักษณะ<br />

open air ที่เปิดการไหลเชื่อมต่อของพื้นที่ใช้สอยต่างระดับ<br />

จากระดับถนนไปยังชั้นที่ต่างๆ พื้นที่นี้ยังเชื่อมต่อกิจกรรม<br />

และดึงอากาศธรรมชาติพัดเข้าสู่โครงการทุกระดับ พัดลม<br />

อุตสาหกรรม 2 ชุดถูกติดตั้งเพื่อดูดอากาศร้อนที่ลอยขึ้น<br />

ด้านบนอาคารและเพื่อสร้างความสบายให้กับผู้ใช้อาคาร<br />

ความสำาเร็จของโครงการนี้ส่งต่อแนวคิดการใช้พื้นที่ต่างระดับ<br />

เพื่อรองรับกิจกรรมและอีเวนท์รูปแบบต่างๆ<br />

ในโครงการต่อเนื่องคือ The Commons Saladaeng ซึ่ง<br />

ตอกย้ำาความสำาคัญของความร่วมมือระหว่างสถาปนิกกับ<br />

ผู้พัฒนาโครงการ ในการสร้างสถาปัตยกรรมและรูปแบบ<br />

การจัดการและการใช้สอยของโครงการให้สอดคล้องและ<br />

ส่งเสริมกัน ส่วนโครงการ Taste 18 Lifestyle complex<br />

ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการ J-18 ในเมือง Zhengzhou<br />

ประเทศจีน การออกแบบสถาปัตยกรรมสร้างเส้นทางเดิน<br />

ขึ้นลงที่ไม่รู้จบคล้ายอัฒจันทร์ที่นำามาเรียงต่อกันสำาหรับ<br />

รองรับกิจกรรม street performance โครงสร้างทางสถา-<br />

ปัตยกรรมจึงเป็นเสมือนงานประติมากรรมในภูมิทัศน์ที่ไป<br />

ทำางานด้วยกัน<br />

Department of ARCHITECTURE<br />

The three projects that Amata Luphaiboon chose<br />

for Department of ARCHITECTURE’s presentation<br />

reflects the studio’s architectural trajectory, which<br />

emphasizes the significance of privately owned<br />

architectural projects designed for public use. Amata<br />

began with The Commons Thonglor, a project conceived<br />

in response to the city’s lack of green space<br />

and urban oasis, with a program meant to accommodate<br />

users of different lifestyles and tastes. By<br />

developing the open-air common ground, which<br />

promotes the spatial flow between functional areas<br />

at varied levels from the street level or ground floor<br />

to the upper floors, Department of ARCHITECTURE<br />

addressed the difficulties of retail design and how<br />

the upper floors of a project of this nature having less<br />

traffic. In addition to connecting variety of user activities,<br />

the common ground provides natural ventilation<br />

to each floor of the project. Two sets of industrial fans<br />

are placed to exhaust hot air upwards and provide<br />

thermal comfort for the building’s users. The success<br />

of the project has led to further developments of a<br />

functional program where multiple floors are designed<br />

to accommodate diverse activities and events.<br />

Following the success of The Commons Thonglor,<br />

The Commons Saladaeng was developed. The project<br />

showcases a collaborative work process between the<br />

architecture team and the project’s developer in the<br />

creation of a space in which the architectural structure,<br />

functions, and spatial management correspond<br />

and complement one another. The final project featured<br />

in the presentation, Taste 18 Lifestyle Complex, is part<br />

of the J-18 development in Zhengzhou, China. The<br />

architectural framework produces an endless sequence<br />

of ascending and descending walkways that resemble<br />

a series of connected amphitheaters designed to<br />

host street performances, while coexisting with and<br />

complementing the surrounding landscape.<br />

12


32<br />

around<br />

ARCHITECTURE ASIA FORUM SERIES<br />

33<br />

Patcharada<br />

Inplang &<br />

Thongchai<br />

Chansamak<br />

Sher Maker<br />

Jeravej Hongsakul<br />

IDIN Architects<br />

Sher Maker Studio<br />

‘Architecture as Literally Life’<br />

แนวทางการทำางานสถาปัตยกรรมของ Sher Maker Studio<br />

เชื่อมโยงกับชีวิตอย่างแยกออกจากกันไม่ได้ พัชรดา อินแปลง<br />

กล่าวถึงที่มาของตน และหุ้นส่วน คุณธงชัย จันทร์สมัคร<br />

จากบริบทของสังคมชนบทธรรมดา จึงมีแนวคิดของวิถีชีวิต<br />

การอยู่อาศัยที่เรียบง่ายด้วยทรัพยากรเท่าที่มี การปฏิบัติ<br />

วิชาชีพของ Sher Maker ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ จึง<br />

ประกอบด้วยกลุ่มสถาปนิกและช่าง และมักเป็นการออกแบบ<br />

และก่อสร้างด้วยกระบวนการก่อสร้างแบบพื้นถิ่นที่เริ่มจาก<br />

รายละเอียดเล็กๆ และกลมกลืนไปกับบริบทท้องถิ่น ผลงาน<br />

การออกแบบมักเกิดจากการทดลองผลิตและศึกษาวัสดุ<br />

ภายใน workshop ในออฟฟิศเอง ซึ่งเป็นการค้นคว้าวิจัย<br />

ที่มีการบันทึกและนำาไปพัฒนาใช้กับงานสถาปัตยกรรม<br />

การใช้วัสดุจึงไม่ใช่เป็นเพียงเรื่องของความงาม แต่สะท้อน<br />

ความเข้าใจเรื่องราวของบริบทท้องถิ่นภายใต้วัสดุนั้น<br />

พัชรดายกตัวอย่างผลงาน 2 โครงการ ได้แก่ โครงการบ้าน-<br />

ไม้ขนาดเล็กในอำาเภอแม่ริมซึ่งถูกปรับมาใช้โครงสร้างเหล็ก<br />

ร่วมกับการใช้ไม้เก่าเพื่อความสะดวกและประหยัด การ<br />

ออกแบบต้องการลดทอนองค์ประกอบที่ฟุ่มเฟือยออกไป<br />

เหลือแต่ลักษณะเรียบง่ายที่แสดงการจำากัดความใหม่ของ<br />

สถาปัตยกรรมไม้ในมุมมองของออฟฟิศ<br />

โครงการต่อมาคือปั๊มน้ำามัน PTT ในเชียงใหม่ ซึ่งเป็น<br />

โครงการปรับปรุงจากโครงสร้างอาคารเก่าที่ถูกหุ้มเปลือก<br />

อาคารใหม่ด้วยเซรามิคที่ถูกค้นคว้า พัฒนาและผลิตจาก<br />

โรงงานท้องถิ่นในเชียงใหม่ซึ่งเป็นผู้ใช้อาคารของปั๊มน้ำามัน<br />

นั้นเอง<br />

IDIN Architects<br />

‘Contextual Interpretation’<br />

จีรเวช หงสกุล เน้นการให้ความสำาคัญกับบริบทรอบตัว<br />

ตามความหมายของชื่อออฟฟิศ ทั้งในภาษาไทยและภาษา<br />

อังกฤษ ‘Integrating Design Into Nature’ โครงการ<br />

ChouiFong Tea Cafe I & II ในไร่ชาฉุยฟง เล่นกับการ<br />

ออกแบบอาคารที่เคารพบริบทที่ตั้งที่เป็นเนินเขาของไร่ชา<br />

ฉุยฟง โดยพยายามสร้างมุมมองที่ดีที่สุดทั้งจากอาคารสู่<br />

ไร่ชารอบตัว และเมื่อมองจากไร่ชาเข้าสู่อาคาร การออก-<br />

แบบคำานึงถึงการวางผังที่สร้างมุมมอง การเล่นระดับอาคาร<br />

ตามความสูงต่ำาของที่ตั้ง การแสดงออกของแสงเงาที่เปลี่ยน<br />

ไปตามเวลาและการเลือกใช้วัสดุที่ช่วยแยกโซน สร้างให้<br />

ความสำาเร็จของโครงการที่กลายเป็นจุดหมายการท่อง<br />

เที่ยวแห่งหนึ่งของเชียงรายช่วยสร้างงานให้คนในพื้นที่<br />

Sher Maker Studio<br />

‘Architecture as Literally Life’<br />

Sher Maker Studio’s approach to architectural design<br />

is predicated on the inextricable relationship between<br />

architecture and life. Patcharada Inplang described<br />

the rural upbringings of the studio’s two founders and<br />

partners, herself and Thongchai Chansamak, which<br />

explains their perspective on the rewards of a simple<br />

way of life and the inventive and efficient use of locally<br />

accessible resources. Sher Maker, a Chiang Mai-based<br />

architectural practice, consists of a team of architects<br />

and builders. Their expanding body of work and construction<br />

techniques are heavily influenced by vernacular<br />

construction techniques, beginning with small<br />

details and components that embrace the vernacular<br />

environment of a work. Their designs are often the outcome<br />

of experimental production and material studies<br />

undertaken in the studio’s workshop. The studio’s<br />

research and development have been chronicled and<br />

applied to their design, making the materials a reflection<br />

of their understanding and appreciation of the<br />

underlying story and context of each material rather<br />

than merely their aesthetic merits.<br />

Patcharada elaborated by illustrating the two projects<br />

of the studio. The first is called the small wooden<br />

residence in Chiang Mai’s Mae Rim area, where steel<br />

construction was added to the building’s original wood<br />

components as a more convenient and cost-effective<br />

solution. The design reduced unnecessary features and<br />

retained only the fundamental characteristics that<br />

reshape the office’s comprehension and interpretation<br />

of wooden architecture.<br />

The renovation of a PTT gas station in Chiang Mai is<br />

the next project they talked about in the presentation.<br />

The existing structure received a new facade constructed<br />

of ceramics invented and produced by a<br />

local ceramic manufacturer, who are also one of the<br />

project’s end users.<br />

IDIN Architects<br />

‘Contextual Interpretation’<br />

Jeravej Hongsakul has always recognized the importance<br />

of contexts. The design of ChouiFong Tea Café<br />

I & II in ChouiFong Tea Plantation, as his office’s name,<br />

‘Integrating Design into Nature,’ implies, is essentially<br />

an architectural creation developed with a great respect<br />

for the site’s context of vast sloped terrain. The design<br />

frames and integrates the best possible view of the<br />

stunning landscape into the architectural space.<br />

From the exterior, the building’s changing levels,<br />

which correlate to the high and low terrains of the<br />

โครงการต่อมาคือ Pa Prank Hostel ที่เป็นโครงการ<br />

ปรับปรุงอาคารพาณิชย์ในย่านเมืองเก่า การออกแบบจึง<br />

แก้ปัญหาของอาคารพาณิชย์ที่มักมีปัญหาแสงธรรมชาติ<br />

และการระบายอากาศ ด้วยการเจาะอาคารเดิมบางส่วน<br />

เพื่อสร้าง courtyard กลางอาคาร ด้านหน้าของอาคาร<br />

สร้างเลียนแบบช่องเปิดของอาคารโบราณในย่านเมืองเก่า<br />

การเลือกใช้วัสดุและออกแบบองค์ประกอบต่างๆ สะท้อน<br />

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างของเก่าและของใหม่ในรูปแบบต่างๆ<br />

ทั้งที่ที่ส่งเสริมกันและแตกต่างกัน<br />

13<br />

14<br />

15<br />

site, demonstrate how the layout was built with carefully<br />

curated perspectives in mind. The design also<br />

allows for the varying presence of light and shadow<br />

at different times of the day. Meanwhile, materials are<br />

used with an additional function, to help define distinct<br />

zones of the building. As ChouiFong Tea Café I & II<br />

has risen to become one of the most well-known<br />

attractions in the province, its existence has created<br />

numerous employment opportunities for members of<br />

the community as well.<br />

13-14<br />

ผลงานออกแบบโดย<br />

Sher Maker ที่เน้นการ<br />

ทดลองประยุกต์ใช้วัสดุ<br />

15<br />

จีรเวช หงสกุล<br />

เล่าผลงานออกแบบ<br />

ของ IDIN Architects


34<br />

around<br />

ARCHITECTURE ASIA FORUM SERIES<br />

35<br />

18<br />

19<br />

17<br />

16<br />

ไร่ชาฉุยฟง<br />

โดย IDIN Architects<br />

17<br />

Pa Prank Hostel<br />

โดย IDIN Architects<br />

18-19<br />

Walk/House ผลงาน<br />

ออกแบบในวัดธรรมยาน<br />

จ.เพชรบูรณ์<br />

โดย EKAR Architects<br />

16<br />

โครงการ JB House เป็นบ้านพักอาศัยขนาดเล็กที่ต้องการ<br />

เชื่อมโยงคู่เจ้าของบ้านที่มีกิจกรรมที่แตกต่างกันแต่ยัง<br />

สามารถรักษาความเป็นส่วนตัวได้ในระดับที่เหมาะสม การ<br />

ออกแบบเปิดช่องกลางอาคารเอื้อให้เกิดมุมมองระหว่างระดับ<br />

ชั้นของอาคารเพื่อเชื่อมโยงผู้อยู่อาศัยแม้กำาลังทำากิจกรรม<br />

แยกส่วนกันก็ตาม<br />

EKAR Architects<br />

‘Not Only Human Architecture’<br />

ด้วยพื้นเพในจังหวัดเชียงใหม่ของ เอกภาพ ดวงแก้ว<br />

จึงนำามาสู่ทิศทางของ EKAR Architects ที่ผสมผสานความ<br />

เป็นเมืองกับความเป็นชนบทเข้าด้วยกัน เอกภาพเลือก<br />

2 โครงการของ EKAR Architects มาบรรยายในหัวข้อ<br />

‘Not Only Human Architecture’ โครงการแรกคือ Walk /<br />

House ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวัดธรรมยานตั้งอยู่พื้นที่เนิน<br />

เขาเตี้ยๆ บนในจังหวัดเพชรบูรณ์ การออกแบบโครงการ<br />

ต้องการพิสูจน์ว่าสาระสำาคัญของอาคารทางศาสนาอยู่ที่ใด<br />

ระหว่างรูปลักษณ์ภายนอกและภายในหรือวัฒนธรรม<br />

ประเพณี การออกแบบดำาเนินการผ่านประสบการณ์การ<br />

อุปสมบทของเอกภาพ เพื่อเรียนรู้และทำาความเข้าใจกับ<br />

พื้นที่รวมทั้งกระบวนการทุกด้านของการบวชด้วยตนเอง<br />

สถาปัตยกรรมผสมผสานและตอบรับภูมิทัศน์ สภาพแวด-<br />

ล้อมที่เปลี่ยนแปลง และวัฒนธรรมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน<br />

สถาปัตยกรรมทางศาสนาควรจะมีหน้าที่รองรับการที่<br />

มนุษย์จะใช้เวลาเข้าไปสัมผัสและรับรู้สภาพแวดล้อมรอบ<br />

ตัวที่ไร้รูป เช่น อากาศ ลม กลิ่น และสร้างความสงบสุข<br />

ในจิตใจ<br />

โครงการ Dog / Human House ในจังหวัดนครปฐม ผืน<br />

หลังคาใหญ่ที่ยื่นยาว และลาดต่ำาลงใกล้พื้น เป็นเครื่องมือ<br />

สำาคัญในการป้องกันมลพิษทางเสียงจากสุนัขสู่เพื่อนบ้าน<br />

ซึ่งเป็นเงื่อนไขการออกแบบหลักของโครงการ ความเรียบ-<br />

ง่ายของรูปทรงอาคาร และวัสดุ เช่น ศิลาแลง กระเบื้องลอน<br />

และกระเบื้องโปร่งแสงถูกเลือกสรรมาเพื่อสร้างความ<br />

กลมกลืนกับบริบท รายละเอียดของอาคาร เช่น สัดส่วน<br />

ที่ลดหลั่นของที่ว่าง และการให้ธรรมชาติสอดแทรกไปยัง<br />

ส่วนต่างๆของโครงการทั้งภายนอกและภายใน ล้วนตอบรับ<br />

พฤติกรรม การสร้างขอบเขตของสุนัข และสร้างความ<br />

สัมพันธ์ระหว่างสุนัขและคน<br />

The Pa Prank Hostel was the following project<br />

Jeravej discussed in his presentation. Renovation<br />

of an old shophouse in Bangkok’s old town district<br />

presented a number of difficulties, as the design<br />

attempts to resolve problems concerning the site’s<br />

natural light and interior ventilation by gouging<br />

portions of the building to create a courtyard in<br />

the middle of the spatial program. The design of the<br />

building’s front is heavily influenced by the opening<br />

configurations of old buildings in the area, while the<br />

materials and different architectural components<br />

are used to reflect contrasting and complementing<br />

interactions between the old and the new.<br />

JB House is a small residential project whose<br />

design aims to create a living space for a couple<br />

with different interests, activities, and lifestyles<br />

while maintaining a satisfactory level of privacy. The<br />

spatial program with a voluminous void that is perceivable<br />

from various floors, keeping the occupants<br />

connected despite the fact that they are engaged in<br />

separate activities in different parts of the interior<br />

spatial program.<br />

EKAR Architects<br />

‘Not Only Human Architecture’<br />

Ekaphap Duangkaew’s background as Chiang Mai<br />

native has a major impact in the direction and<br />

character of EKAR Architects, as well as the firm’s<br />

design philosophy, which revolves round the integration<br />

of urbanism and rurality. Ekaphap selected<br />

Walk / House as the first of two projects to explore<br />

for the presentation topic ‘Not Only Human Architecture.’<br />

The project is located on a slightly sloping<br />

hill within the Thammayan Temple in Phetchabun,<br />

Thailand. The design was created to seek a solution<br />

to the dilemma of whether the genuine essence of<br />

Buddhism resides in the physical appearance of the<br />

interior and exterior of a building or in the religious<br />

traditions and norms. As a result of Ekaphap’s own<br />

experience experience when he was ordained into<br />

monkhood, the design represents the architect’s<br />

knowledge and awareness of many components of<br />

architectural spaces, as well as the different stages<br />

of his own experience of being ordained and practicing<br />

as a Buddhist monk. The architecture blends<br />

and coincides with the terrain, the surroundings,<br />

and the culture. When people practice finding inner<br />

peace, religious architecture should enable them to<br />

observe and experience abstract natural elements<br />

such as air, wind, and scents.<br />

Ekaphap<br />

Duangkaew<br />

EKAR Architects


36<br />

around<br />

ARCHITECTURE ASIA FORUM SERIES<br />

37<br />

Jittinun<br />

Jithpratugs<br />

Plan Architect<br />

Plan Architect<br />

‘The New Challenge in Architectural Design’<br />

จิตตินันท์ จิตรประทักษ์ กล่าวถึงแนวทางการออกแบบของ<br />

ออฟฟิศที่ให้ความสำาคัญของการออกแบบด้วยวิธีธรรมชาติ<br />

และการใช้พลังงานหมุนเวียนเพื่อลดการใช้พลังงานใน<br />

งานสถาปัตยกรรม โครงการ Thai Red Cross Foundation<br />

Children Home ในนครปฐม ใช้การออกแบบด้วยวิธี<br />

ธรรมชาติเพื่อประหยัดค่าใช้จ่ายและเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับ<br />

เด็กที่อยู่อาศัยในโครงการ โดยการวางกลุ่มอาคารหันหน้า<br />

สู่ต้นไม้และสร้างแผงกันแดดทางตั้งรอบอาคารเพื่อป้องกัน<br />

แสงแดดในขณะที่เปิดรับลมธรรมชาติ<br />

โครงการหอพักพยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ เป็นการ<br />

ออกแบบผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมกับพยาบาลที่เป็นผู้ใช้<br />

อาคารหลัก ทำาให้โครงการสามารถตอบรับความต้องการ<br />

ได้ดีขึ้น อาคาร 26 ชั้นถูกแบ่งตามยาวเป็นสองฝั่งเพื่อรับลม<br />

และบิดเส้นขอบของระเบียงด้านนอกเป็นเส้นซิกแซก เพื่อ<br />

หลบแสงแดดและสร้างมุมมองใหม่ ตัวอาคารถูกเจาะเป็น<br />

ช่องใหญ่บริเวณทางเข้าอาคารและช่วงกลางอาคารเพื่อรับ<br />

ลม และสร้างพื้นที่พักผ่อนส่วนกลาง รายละเอียดอาคาร<br />

เหล่านี้สร้าง Stack Effect ทำาให้ลมธรรมชาติเข้าสู่ตัวอาคาร<br />

ทางด้านล่าง และไหลขึ้นตามช่องโล่งทางตั้งแล้วระบาย<br />

ออกที่ช่องเปิดด้านบน นอกจากการส่งเสริมคุณภาพชีวิต<br />

ผ่านพื้นที่ส่วนกลางแล้ว ห้องพักสามารถอยู่สบายด้วย<br />

อากาศธรรมชาติและสามารถประหยัดพลังงานในเวลาที่<br />

ต้องการเปิดเครื่องปรับอากาศ ระเบียงห้องพักกว้างเพียงพอ<br />

ที่จะใช้พักผ่อนและตากผ้า โดยลวดลายของ façade เอื้อให้<br />

ระเบียงเปิดรับลมได้เต็มที่และป้องกันแดดได้ดี<br />

With the Dog / Human Home project in Nakhon Pathom<br />

province, the roof’s enormous, protruding mass<br />

that lowers close to the ground is a crucial functional<br />

component that prevents the barking of the homeowners’<br />

dogs from disturbing the neighbors. While the<br />

design of the roof was based on the owner’s primary<br />

requirement, the building’s simple form and use of<br />

locally sourced materials such as laterite bricks, corrugated<br />

rook panels, and translucent roof tiles were the<br />

architect’s attempt to enhance the physical harmony<br />

between the architecture, its details and the surrounding<br />

context. It can be seen in the respectively sloping<br />

terrain, the presence of nature at various parts of the<br />

building’s interior and exterior, all of which are designed<br />

to be in accordance with the dogs’ behaviors and<br />

boundaries while also providing a relaxing atmosphere<br />

for both the owners and their animals.<br />

Plan Architect<br />

‘The New Challenge in Architectural Design’<br />

Jittinun Jithpratugs discussed Plan Architect’s natureand<br />

environment-focused approach to architectural<br />

design as well as the use of passive energy to reduce<br />

energy consumption in architecture. The design of the<br />

Thai Red Cross Foundation Children Home in Nakhon<br />

Pathom incorporated this strategy in order to reduce<br />

the foundation’s expenses and improve the standard<br />

of living for the children residing at the facility. The<br />

buildings are constructed as a cluster facing the growing<br />

trees, with vertical sun-protection panels installed<br />

around them to filter the sunlight while allowing for<br />

natural ventilation.<br />

20<br />

20<br />

Dog/Human House<br />

โดย EKAR Architects<br />

21<br />

หอพักพยาบาล<br />

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์<br />

โดย Plan Architect<br />

22<br />

Thai Red Cross Foundation<br />

Children Home<br />

โดย Plan Architect<br />

21<br />

โครงการ Singapore International School of Bangkok<br />

Thonburi Campus Phase II ต้องการนำาธรรมชาติเข้าสู่<br />

พื้นที่ปฏิสัมพันธ์ภายในอาคาร เพื่อรับมือกับปัญหามลพิษ<br />

ทางอากาศ ตัวอาคารค่อยบิดรูปทรงเพื่อโอบรับพื้นที่เปิด<br />

โล่งและสร้างความต่อเนื่องกับอาคารเดิม แต่ละอาคารย่อย<br />

มีทางเดินเชื่อมและพื้นที่โถงส่วนกลางในลักษณะ Semiindoor<br />

ที่ถูกคลุมด้วยหลังคาเขียวไล่ระดับ ในเวลาปกติโถง<br />

นี้จะถูกเปิดรับลมธรรมชาติ แต่ในสถานการณ์ที่ระดับฝุ่น<br />

PM2.5 หนักก็สามารถปิดช่องหน้าต่างและเปิดพัดลมใหญ่<br />

เพื่อสร้างพื้นที่แรงดันบวก<br />

22<br />

The design of the Nurse Dormitory at Chulalongkorn<br />

Memorial Hospital is the result of a collaborative<br />

design process between the architecture team and<br />

the building’s primary occupants, the nurses. This<br />

approach allows the functional spaces to correspond<br />

more closely with the residents’ needs and preferences.<br />

The 26-story structure’s twin corridor configuration<br />

maximizes the rooms’ exposure to natural airflow. The<br />

building’s exterior borders, where the rooms’ balconies<br />

are situated, which are constructed with zigzag lines to<br />

minimize direct sunlight and frame users’ views of the<br />

outdoors. The huge opening of the main entrance and<br />

the central void of the building create a passageway that<br />

increases natural ventilation and provides communal<br />

areas for users. The void extends upward, directing<br />

air to the upper outlets. The design offers communal<br />

areas that increase the quality of life for users, while<br />

the rooms provide thermal comfort that is maintained<br />

with natural circulation, allowing residents to rely less<br />

on the air conditioning system, thereby reducing energy<br />

consumption and energy costs. The balconies are<br />

meant to be spacious enough for inhabitants to enjoy<br />

being outside from their living units with an additional<br />

function as a laundry-drying area. In addition, the pattern<br />

of the facade allows the balconies to be fully open<br />

to fresh air while effectively shielding the living areas<br />

from excessive sunlight.


38<br />

around<br />

ARCHITECTURE ASIA FORUM SERIES<br />

39<br />

23-24<br />

ช่วงปิดท้ายของ Forum<br />

เป็นการแลกเปลี่ยนความ<br />

คิดเห็นของสถาปนิกไทย<br />

ร่วมกับนักวิชาการและ<br />

สถาปนิกนานาชาติ<br />

23<br />

ในช่วงปิดท้ายของ Architecture Asia Forum Series:<br />

Thailand Contemporary Architecture ด้วยการเสวนา<br />

ร่วมกันระหว่างนักวิชาการและสถาปนิกนานาชาติ ได้แก่<br />

Professor Nilda Valentin, Associate Professor Veronica<br />

Ng, Nuno Soares, Zhu Xiaofeng, Professor Wu Jiang,<br />

Associate Professor Zhou Minghao และ Assistant<br />

Professor Wang Yanze เกิดข้อสังเกตจากการบรรยายของ<br />

สถาปนิกไทยทั้ง 10 กลุ่ม ทั้งความคิดเห็นอื่นๆ เกี่ยวกับ<br />

สถาปัตยกรรมไทยร่วมสมัยจากมุมมองต่างๆ และการ<br />

ทำางานของสถาปนิกไทยที่เป็นประโยชน์ต่อวิชาชีพสถา-<br />

ปัตยกรรมทั่วโลกในหลากหลายประเด็นที่น่าสนใจ เช่น<br />

การทดลองเกี่ยวกับวัสดุและการก่อสร้าง การแสดงออกถึง<br />

จิตวิญญาณสถานที่ (Genius Loci) และภูมิภาคนิยมเชิง<br />

วิพากษ์ (Critical Regionalism) นวัตกรรมวัสดุที่ช่วยสร้าง<br />

ความยั่งยืนให้กับสถาปัตยกรรมประเพณี ความสัมพันธ์<br />

4 มุมระหว่าง Global-Local และ Urban-Rural ทางเลือก<br />

ของการใช้วัสดุและเทคนิคการก่อสร้างอื่นๆ นอกจากโครง-<br />

สร้างเหล็กและคอนกรีต การตอบรับกับบริบทและโปรแกรม<br />

ในรูปแบบเฉพาะตัว การคำานึงถึงภูมิอากาศและประเด็นทาง<br />

เศรษฐกิจ การให้ความสำาคัญกับสภาพแวดล้อมธรรมชาติ<br />

การสร้างความยั่งยืนผ่านสถาปัตยกรรม การเคารพบริบท<br />

ที่มีอยู่เดิม และการผสมผสานของเก่ากับของใหม่ เป็นต้น<br />

With the Singapore International School of Bangkok<br />

Thonburi Campus Phase II, Plan Architect created<br />

the architecture by blending natural materials into<br />

the building’s interior functional spaces to combat<br />

air pollution. The building’s gradually deviated shape<br />

welcomes the open space inside the project and promotes<br />

physical and visual continuity with the existing<br />

buildings. The smaller structures are connected by<br />

a network of semi-outdoor walkways, and the public<br />

areas are covered by a roof structure with ascending<br />

and descending sections. The majority of the time,<br />

the space is left as an open-air area, but on days with<br />

significant concentrations of PM 2.5 smog, the windows<br />

can be shut, and industrial fans can be brought<br />

in to create a positive pressure space.<br />

Architecture Asia Forum Series: Thailand Contemporary<br />

Architecture concluded with a panel discussion<br />

featuring international academics and architects, including<br />

Professor Nilda Valentin, Associate Professor<br />

Veronica Ng, Nuno Soares, Zhu Xiaofeng, Professor<br />

Wu Jiang, Associate Professor Zhou Minghao, and<br />

Assistant Professor Wang Yanze. The presentations<br />

of the ten architecture firms elicited many insightful<br />

observations, ideas, and perspectives on contemporary<br />

architecture. There are a number of intriguing<br />

issues regarding the practice of Thai architects and<br />

their contributions to the global architectural profession,<br />

ranging from experiments on materials and<br />

construction, the expression genius loci (prevailing<br />

spirit or atmosphere of a place), critical regionalism,<br />

material innovations that provide greater sustainability<br />

for traditional architecture, the four-way relationship<br />

between Global-Local and Urban-Rural, and the use<br />

of alternative materials and construction technology,<br />

to the use of alternative materials and construction<br />

techniques in addition to steel and concrete structures.<br />

Then there are other discussions revolving around<br />

context and program-specific designs, with a consideration<br />

in local climate, economic landscape, and<br />

environment, to how sustainability can be achieved<br />

through architecture, to a design’s respect for the<br />

preexisting context as well as possible integrations<br />

and interactions between the old and the new.<br />

24<br />

ผศ.ดร.สายทิวา รามสูต<br />

เป็ นอาจารย์ประจำาภาค<br />

วิชาสถาปั ตยกรรม คณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

มีความสนใจในการอยู่ร่วม<br />

กันของสถาปั ตยกรรมและ<br />

สภาพแวดล้อมเก่าและใหม่<br />

การปรับเปลี่ยนการใช้สอย<br />

ของอาคารเก่า และสิ ่ง-<br />

แวดล้อมสรรค์สร้างเพื่อ<br />

สุขภาวะ<br />

Asst. Prof.Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D<br />

is a faculty member<br />

at the Department of<br />

Architecture, Faculty of<br />

Architecture, Kasetsart<br />

University. Her academic<br />

interests include<br />

the coexistence of old<br />

and new architecture,<br />

adaptive reuse of old<br />

buildings, and built environments<br />

for health<br />

and wellbeing.<br />

architecture-asia.com/Data/List/<br />

ForumSeries


42<br />

theme<br />

CONCRETE CONSTRUCT CONCEPTION<br />

43<br />

Concrete<br />

Construct<br />

01<br />

รูปตัดรายละเอียด ของ<br />

KnitCandela ผลงาน<br />

ความร่วมมือระหว่าง<br />

ZHCODE (Computation<br />

Design Group ของ<br />

Zaha Hadid Architects)<br />

Block Research Group<br />

(BRG) และ Architecture<br />

Extrapolated (R-Ex)<br />

เมื่อปี 2018<br />

Conception<br />

Concrete has always adapted itself to the<br />

social paradigm. Concrete as a structure helps<br />

to bring light into the peaceful and profound<br />

religious space. Concrete as a construction<br />

system help freed the hierarchical system<br />

by eliminating ornamentation. In the postwar<br />

era, the raw and rough nature of concrete,<br />

including its locality, helped overcome the<br />

scarcity of resources. Concrete is a kaleidoscope<br />

and a legacy of a society. It is truly an open<br />

material.<br />

Text: bsides: Pornpas Siricururatana, Takumi Saito<br />

01<br />

Image credit: ZHCODE / BRG, ETH Zurich


44<br />

theme<br />

CONCRETE CONSTRUCT CONCEPTION<br />

45<br />

02<br />

Photo Credit: Pornpas Siricururatana<br />

PARTS<br />

กลางศตวรรษที่ 20 ในวันที่คอนกรีตเป็นแรงขับเคลื่อน ความ<br />

เป็นไปได้ที่ซ่อนตัวอยู่ในคอนกรีต จุดไฟในความเป็นผู้สร้าง<br />

บันดาลให้พวกเขาเกิดความอยาก อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน<br />

“มีเพียงสถาปนิกในปัจจุบันเท่านั้น ที่รู้จักและเข้าถึงความสุข<br />

และความประทับใจ ที่เกิดจากการสร้างระเบียบ ภายใต้แรง<br />

โน้มถ่วง ให้กับพลังงานที่ยุ่งเหยิงและไม่มีที่สิ้นสุด ที่ซ่อนอยู่<br />

ในคอนกรีต” 1<br />

ใน ปี 1958 นิตยสารด้านสถาปัตยกรรมของประเทศญี่ปุ่น<br />

ชื่อ Kenchikubunka ยกนิตยสารสองฉบับเต็มให้กับ Special<br />

Issue ที่มีชื่อว่า คอนกรีต บทความที่ชื่อว่า “คอนกรีต พลังงาน<br />

ที่ไม่มีที่สิ้นสุด” ของ Kenzo Tange ในนิตยสารเล่มนั้นเป็นทั้ง<br />

จดหมายรัก และ คำาสารภาพบาป ต่อสิ่งที่เรียกว่า คอนกรีต<br />

หลังจากนั้นไม่นาน คอนกรีตก็กลายสภาพเป็นสิ่งที่ไม่แปลก<br />

ใหม่อีกต่อไป กลับกัน อาคารคอนกรีตที่สร้างในยุคก่อน เริ่ม<br />

มีอายุมากพอที่จะสร้างปัญหา “ในช่วงปี 1960s ผมไม่ได้ไม่<br />

ชอบคอนกรีต แต่รู้สึกว่ามันไม่น่าไว้ใจ…พอต้น 70s ช่วงวิกฤต<br />

น้ำามัน ..ความขาดแคลนวัสดุ ทำาให้เราเห็นว่าคอนกรีตถูกหล่อ<br />

ชุ่ยแค่ไหน ความมั่นใจต่อคอนกรีตก็ค่อยๆ ลดลง” 2<br />

ประโยคของ Arata Isozaki แสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลง<br />

ของทัศนคติสถาปนิกต่อคอนกรีต จากการใช้คอนกรีตแบบ<br />

เต็มเหนี่ยวเพื่อแสดงตัวตน กลายเป็นการใช้ที่มีการควบคุม<br />

อย่างรอบคอบมากขึ้น จากผู้สร้างภาพรวม สู่ส่วนกระกอบ<br />

ของระบบ เป็นการปรับกระบวนทัศน์ครั้งใหญ่ในการใช้<br />

คอนกรีต<br />

ความคลั่งไคล้ในอดีตมันอันตรธานหายไป หรือมันแค่กลาย<br />

ร่างเป็นการแฝงตัวแสดงนัยยะอย่างนอบน้อมขึ้น อะไรคือ<br />

กลไกของคอนกรีต ที่ทำาให้ทันทีที่สูญเสียความพิเศษของ<br />

ความเป็นสมัยใหม่ไป ก็สามารถเริ่มหน้าที่ใหม่ ในการช่วยพา<br />

สถาปัตยกรรมก้าวข้ามความเป็นสมัยใหม่ต่อไปได้<br />

ความสามารถในการเป็นทั้ง โครงสร้าง พื้นผิว และกรอบ<br />

อาคาร ของคอนกรีต ทำาให้คำาว่า “สถาปัตยกรรมคอนกรีต”<br />

มักถูกใช้อย่างจำากัดในการพูดถึงสถาปัตยกรรมที่ใช้คอนกรีต<br />

เป็นภาพรวม แต่จริงๆแล้ว ยังมีพื้นที่อีกมากที่คอนกรีตช่วย<br />

ผลักขีดจำากัดของผู้ออกแบบ เป็นกลุ่มงานที่คอนกรีตอาจไม่ได้<br />

เป็นพระเอก หรือเป็นการใช้คอนกรีตควบคู่กับวัสดุอื่นๆ น่า-<br />

เสียดายที่วาทกรรมว่าด้วยคอนกรีต มักถูกจำ ากัดในพื้นที่ของ<br />

“สถาปัตยกรรมคอนกรีต” ทั้งๆ ที่ ความเป็นไปได้ที่แท้จริง<br />

ของมัน อาจซ่อนอยู่ในพื้นที่ที่เหลือก็เป็นได้ คอนกรีตยังคง<br />

ต้องการวาทกรรมเพิ่มเติม นอกเหนือจากขอบเขตที่จำ ากัดนี้<br />

PARTS<br />

In the mid-20 th century, concrete unleashed energy<br />

in architects, allowing them to harness and push<br />

their boundaries of creativity and ambition.<br />

"Reinforced concrete gives us unlimited power. ...<br />

only modern architects know the joy and excitement<br />

of providing order to such infinite energy<br />

in the field of gravity, to the chaotic energy that<br />

concrete contains." 1 In 1958, a Japanese architectural<br />

magazine, Kenchiku Bunka, devoted two<br />

issues to concrete. The above article, "Concrete,<br />

Infinite Energy" by Kenzo Tange, was a love letter<br />

and a confession. It shows an architect's euphoric<br />

confidence in concrete at that moment.<br />

However, a little later, when a concrete building<br />

built in the past was old enough to cause problems,<br />

concrete shed its myths. "In the 1960s,<br />

I didn't dislike concrete, but I thought it was<br />

unreliable. ...In the early 70s, around the time of<br />

the oil crisis, there was a construction boom. With<br />

the shortage of materials, people began to realize<br />

how carelessly concrete was being cast and<br />

gradually lost faith in it." 2<br />

This phrase from Arata Isozaki represents how the<br />

use of concrete shifted over time. The once-bold<br />

use of concrete gives way to a more controlled<br />

usage, from dominant to restrained and carefully<br />

integrated as parts within the whole. It was a paradigm<br />

shift for concrete. Have all the crazes until<br />

then disappeared entirely? Or has it just become<br />

implicit, submerged in form? How can a material<br />

that loses its special status associated with<br />

modernity become a tool to overcome modernity<br />

itself?<br />

Concrete is universal. Even when not visible,<br />

concrete provides both support and movement,<br />

continuity and isolation, stability and destruction<br />

in architecture. It has always been a medium for<br />

architects to experiment with a wide range of<br />

ideas. However, despite its universality, including<br />

its partial use or invisible presence, the discourse<br />

on concrete is often limited to a particular realm;<br />

concrete architecture, a realm of architecture<br />

built entirely of concrete. Concrete needs further<br />

discourse beyond this limited realm.<br />

02<br />

ภาพโครงหลังคา คณะ<br />

วิศวกรรมศาสตร์ มหา-<br />

วิทยาลัยสงขลานครินทร์<br />

โดย อมร ศรีวงศ์ และ<br />

ดร.รชฏ กาญจนะวณิชย์<br />

โครงเหล็ก space frame<br />

ที่วางบนเสาคอนกรีต<br />

ยื่นไปรับชิ้นส่วนรางน้ำา<br />

คอนกรีต ที่ช่วยรับชิ้นส่วน<br />

หลังคาคอนกรีตรูปโดมต่อ<br />

ถ้าเปรียบเทียบกับห้องสมุด<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่<br />

อมร ศรีวงศ์ออกแบบร่วมกับ<br />

อรุณ ชัยเสรี หลังจากนั้น<br />

ที่ให้คอนกรีต ทำาหน้าที่<br />

เป็น space frame ด้วย<br />

ในตัว โครงหลังคาเหล็ก<br />

ในภาพ อาจจะถูกมองว่า<br />

เป็นความลักลั่นของระบบ<br />

โครงสร้าง แต่ในอีกมุม-<br />

หนึ่ง อาจกล่าวได้ว่า โครง<br />

space frame เหล็กเหล่านี้<br />

ทำาหน้าที่เป็นตัวช่วย ลด<br />

ขนาดและความซับซ้อน<br />

ของกระบวนการก่อสร้าง<br />

ช่วยสร้างความแข็งแรง<br />

ที่ยืดหยุ่น


46<br />

theme<br />

CONCRETE CONSTRUCT CONCEPTION<br />

47<br />

DIGEST<br />

คอนกรีต สลักกระบวนการเกิด และเส้นทางเดินของตัวเอง<br />

ลงบนผิว เช่นเดียวกับโบราณสถาน และซากปรักหักพัง<br />

คอนกรีตมอบสายตาของการค้นหา “สิ่งที่เคยมีมาก่อน”<br />

ต่างกับกลุ่มสถาปัตยกรรมขาวในยุคแรกของเขา หลัง<br />

สงครามโลก Corbusier พยายามอย่างมากในการปกป้อง<br />

สลักเวลาบนผิวคอนกรีต ว่ากันว่าที่ Chandigarh ถ้ามีส่วน<br />

ไหนของผิวคอนกรีตโดนฉาบทับ แม้ด้วยความเข้าใจผิด<br />

จะได้ยินเสียงตะโกนเรียกช่างของ Jeanneret ว่า “ท่าน<br />

สุภาพบรุษ พวกคุณกำาลังทำาให้พระราชวังนี้กลายเป็น<br />

กระท่อม กรุณาอย่าทำาอีก!” 3<br />

The once-bold use of concrete gives<br />

way to a more controlled usage,<br />

from dominant to restrained and<br />

carefully integrated as parts within<br />

the whole. It was a paradigm shift<br />

for concrete. Have all the crazes<br />

until then disappeared entirely?<br />

Or has it just become implicit, submerged<br />

in form?<br />

ความพยายามที่จะรักษาร่องรอยของเวลาและกระบวนการ<br />

บนผิวของคอนกรีต เกิดขึ้นพร้อมๆ กับความพยายามในการ<br />

จัดการไม่ให้รูปถ่ายที่เห็นภาพช่างและแรงงานขณะก่อสร้าง<br />

ออกสู่สื่อ<br />

“ความย้อนแย้งของ Corbusier อยู่ตรงที่ ความไม่สนใจภาพ<br />

กระบวนการก่อสร้างของเขายังคงยึดมั่นไม่เปลี่ยน ณ วันที่<br />

เขาพยายามฉายแสงไปที่ร่องรอยของกระบวนการเหล่านั้น<br />

ในงานสถาปัตยกรรมของเขา” 4<br />

อาจกล่าวได้ว่า สำาหรับ Corbusier สิ่งที่สำาคัญไม่น้อยกว่า<br />

ความ “brut” ของวัสดุ คือความพยายามที่จะรักษาความ<br />

เป็นนามธรรมของร่องรอยเวลา เป็นการรักษาที่ว่างใน<br />

จินตนาการ ให้ปราศจากแรงงาน และเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น<br />

จริง ที่นี่ สถาปัตยกรรมคือสิ่งที่ปรากฏ ในวันที่สร้างเสร็จ<br />

หลัง Chandigarh ประมาณครึ่งศตวรรษ “กระท่อม” เล็กๆ<br />

จากคอนกรีตที่ชี่อว่า The Truffle ถูกสร้างขึ้นโดย Ensamble<br />

Studio สถาปนิกที่เป็นผู้ร่วมกระทำาการก่อสร้างด้วย ช่วย<br />

สุมฟางเพื่อเป็นกรอบไม้แบบด้านใน และสุมดินให้เป็นกรอบ<br />

ไม้แบบด้านนอก ตรงข้ามกับ Chandigarh กระบวนการ<br />

สร้างทั้งหมด ถูกเรียบเรียงและถ่ายทอดออกมา ในฐานะ<br />

ส่วนหนึ่งของความคิดหลักของตัวสถาปัตยกรรม<br />

The Truffle เชื่อมโยงกับความตายตั้งแต่สถานที่ตั้ง มันถูก<br />

สร้างขึ้นที่ “ชายฝั่งแห่งความตาย” ของสเปน และเป็นการ<br />

นำาแปลนของที่อยู่สุดท้ายของ Corbusier คือ the Cabanon<br />

มาเป็น “ไม้แบบ” สร้างพื้นที่ว่าง จริงๆ แล้วจุดประสงค์ของ<br />

โครงการนี้ อาจคือการปลุกสถาปัตยกรรมขึ้นมาจากความ<br />

ตาย คืนความเป็นรูปธรรมให้กับกระบวนการก่อสร้าง ใน<br />

ขณะเดียวกันก็คืนกระบวนการนั้นกลับสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต<br />

DIGEST<br />

Concrete engraves its skin with the traces of its<br />

trajectory. Just as ruins do, it gives the observer<br />

a glimpse on what was once there.<br />

In the mid-1950s Chandigarh, a vast amount of<br />

concrete was poured into the formwork on towering<br />

wooden supports, with buckets being carried and<br />

emptied repeatedly by lines of the local laborers.<br />

"…If any part of the concrete surface…was touched<br />

up, even by mistake, and it came to the notice of<br />

Jeanerette, he would shout and scream at the<br />

engineers and workers involved saying, 'You, gentleman,<br />

have made a palace look like a hut after<br />

touching it up. Please do not do it again.'" 3<br />

Photographs of the construction process, containing<br />

images of workers, had been carefully<br />

removed from the press. The concrete surface is<br />

not linked to events that contributed to its creation.<br />

Instead, it is dedicated to the abstraction intended<br />

by the architect. Here, architecture is what appears<br />

at the time of completion."It certainly remains a<br />

paradox that Le Corbusier's lack of interest in<br />

seeing the building process documented remained<br />

adamant at the very moment when he had begun<br />

to highlight its traces in the built works themselves." 4<br />

Half a century later, a small hut named The Truffle<br />

was built out of concrete on a coast in Spain.<br />

Ensamble Studio, the architects who are also<br />

builders, piling up the straw for the inner frame<br />

while heaping up the soil for the outer rim. In<br />

contrast to Chandigarh's, the entire construction<br />

process had been edited and published as part<br />

of the architecture.<br />

03<br />

กระบวนการเทคอนกรีต<br />

ใน Chandigarh คาดว่า<br />

ในบริเวณพื้นที่การก่อสร้าง<br />

Government Press<br />

Building<br />

03<br />

Photograph by Ernst Scheidegger © <strong>2023</strong> Stiftung Ernst Scheidegger-Archiv, Zurich.


04<br />

Photo Credit: Ensamble Studio<br />

04<br />

the Truffle ระหว่าง<br />

การก่อสร้าง


50<br />

theme<br />

CONCRETE CONSTRUCT CONCEPTION<br />

51<br />

05<br />

Diagram นี้ ปรากฏครั้ง<br />

แรกในบทความ Investigations<br />

in Collective<br />

Form ของ Fumihiko<br />

Maki เมื่อปี 1964 เป็น<br />

Diagram แสดงวิธีการ<br />

ทำางานกับกลุ่มของหน่วย<br />

ย่อย เป็นรูปแบบของความ<br />

สัมพันธ์ระหว่างหน่วย<br />

ย่อยและภาพรวม 3 แบบ<br />

แบบแรกนับจากซ้าย<br />

มือ คือ compositional<br />

form เป็นตัวอย่างรูปแบบ<br />

ที ่ Oscar Niemeyer ใช้<br />

ในการออกแบบ Brasilia<br />

แบบที่สอง megaform คือ<br />

ตัวอย่างรูปแบบที่ Tange<br />

Lab ใช้ในการออกแบบ<br />

A Plan for Tokyo 1960<br />

และเป็นที่รู้จักในฐานะวิธี<br />

หลักของ Metabolists<br />

แบบสุดท้าย คือ สิ่งที่<br />

Maki เรียกมันว่า group<br />

form เป็นความสัมพันธ์<br />

แบบที่เห็นได้ตามหมู่บ้าน<br />

หรือชุมชน เป็นโครงสร้าง<br />

ความสัมพันธ์ที่ซ่อนตัวอยู่<br />

ในพื้นที่ว่าง<br />

Concrete engraves its skin with the traces of its trajectory.<br />

Just as ruins do, it gives the observer an eye on what was<br />

once there.<br />

เช่นเดียวกับกลิ่นหอมหวนของ Truffle ใต้ดินที่ยั่วยวนสัตว์<br />

ให้มาขุดกิน และแพร่พันธ์ผ่านสปอร์ในมูลที่ถูกถ่ายออกมา<br />

กลิ่นฟางที่เคยทำาหน้าที่เป็นไม้แบบอันหอมหวน ทำาหน้าที่<br />

เชิญชวนน้องวัว Paulina ให้มากิน และบันทึกของกระบวน-<br />

การนี้เอง ที่เป็นตัวช่วยกระจายแนวคิดของโครงการ ที่นี่<br />

คอนกรีตเป็นทั้งวิธีและเครื่องมือในการปลดปล่อยสถาปัตย-<br />

กรรมจากวัฒนธรรมการแช่แข็ง จากแรงงานที่ควรลืม<br />

สู่ความเป็นเทศกาลที่ควรจำา จาก “ไม้แบบ” ที่ต้องทิ้ง สู่<br />

อาหาร และ “มูล” ของน้อง Paulina<br />

GENETIC<br />

“คอนกรีต คือศิลปะของการใช้เครื่องมือขนาดเล็ก สร้างของ<br />

ขนาดใหญ่” 5<br />

ความพยายามที่จะจัดการกับขนาดและจำานวน เกิดขึ้น<br />

พร้อมๆ กันหลายพื้นที่ทั่วโลก สถาปนิก Structuralist<br />

ยุคแรกจากเนเธอร์แลนด์ อย่าง Aldo Van Eyck พยายาม<br />

หาสมดุลของความเป็นระเบียบและความขัดแย้ง ผ่านการ<br />

ใช้โมดูลคอนกรีตไม่กี่ชนิด ดังที่เห็นได้ชัดในงานสถานเลี้ยง<br />

เด็กกำาพร้า ที่อัมสเตอร์ดัม หรืองานของ Herman Herzberger<br />

ก็ใช้ชิ้นส่วนหล่อคอนกรีตสำาเร็จซ้ำาๆ ในการสร้าง<br />

จังหวะ ทำางานกับสัดส่วนมนุษย์และความเป็นสาธารณะ<br />

ไปพร้อมๆ กัน คอนกรีตเป็นสื่อยืดหยุ่นที่ช่วยให้ฝันของ<br />

พวกเขากลายเป็นจริง<br />

The project is situated in Costa da Morte, or<br />

the Coast of Death, and refers to the plan of Le<br />

Corbusier's end-of-life dwelling, the Cabanon<br />

at Cap-Martin. Perhaps, the project's ambition is,<br />

to take architecture out of its death and reposition<br />

it in time. Like truffle, which is dug up, eaten, and<br />

spread spores through their feces, this architecture<br />

is dug up, eaten, and spread through its process.<br />

Here concrete celebrates labor, and the core<br />

to form itself turns into Paulina, a calf's food and<br />

poop.<br />

GENETIC<br />

"Reinforced concrete is the art of doing large<br />

things with small means." 5<br />

05<br />

Image credit: Maki and Associates<br />

Efforts to deal with scale and numbers happened<br />

simultaneously in many places worldwide. An<br />

early Dutch structuralist architect, Aldo Van Eyck,<br />

sought to balance order and conflict through<br />

repetitive subunits and systems of concrete<br />

modules, as seen in his work on the orphanage in<br />

Amsterdam. Herman Herzberger repeatedly used<br />

precast concrete elements to create a rhythm to<br />

work with the human and public scales simultaneously.<br />

Concrete is an elastic medium that helps<br />

solidify their dreams.<br />

ในประเทศญี่ปุ่น ความต้องการของที่อยู่อาศัยที่พุ่งสูงขึ้น<br />

พร้อมๆ กับพื้นที่เมืองที่จำากัด เป็นแรงผลักดันให้กลุ่ม<br />

Metabolists ทำางานกับจำานวนและความเปลี่ยนแปลง มุม-<br />

มองของ Metabolist อย่าง Kenzo Tange Kisho Kurokawa<br />

หรือ Kiyonori Kikutake คือมุมมองของนักพัฒนาประเทศที่<br />

ทำาหน้าที่จัดการแผ่นดิน เป็นสายตาของนกเหยี่ยวที่เห็นคน<br />

เป็นจำานวน Megastructure ขนาดใหญ่ที่มีหน่วยย่อยเกาะ<br />

บน core ที่ทำาหน้าที่เป็นโครงสร้างหลัก ของพวกเขา คือ<br />

การเตรียมหน่วยย่อยขนาดมาตรฐานที่เพิ่มจำานวนได้ เพื่อ<br />

รองรับคน<br />

ถ้า Megastructure เป็นการรวมอำานาจมาที่ศูนย์กลาง<br />

แนวคิดเรื่อง Group form ของ Fumihiko Maki น่าจะเรียก<br />

ได้ว่าเป็นแนวคิดที่เป็นการกระจายอำานาจที่สุดของ Metabolist<br />

วิธีคิดของ Maki เน้นการมองไปที่อิสระของปัจเจก<br />

และความเป็นไปได้ในการสร้างความเชื่อมโยงของสิ่งที่<br />

แตกต่าง โดยเน้นความเชื่อมโยงผ่านวัสดุ และความสัมพันธ์<br />

ของที่ว่าง ฟากหนึ่งใช้คอนกรีตสร้าง form อีกฟากหนึ่งใช้<br />

คอนกรีตมาสนับสนุน “ความคิดที่ไม่มี form” 6<br />

โครงการ Daikanyama Hillside Terrace ค่อยๆ ถูกสร้าง<br />

เพิ่มขึ้นทีละเฟส ในระยะเวลาที่ยาวกว่า 30 ปี เป็นการจัดการ<br />

พื้นที่ว่าง และสร้างพื้นที่สาธารณะด้วยเสา เก้าอี้ บันได ที่ทำ า<br />

ด้วยคอนกรีต เป็นการสังเคราะห์ขนาดส่วนของเมือง เพื่อ<br />

สร้างความเชื่อมโยงของกลุ่มอาคาร Maki ให้ความสำาคัญ<br />

กับความเปลี่ยนแปลงในผู้ออกแบบ ที่เปลี่ยนไปตามเวลา<br />

ของแต่ละเฟส ความเปลี่ยนแปลงนี้เอง คือสิ่งที่จะมาช่วย<br />

สร้างความไม่เกี่ยวข้อง ภายใต้ความเกี่ยวข้องของวัสดุ<br />

อาจจะไม่ใช่เรื่องบังเอิญที่จุดเริ่มต้นในแนวคิดทั้งของ Van<br />

Eyck และ Maki มาจากการเดินทางไปชุมชนในแถบทะเล<br />

เมดิเตอร์เรเนียน ที่น่าสนใจยิ่งกว่าคือ บรรดาหมู่เกาะใน<br />

ประเทศกรีซที่ Maki สนใจ เป็นพื้นที่ที่สร้างอาคาร จาก<br />

วัฒนธรรมก่อสร้างด้วยคอนกรีตที่มีมาช้านาน แถมยังเป็น<br />

เกาะข้างๆ กับเมืองที่ Rudofsky ใช้เป็นหัวข้อในการเขียน<br />

วิทยานิพนธ์ปริญญาเอกของเขา คอนกรีตเป็นเบสไลน์ของ<br />

บทเพลง เป็นพื้นฐานของความเป็นเมือง ที่สามารถก้าวข้าม<br />

ความเป็นปัจเจกของสถาปัตยกรรม เป็นกฏเชื่อมหน่วยย่อย<br />

ที่หลากหลาย ผ่านพื้นที่ภายนอก ที่มีเอกลักษณ์<br />

GROUND<br />

คอนกรีตเป็นภาชนะรองรับความหลากหลาย สร้างความ<br />

สอดคล้อง ให้สิ่งที่ต่างกันสุดขั้วอยู่ร่วมกันได้ โดยไม่ขัดแย้ง<br />

In Japan, soaring housing demand and the limited<br />

urban area have driven the Metabolists to work<br />

with numbers and variations. Metabolists such as<br />

Kenzo Tange, Kisho Kurokawa, and Kiyonori Kikutake<br />

are viewed as the country's developers who<br />

deal with land. It is the sight of a falcon that sees<br />

people as numbers. The massive megastructures,<br />

with the main structure as the core and subunits<br />

attached to them, are designed to accommodate<br />

standardized subunits which can be increased<br />

when necessary.<br />

Contrary to the centralized power of the megastructure,<br />

the idea of ​Fumihiko Maki's group form<br />

is the most decentralized concept in Metabolism.<br />

For operations of each structural unit in a city,<br />

Maki, a Metabolist, emphasizes moderation of both<br />

poles, freedom by independent individuals, and<br />

composing a group of units following rules. His<br />

theory focuses on the links between materials and<br />

relationships between empty spaces. One used<br />

concrete to create form, while the other used it to<br />

support "formless ideas." 6<br />

Daikanyama Hillside Terrace has been built phase<br />

by phase for over 30 years. It consists of the articulation<br />

of empty spaces, the trajectory of public<br />

space with columns, benches, and stairs made<br />

of concrete, and the synthesis of the scale of<br />

Daikanyama city. The linkage allows for the collectiveness<br />

of the building group. For Maki, changes<br />

over time within designers help create irrelevance<br />

underneath the material relevance, something he<br />

called "accidental increment."<br />

Van Eyck and Maki were both inspired by their<br />

travels to villages around the Mediterranean. Maki's<br />

concept of the Group form is traced back to his<br />

visit to a Greek island in the Aegean Sea, where<br />

he observed a townscape with a long-established<br />

concrete construction culture. The nearby island<br />

was also the subject of Rudofsky's doctoral thesis<br />

on traditional concrete construction. Concrete can<br />

be the foundation for generating a city beyond<br />

individual architecture, providing a continuous tone<br />

like a base note in music.<br />

GROUND<br />

Concrete accommodates diversity, allowing different<br />

individuals to coexist independently without


52 53<br />

06<br />

Daikanyama Hillside<br />

Terrace ปี <strong>2023</strong><br />

06<br />

Photo Credit: Takumi Saito


54<br />

theme<br />

CONCRETE CONSTRUCT CONCEPTION<br />

55<br />

ความเป็นเมืองมาพร้อมกับความหนาแน่น และความ<br />

ต้องการพื้นที่ในแนวตั้ง แปลนมาตรฐานบนพื้นคอนกรีต<br />

ที่เรียบแข็ง ช่วยตอบคำาถามต่อประเด็นทางปริมาณนี้โดย<br />

การ “ขาดข้อผูกมัดอย่างเป็นระบบ” 7 ซึ่งทำาให้ผู้อยู่อาศัย<br />

จำานวนมากสามารถเข้าอยู่ได้ แต่ไม่ได้แปลว่า อยู่ร่วมกันได้<br />

การระเบิดทำาลาย อาคารอพาร์ตเมนต์ Pruitt-igoe ในปี<br />

1972 ที่โด่งดัง เป็นเหตุการณ์ที่แสดงให้เห็นถึงข้อจำากัด<br />

ของ อาคารชุดอยู่อาศัยแนวตั้ง ที่เน้นความเป็นมาตรฐาน<br />

แต่ปฏิเสธข้อผูกมัดของความหลากหลาย<br />

Ökohaus โครงการที่อยู่อาศัยเพื่อสังคม สำ าหรับ 27 ครอบครัว<br />

ที่สร้างเสร็จเมื่อปี 1992 ทำ างานกับปัญหาเหล่านี้ โดยการเปิด<br />

โอกาสให้เจ้าของบ้านแต่ละบ้าน สามารถสร้างบ้านเดี่ยวได้ด้วย<br />

ตัวเอง สิ่งที่ Frei Otto ทำ า คือการวางพื้นคอนกรีตสองแผ่น ใน<br />

ระดับ 6 และ 12 เมตร เพื่อเป็นที่ดินลอยฟ้า ให้กับบ้านเดี่ยว<br />

แต่ละบ้าน ระหว่างการประชุมร่วมช่วงสุดสัปดาห์ เจ้าของ<br />

บ้านแต่ละหลัง บางครั้งพร้อมกับสถาปนิกของเขา นำ าโมเดล<br />

1:50 ของแต่ละบ้าน มาวางในโมเดลโครงสร้างคอนกรีตรวม<br />

หน้าที่ของ Otto เป็นมากกว่าสถาปนิกผู้ออกแบบโครงสร้าง<br />

ทางกายภาพ แต่เป็นสถาปนิกของสถาปนิก จัดการกับความ<br />

ขัดแย้ง เพื่อให้แต่ละฝ่ายสามารถมีอิสระในการสร้างบ้าน<br />

ของตัวเองได้อย่างสงบสุข 8 ในขณะเดียวกัน ก็เป็นผู้ตัดสินใจ<br />

จัดการกับความต้องการบางอย่าง ที่อาจคุกคามแนวคิดอิสระ<br />

ส่วนรวมได้<br />

ที่นี่ แผ่นดินประดิษฐ์ จึงไม่ใช่ สิ่งที่อยู่มาก่อน ที่สร้างขึ้นโดย<br />

ใครก็ไม่รู้ แต่เป็นแผ่นดินที่เดินทางพร้อมๆ กับกระบวนการ<br />

ออกแบบของบ้านแต่ละหลัง ที่หวังจะหาทางออกร่วมกัน เพื่อ<br />

เชื่อมโยงให้ปัจเจกสามารถอยู่ร่วมกันได้ อย่างอิสระ<br />

conflict. Urbanization comes with the concept of<br />

density and the escalation of stacking floors vertically.<br />

The typical standardized plan on a solid<br />

smooth concrete floor answered this quantity issue<br />

by its "systematic lack of commitment 7 , "which<br />

lets its occupants exist but not coexist. The 1972<br />

explosion of the Pruitt-Igoe apartment building<br />

illustrates the limitation of vertical residential condominiums,<br />

which address the quantity issue with<br />

standardization but reject diversities of individuals.<br />

Ökohaus, a social housing for 27 families completed<br />

in 1992, works on these issues. It engages<br />

people "to build their own home with the qualities<br />

of self-built own housing." Frei Otto put two openair<br />

concrete plates 6 and 12 meters above ground<br />

level to serve as each house's artificial ground.<br />

1/50 scale models were brought in by each owner,<br />

some with private architects, and placed in a concrete<br />

structure model during weekend discussions.<br />

Communication between each house and the<br />

structure was also necessary for piping, fireproofing,<br />

and common circulation. The role of Frei Otto<br />

in the project is not only the architect of the physical<br />

structure but also the architect of the architects,<br />

dealing with settlements that could threaten<br />

the project’s concept of collective freedom. "...My<br />

duty was simply to help them build peacefully." 8<br />

Here, the artificial surface of the earth is not a<br />

fait accompli by the unknown, which only lets its<br />

occupants exist. Instead, it travels with the design<br />

process, sharing the same desire for a common<br />

exit, linking individuals to coexist independently.<br />

07<br />

Ökohaus project<br />

ภาพถ่ายระหว่าง<br />

การก่อสร้าง ปี 1988<br />

08<br />

Ökohaus project<br />

ในปี 1989<br />

07 08<br />

Photo courtesy of saai | Archiv für Architektur und Ingenieurbau, Karlsruher Institut für Technologie,<br />

Werkarchiv Frei Otto © Atelier Frei Otto Warmbronn<br />

Photo courtesy of saai | Archiv für Architektur und Ingenieurbau, Karlsruher Institut für Technologie, Werkarchiv Frei Otto © Atelier Frei Otto Warmbronn


56<br />

theme<br />

CONCRETE CONSTRUCT CONCEPTION<br />

57<br />

09<br />

Photo courtesy of Medios Audiovisuales FADU – UdelaR © Silvia Montero 2006<br />

Concrete is a material that can perform without being a<br />

protagonist. It is a relationship builder, encouraging sharing<br />

rather than monopoly and openness rather than seclusion.<br />

สำาหรับ Otto สมมติฐานของโครงสร้างคอนกรีตใน Ökohaus<br />

อาจทำางานในทิศทางเดียวกับวิธีคิด Membrane Structure<br />

ที่ผ่านมาของเขา มันคือการให้อิสระกับผู้คน โดยการยอมรับ<br />

ข้อเรียกร้องต่างๆ ผ่านเอกลักษณ์ของโครงสร้างบางอย่าง<br />

เป็นความพยายามที่จะก้าวข้ามระบบที่สร้างบนกฏเดี่ยวของ<br />

คนๆ เดียว ความดีงามของโครงการนี้ อาจจะอยู่ตรงที่ ระหว่าง<br />

ที่ Otto เปิดพื้นที่และกระบวนการ ให้ผู้อื่นเข้ามามีส่วนร่วม<br />

เขาก็ไม่ละทิ้งการออกแบบ อย่างที่ Otto กล่าวว่า “มันคือ<br />

การทดลอง ว่า เราสามารถให้อิสระกับผู้คนได้แค่ไหน” 9<br />

แผ่นพื้นคอนกรีต ในโครงการ Ökohaus ไม่ได้เป็นแค่โครง-<br />

สร้างพื้นฐานทางกายภาพ แต่เป็นโครงสร้างและสัญลักษณ์<br />

ที่เข้มแข็งของกระบวนการมีส่วนร่วม ระหว่างการออกแบบ<br />

และก่อสร้าง เมื่อการก่อสร้างคืบหน้า ขอบแผ่นพื้นถูกหุ้ม<br />

ด้วยไม้ และประกบด้วยราวจับ พื้นคอนกรีตกลายสภาพ<br />

เป็นระเบียงจำานวนมาก ภายใต้ต้นไม้ที่เขียวชอุ่ม สัญลักษณ์<br />

ที่ประกาศตัวตน ค่อยๆ หายกลืนไปกับโครงการ จนแทบไม่<br />

สามารถมองเห็นได้ กลายเป็น “infra” structure อย่างแท้จริง<br />

Perhaps for Otto, the pioneer in Membrane<br />

Structure, his hypothesis on concrete in Ökohaus<br />

operates without any conflict against the concept<br />

in his membrane architecture. It is about ensuring<br />

each participant's freedom by embracing the different<br />

requirements into an entity, an attempt to<br />

overcome the system based on the single principle<br />

of a single planner. The virtue of the project is that<br />

while the architect releases his domain to others<br />

exceptionally, he still never gives up on planning.<br />

"It is just an experiment. I wanted to know how<br />

much freedom you can give to people." 9<br />

The concrete slab in Ökohaus is more than physical<br />

infrastructure – it is a structure and symbol during<br />

participation in the design and the construction<br />

process. As construction progresses, the edge is<br />

covered with wood and anchored with railings,<br />

transforming it into balconies behind lush greenery.<br />

Over time, this once-potent symbol becomes less<br />

and less visible until it virtually disappears, literally<br />

becoming an "infra" structure.<br />

09-10<br />

Citrícola Salteña S.A.<br />

โดย Eladio Dieste เมื่อ<br />

ปี 2006 เป็น Double<br />

Curvature Vaults span<br />

กว้าง 34m ครอบคลุม<br />

พื้นที่ 2,200 ตารางเมตร<br />

สร้างเสร็จเมื่อปี 1976<br />

SYSTEM<br />

คอนกรีตเป็นวัสดุที่สามารถแสดงความสามารถได้ โดยไม่<br />

ต้องเป็นพระเอก คอนกรีต วางตัวเองในฐานะผู้เชื่อมความ<br />

สัมพันธ์ สนับสนุนความสัมพันธ์แบบเปิด ไม่ใช่ปิด สนับสนุน<br />

ความสัมพันธ์แบบเผื่อแผ่ ไม่ใช่ผูกขาด<br />

ความพยายามที่จะสร้างสถาปัตยกรรมคลุม พื้นที่ขนาดใหญ่<br />

ถูกทดลองผ่านโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กมายาวนาน<br />

ตั้งแต่ Eduardo Torraja ผู้ก่อตั้ง IASS, Pier Luigi Nervi หรือ<br />

Felix Candela รวมถึง Eladio Dieste<br />

ในยุค 50s ประเทศอุรุกวัยเข้าสู่วิกฤตทางเศรษฐกิจที่ลากยาว<br />

ต่อจากนั้นไปกว่ายี่สิบปี ในระหว่างสถานการณ์ขาดแคลน<br />

ทรัพยากรนี้เอง ที่ Eladio Dieste ค่อยๆสร้างและพัฒนางาน<br />

ของเขา ผ่านโครงสร้างอิฐ (ผสมคอนกรีต) เสริมเหล็ก ที่<br />

เรียกว่า Cerámica Armada<br />

ต่างจากคอนกรีต ที่มีส่วนผสมของซีเมนต์ อิฐมีรูเป็นวัสดุ<br />

ที่สามารถผลิตได้ด้วยวัสดุและแรงงานท้องถิ่นล้วนๆ สำาหรับ<br />

Dieste อิฐเบากว่า และแห้งกว่า การใช้อิฐมีรูสามารถช่วยลด<br />

ระยะเวลารอให้แห้ง และปริมาณไม้แบบระหว่างการก่อสร้าง<br />

ได้ นอกจากนั้นยังช่วยสร้างผลผลิตให้กับชุมชน<br />

Dieste ใช้ช่องว่างในความแข็งแรงที่มากเกินไปของคอนกรีต<br />

โดยแบ่งหน้าตัดของหลังคาโครงสร้างเปลือกบาง กว่าครึ่งให้<br />

กับอิฐมีรูที่ทนแรงอัดได้น้อยกว่าคอนกรีตมาก แต่ก็เพียงพอ<br />

สำาหรับโครงสร้างเปลือกบาง คอนกรีตมวลเบาถูกเทไปใน<br />

ช่องว่างระหว่างอิฐ ที่มีเหล็กเส้นวางไว้ก่อนแล้ว เพื่อให้เหล็ก<br />

เส้นเหล่านั้น สามารถถ่ายทอดแรงได้อย่างเต็มที่ พื้นผิวใหม่<br />

ที่เชื่อมต่ออิฐให้เป็นผืนเดียวกันนี้ ดูเผินๆ เหมือนเป็นเพียง<br />

วัสดุยาแนวของอิฐ หรือพื้นผิวกันน้ำ าให้กับตัวโครงสร้าง<br />

คอนกรีตเป็นวัสดุที่สำาคัญ ที่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อ<br />

ทรัพยากร แรงงาน โครงสร้างและกระบวนการก่อสร้างความ<br />

เกี่ยวพัน และความสัมพันธ์ของสิ่งเหล่านี้ คือตัวกำ าหนดรูปร่าง<br />

ของระบบการผลิตสถาปัตยกรรม ความพิเศษของ Dieste<br />

คือความใส่ใจในการสร้างดุลยภาพของระบบ ที่ให้ความ<br />

สำาคัญกับทุกๆ องค์ประกอบ โดยไม่ได้หมายถึงแค่โครงสร้าง<br />

ทางกายภาพ หรือความคุ้มทุนทางเศรษฐกิจ แต่หมายรวมถึง<br />

สังคม และบริบท ที่ถูกสร้างไปพร้อมกัน ณ เวลานั้น Dieste<br />

มองคอนกรีตในฐานะส่วนหนึ่งของภาพกว้าง เป็นองค์ประกอบ<br />

ที่ร่วมสร้างสถานะสมดุลของระบบ ที่เขาเรียกมันว่า Cosmic<br />

Economy เป็นการนำาเสนอระบบโครงสร้างที่ตั้งคำาถามกับ<br />

ความศรัทธาต่อคอนกรีตของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ เป็น<br />

การท้าทาย ความหลงไหลที่ยึดติดต่อความบริสุทธิ์ของคอน-<br />

กรีต ด้วยปฏิบัติการแทนที่ในระดับส่วนประกอบและรูปตัด<br />

ทางโครงสร้าง<br />

SYSTEM<br />

Concrete is a material that can perform without<br />

being a protagonist. It is a relationship builder,<br />

encouraging sharing rather than monopoly and<br />

openness rather than seclusion.<br />

Countless attempts to create a vast roof span<br />

have been long tested through reinforced concrete<br />

structures, from Eduardo Torraja to Pier Luigi Nervi,<br />

Felix Candela to Eladio Dieste.<br />

In the 1950s, Uruguay entered an economic crisis<br />

for over twenty years. During this scarcity of<br />

resources, Eladio Dieste gradually built and developed<br />

his work through a steel-reinforced brick<br />

(+concrete) structure known as Cerámica Armada.<br />

A structural method that relativized the absolute<br />

faith in modern concrete on a technical level.<br />

Differing from concrete, which consists of cement,<br />

brick can be produced entirely by local materials<br />

and labor. For Dieste, brick is lighter and drier,<br />

which help reduces the timber required for support<br />

and formwork during construction. Most of all, it<br />

helps contribute to the community's local production<br />

activities.<br />

The compressive stress strength required for the<br />

shell is lower than that of concrete. In other words,<br />

concrete is too strong, depending on its form. Dieste<br />

takes this excessive strength of concrete and<br />

replaces more than half of the section with hollow<br />

bricks, which can bear much less compression.<br />

Lightweight concrete is poured to fill the gaps between<br />

bricks with rebar for bending reinforcement.<br />

This newly formed surface may seem to be just the<br />

sealant of the bricks or a waterproof cover for the<br />

structure.<br />

Concrete is a material that directly impacts the<br />

structure, resource, labor, and construction process.<br />

The involvement of these issues and their<br />

interrelationships shape a system of architecture.<br />

By giving equal importance to concrete and other<br />

components rather than solely focusing on concrete,<br />

Dieste sought to create a state of equilibrium in<br />

the system, which depended not just on economic<br />

viability but also on society and the context<br />

created concurrently. Here, concrete is viewed as<br />

part of a larger picture, part of a state which he<br />

called "cosmic economy." A rigid adherence to<br />

'concrete's unity and purity in structural composition<br />

was challenged and replaced by a radical<br />

relativization of concrete.


Photo courtesy of Medios Audiovisuales FADU – UdelaR © Silvia Montero 2006 10


60<br />

theme<br />

CONCRETE CONSTRUCT CONCEPTION<br />

61<br />

<strong>11</strong><br />

กระบวนการก่อสร้าง<br />

KnitCandela ที่ใช้ผ้า<br />

เป็น formwork ในภาพ<br />

อยู่ระหว่างการฉีดสาร<br />

เคลือบเสริมความแข็ง ซึ่ง<br />

เป็นส่วนสำาคัญของระบบ<br />

KnitCrete ที่ BRG คิดค้น<br />

<strong>11</strong><br />

CONSTRAIN<br />

คอนกรีตที่กำาลังพัฒนาในระยะหลัง คือการสานต่อการทดลอง<br />

ทางความคิดตั้งแต่ร้อยกว่าปีที่ผ่านมา หรือมันคือคอนกรีตใหม่<br />

ที่แตกต่างจากการเดินทางที่ผ่านมาอย่างสิ้นเชิง<br />

ในวันที่คอนกรีตในฐานะของผู้ร้ายที่ทำ าลายสิ่งแวดล้อมกลาย<br />

เป็นมุมมองของคนหมู่มาก ความจำาเป็นในการอัพเดทตัวเอง<br />

ตั้งแต่ส่วนผสมและกระบวนการผลิต ถูกเรียกร้องอย่าง<br />

จริงจังทั่วโลก คอนกรีตทำาการผ่าตัดศัลยกรรมตัวเอง ด้วย<br />

เทคโนโลยีล่าสุด เพื่อหาร่างใหม่ในการมีชีวิตรอด พาตัวเอง<br />

ไปสู่จุดที่ปลอดภัย ในยุครักษ์โลกนี้<br />

การทดลองของกลุ่ม BRG นำาโดย Philippe Block ที่ ETH<br />

กว่าสิบปีที่ผ่านมานี้ เป็นตัวอย่างการค้นหาหนทางใหม่ให้กับ<br />

คอนกรีต ไม่ว่าจะเป็นการลดปริมาณไม้แบบโดยการใช้ผ้า<br />

หรือระบบโครงสร้างคอนกรีตไม่เสริมเหล็ก ที่ทำ าด้วยชิ้นส่วน<br />

จาก 3D Printer ที่สามารถรื้อถอดประกอบได้ การทดลอง<br />

เหล่านี้ มีจุดร่วมคือ การใช้ตรรกะของรูปทรงที่ไม่ทำาให้เกิด<br />

แรงดัด เป็นระบบที่ใช้แรงอัดล้วน เพื่อลดความแข็งแรงของ<br />

วัสดุที่จำาเป็น<br />

Photo courtesy of Block Research Group (BRG) © Mariana Popescu<br />

CONSTRAINT<br />

Is the concrete developed in recent years an<br />

extension of the concrete of the last 100 years,<br />

or is it an entirely new type of concrete?<br />

As one of the most carbon-intensive materials,<br />

concrete is now often viewed as environmentally<br />

hazardous and deplorable. The call for reform is<br />

urgent. Research on recycled concrete, new production,<br />

and construction methods is progressing<br />

daily. Concrete is utilizing the latest technologies<br />

to search for a new body.<br />

Led by Philippe Block, the experiments focusing on<br />

concrete and masonry construction conducted at<br />

BRG in ETH are a series of attempts to find a new<br />

way to survive in this context. Their research and<br />

practice are diverse, from experiments on fabric<br />

formwork to reduce resources during construction<br />

to unreinforced lightweight concrete structures<br />

using 3D-printed elements. These various practices<br />

consistently use the logic of compression-only<br />

form, which is given shape by computation technology.<br />

It achieves both structural performance and<br />

construction workability with fewer resources.<br />

พวกเขาย้อนกลับไปดูรูปแบบสถาปัตยกรรมก่อในอดีตอย่าง<br />

Gothic หรือ Catalan Vault ที่ใช้แรงอัดเป็นหลักในระบบ เพื่อ<br />

นำามาวิเคราะห์หาความเป็นไปได้ของรูปทรงที่ซับซ้อน แต่มี<br />

ประสิทธิภาพทางโครงสร้าง โครงการ Beyond Slab II คือ<br />

การประยุกต์ใช้ตรรกะนี้ มาสร้างแผ่นพื้นด้วยคุณสมบัติของ<br />

โครงสร้างเปลือกบางผสมกับโครงสร้าง Rib เพื่อสร้างหน้า<br />

ตัดที่ใช้แรงอัดล้วนๆ เป็นการเปิดพื้นที่ให้วัสดุที่แข็งแรงน้อย<br />

กว่าคอนกรีตทั่วไป อย่างคอนกรีตรีไซเคิล สามารถเข้ามาทำ า<br />

หน้าที่ได้<br />

รูปร่างที่ซับซ้อนนี้ เกิดขึ้นได้ด้วยเทคโนโลยีการก่อสร้าง<br />

สมัยใหม่ อย่างหุ่นยนต์และ 3D Printer ที่สามารถสร้างรูป-<br />

ทรงซับซ้อนได้ง่ายและเร็วกว่า ด้วยทรัพยากร และรอยเท้า<br />

คาร์บอนที่น้อยลง ว่ากันว่าถ้าเทียบกับพื้นคอนกรีต Hollow<br />

Core ธรรมดา พื้น Beyond Slab II สามารถลดปริมาณ<br />

คอนกรีตได้มากกว่า 70% 10<br />

แผ่นพื้นคอนกรีตเมื่อร้อยกว่าปีก่อน เกิดจากความตั้งใจ<br />

ลดเวลาและแรงงานในการก่อสร้าง เป็นความเรียบง่ายที่มี<br />

เหตุผล ตั้งอยู่บนสมมติฐานของการผลิตด้วยมนุษย์ แต่ใน<br />

ขณะเดียวกัน หน้าตัดที่ราบเรียบเท่าๆ กันนั้น ก็ต้องการ<br />

การต้านแรงดัด โดยเหล็กเส้น ทำาให้คอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

กลายเป็นยาวิเศษ เป็นตัวแทนของสถาปัตยกรรมสมัยใหม่<br />

อย่างที่เราคุ้นชิน<br />

แต่ปัจจุบันแผ่นพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กที่ราบเรียบของสถา-<br />

ปัตยกรรมสมัยใหม่อาจจะเรียบและแข็งแรงเกินไปแล้ว<br />

ข้อจำากัดทางโครงสร้าง ผันตัวจากสิ่งที่เคยเป็นโซ่ตรวนที่<br />

ควรได้รับการปลดปล่อย กลายเป็นองค์ประกอบทางบวก<br />

ในการออกแบบ “เราต้องการจะแสดงให้เห็นวิธีอื่นในการ<br />

ออกแบบ วิธีที่สามารถเริ่มจากข้อจำากัดที่ล้นหลาม ที่มอง<br />

ระบบของวัสดุ ในฐานะระบบทางโครงสร้าง เพื่อทำาให้เกิด<br />

สิ่งพิเศษ จากวัสดุที่สมถะ” <strong>11</strong> วันที่ความอิสระจะถูกมองว่า<br />

อิสระเกินไป อาจใกล้เข้ามาแล้ว<br />

แต่จริงหรือ ที่คอนกรีตเคยเป็นอิสระจากกรอบกระบวนทัศน์<br />

ณ เวลานั้น คอนกรีตในฐานะโครงสร้างช่วยนำาแสงเข้ามา<br />

ในพื้นที่ทางศาสนาที่สงบและลึกซึ้ง คอนกรีตในฐานะระบบ<br />

การก่อสร้าง เข้ามาปลดปล่อยสถาปัตยกรรมออกจากระบบ<br />

ชนชั้นผ่านการปลดเปลื้องเครื่องตกแต่ง คอนกรีตในฐานะ<br />

วัสดุที่ดิบและหยาบช่วยก้าวข้ามความขาดแคลนทรัพยากร<br />

ในยุคหลังสงครามโลก คอนกรีตเปลี่ยนแปลงตัวเองมาตลอด<br />

ตามความสัมพันธ์กับกระบวนทัศน์ของสังคม เป็นวัตถุและ<br />

มรดกแห่งการออกแบบ เป็นวัสดุเปิดที่แท้จริง<br />

In other words,<br />

concrete is too<br />

strong, depending<br />

on its form.<br />

BRG looks back at traditional construction<br />

methods such as Gothic and the Catalan Vault<br />

"to exploit the efficiency of a shallow tile arch or<br />

vault in a technologically advanced construction<br />

environment. "Beyond slab 2, one of the representative<br />

systems developed by BRG accomplishes<br />

the reduction of 70% concrete. 10 It implements a<br />

shell cross-section with a complex rib geometry<br />

on the premise of fabrication by 3D printing. By<br />

externalizing steel ties to absorb the thrusts of<br />

the stiffened shell, the system allows for the use<br />

of weaker materials, such as recycled or local<br />

materials.<br />

A century ago, the concrete slab was set as a flat,<br />

free plane based on the assumption of human<br />

production. This was rational, considering the time<br />

and labor that it saved. However, that form also<br />

generates bending and requires the rebar for reinforcement.<br />

The idea of a flat and same-thickness<br />

slab, free of conventional constraints in structure<br />

at that time, maybe slightly exaggerated today.<br />

Constraint turns from limiting factors to what to<br />

incorporate. "I wanted to show that there are other<br />

ways to design, that one can start from extremely<br />

hard constraints, that material system can be the<br />

structural system as well, and that one can do<br />

exceptional things with humble materials." <strong>11</strong> The<br />

day may soon come when freedom will be called<br />

too free...<br />

Nevertheless, has there ever been a time when<br />

concrete itself was free from any constraint?<br />

Concrete has always adapted itself to the social<br />

paradigm. Concrete as a structure helps to bring<br />

light into the peaceful and profound religious<br />

space. Concrete as a construction system helped<br />

to free the hierarchical system by eliminating ornamentation.<br />

In the post-war era, the raw and rough<br />

nature of concrete, including its locality, helped<br />

overcome the scarcity of resources. Concrete is a<br />

kaleidoscope and a legacy of a society. It is truly<br />

an open material.


CONCRETE CONSTRUCT CONCEPTION<br />

63<br />

New concrete is viewed more as part of a cycle than an<br />

infinite life. Here, lightness is favored over massiveness,<br />

and form that works within the material's limitation is<br />

preferred over freeform that requires reinforcement.<br />

Photo courtesy of Block Research Group (BRG) © Mariana Popescu<br />

12<br />

Prototype ของ 3D<br />

Printed Floor System<br />

เมื่อครั้งนำาไปแสดงที่<br />

Venezia Biennale 2016<br />

ปัจจุบันคอนกรีต ถูกมองในฐานะส่วนหนึ่งของวงจรมากกว่า<br />

วัสดุที่ถาวรไม่สิ้นสุด รูปทรงที่เกิดจากข้อจำากัดของวัสดุ ถูก<br />

ให้คุณค่ามากกว่ารูปทรงอิสระที่ต้องใช้ความแข็งแรงของ<br />

วัสดุมาช่วย ค่านิยมเหล่านี้ตั้งอยู่บนตรรกะของสมรรถภาพ<br />

เป็นตรรกะที่พระเอก คือสิ่งแวดล้อมและตัวเลข เป็นตรรกะ<br />

ที่ตั้งอยู่บนการสังเคราะห์ข้อมูลมหาศาล เป็นผลงานของการ<br />

สั่งสมความรู้ของคนจำานวนมาก ที่หลายครั้งซับซ้อนเกินกว่า<br />

ที่ปัจเจกบุคคลจะสามารถทำาความเข้าใจได้<br />

ขนาด ขอบเขต และความเร็ว ที่ถูกเร่งด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล<br />

ทำาให้ปฏิบัติการในการจัดการประสบการณ์ทางกายภาพ<br />

และความคิดของเรา เปลี่ยนไปอย่างก้าวกระโดด ผลข้าง-<br />

เคียงที่เก่าแก่ของเทคโนโลยี คือ การผลักกระบวนการตาม<br />

ขนบออกไปจากความทรงจำา แต่ครั้งนี้ กระบวนการที่ถูกผลัก<br />

อาจคือกระบวนการทางความคิด ที่เต็มไปด้วยคำาถามและ<br />

คุณค่าที่ขัดแย้ง ประเด็นคือ เราจะนิยามความซับซ้อนย้อน<br />

แย้งของมนุษย์ พร้อมๆ กับ ให้คุณค่าของสถานการณ์ใหม่นี้<br />

ให้ชัดเจนยิ่งกว่าเดิมได้อย่างไร คอนกรีตอยู่บนพื้นที่แห่ง<br />

ความท้าทายนี้ การเดินทางทางสถาปัตยกรรมกับคอนกรีต<br />

ใหม่ ยังคงท้าท้ายความเปิดของคอนกรีต<br />

New concrete is viewed more as part of a cycle<br />

than an infinite life. Here, lightness is favored<br />

over massiveness, and form that works within the<br />

material's limitation is preferred over freeform that<br />

requires reinforcement. This logic of performance,<br />

in which environmental factors and numbers play<br />

a crucial role, is part of the mindset dominating<br />

today. Owing to its scale beyond individual capabilities<br />

and its engagement with digital technology,<br />

an operation for rearranging our physicality<br />

and intelligence seems to progress drastically.<br />

Historically, technology has blinded conventional<br />

processes and buried them in oblivion. This time,<br />

its focus is the process of the intellectual field<br />

fulfilled with skepticism and contradictory value.<br />

Therefore, the issue is how to define a pursuit of<br />

human complexity even more extreme than before<br />

while appreciating this essentially new situation.<br />

Concrete is on this frontier. Architectural excursion<br />

with new concrete remains to challenge the openness<br />

of its nature.<br />

12<br />

ภรพัสุ ศิริคุรุรัตน์<br />

ผู้ร่วมก่อตั้งสำนักงาน<br />

bsides และอาจารย์ประจำ<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ภรพัสุเคยทำงานในฐานะ<br />

นักวิชาการวัฒนธรรม<br />

และสถาปนิก ที่สำนักงาน<br />

ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย<br />

กระทรวงวัฒนธรรม ในปี<br />

2021 ภรพัสุได้รับปริญญา<br />

เอกด้านสถาปั ตยกรรม<br />

จากมหาวิทยาลัยโตเกียว<br />

ทาคุมิ ไซโต<br />

ก่อตั้ง bsides สำนักงาน<br />

ออกแบบสถาปั ตยกรรม<br />

ที่กรุงเทพในปี 2012 หลัง<br />

จากจบการศึกษาระดับ<br />

ปริญญาโท ด้านสถาปั ตย-<br />

กรรมจากมหาวิทยาลัย<br />

โตเกียว ทาคุมิมีประสบ-<br />

การณ์การทำงานในฝ่าย<br />

ออกแบบ บริษัท Thai<br />

Takenaka International<br />

Pornpas<br />

Siricururatana<br />

is a co-founder of<br />

bsides and a lecturer<br />

at Department of Architecture,<br />

Kasetsart<br />

University. She used<br />

to serve as a cultural<br />

officer and in-house<br />

architect at the Office<br />

of Contemporary Art<br />

and Culture, Ministry<br />

of Culture. Recently she<br />

received a doctorate<br />

degree from her alma<br />

mater, the University<br />

of Tokyo.<br />

Takumi Saito<br />

founded bsides, an<br />

architectural practice<br />

based in Bangkok in<br />

2012 with Pornpas<br />

Siricururatana. He<br />

graduated a master's<br />

degree in architecture<br />

from the University of<br />

Tokyo in 2012, and has<br />

experience working in<br />

the design department<br />

of Thai Takenaka International<br />

Ltd.<br />

1 Tange, K. (1958). Concrete, infinite energy. Kenchikubunka, (136), 22.<br />

2 Isozaki, A. (1996). Interview by Kenchiku Zasshi, <strong>11</strong>1(1389), 10.<br />

3 Raj, M. (2016). My initiation into structural engineering. In The structure works of Mahendra Raj (pp. 28). Park Books AG.<br />

4 von Moos, S. (2016). Ruins in reverse: Notes on photography and the architectural 'non-finito'. In Chandigarh 1956 (pp. 55). Scheidegger & Spiess.<br />

5 Forty, A. (2012). concrete and culture: A material history (pp. 28). Reaktion Books. (Phrase by Hennebique quoted)<br />

6 Koolhaas, R. (20<strong>11</strong>). Interview with Maki Fumihiko. In R. Koolhaas & H. U. Obrist (Interviewers), Project Japan (pp. 313). Taschen.<br />

7 Koolhaas, R. (1995). Typical Plan. In S,M,L,XL (pp. 345). Monacelli Press.<br />

8 Otto, F. (2003, Nov 5). Lecture at AA. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=ra1_0O6EwIg<br />

9 Otto, F. (2001, May 21). Lecture at AA. Retrieved from https://www.youtube.com/watch?v=dPdpN8dfvhA<br />

10 Block, P., Van Mele, T., Rippmann, M., & Paulson, N. (2017). Beyond bending: Building with less material (pp. 42). Birkhäuser.<br />

<strong>11</strong> Ochsendorf, J., De Jong, D., & Block, P. (2017). Engineering the extreme: A conversation with Ochsendorf Dejong & Block. In Beyond bending (pp. <strong>11</strong>6). Birkhäuser.<br />

19


64<br />

theme / review<br />

Free<br />

Flow<br />

1<br />

In designing a vacation home in Khao Yai, Stu/D/O Architects prioritized<br />

the relationship between the architectural structure and living areas<br />

and the surrounding nature by creating an outline in the form of concrete<br />

walls that surround the house. This particular contour is intended<br />

to flow freely, following the landscape’s naturally curving lines.<br />

Text: Xaroj Phrawong<br />

Photo Courtesy of Stu/D/O Architects and Rungkit Charoenwat except as noted<br />

01<br />

ภาพมุมสูงของบ้าน<br />

02<br />

ผนังคอนกรีตโค้งล้อม<br />

ลานภายในผสานเข้าไว้<br />

ในงานออกแบบ<br />

2


theme / review<br />

FREE FLOW<br />

66 67<br />

โลกของสถาปัตยกรรมก่อนยุคสมัยใหม่ต่าง<br />

ถูกควบคุมด้วยเงื่อนไขทางโครงสร้างที่ส่วน<br />

ใหญ่ที่เป็นผนังรับน้ำาหนัก ทำาให้ขาดอิสระ<br />

ในการออกแบบ จนมาถึงในยุคสมัยใหม่ การ<br />

ค้นพบคอนกรีตเสริมเหล็กได้เปลี่ยนรูปแบบ<br />

ไปอย่างสิ้นเชิง จากที่เคยถูกควบคุมด้วย<br />

ข้อจำากัดด้านวัสดุ กลายเป็นผนังแยกส่วนออก<br />

จากโครงสร้าง สามารถเปิดช่องได้มากกว่า<br />

ที่เคยทำาได้ ทั้งจากเจาะช่องแสงยาวตลอด<br />

รูปด้าน การเปิดช่องแสงจากระนาบหนึ่งสู่อีก<br />

ระนาบได้อย่างง่ายดาย ทั้งนี้ทั้งนั้นคือคำาตอบ<br />

จากคอนกรีต<br />

บนผืนดินแห่งหนึ่งในเขตเขาใหญ่ฝั่งจังหวัด<br />

นครนายก สภาพโดยรอบเป็นป่าตามธรรมชาติ<br />

ที่ลาดเชิงเขาเป็นที่ตั้งของบ้านหลังหนึ่งซึ่ง<br />

แทรกตัวกับต้นไม้นานาพันธุ์แบบป่าเขตร้อนชื้น<br />

สภาพแวดล้อมโดยรวมมีต้นไม้รายรอบสมบูรณ์<br />

ไม่ไกลจากที่ดินผืนนี้ มีแหล่งน้ำาให้สัตว์ป่า<br />

ในเขาใหญ่มาใช้กินเป็นปรกติ ด้วยเหตุที่ดิน<br />

อยู่ใกล้กับเขตป่า ทำาให้เงื่อนไขในการสร้าง<br />

บ้านพักต้องคิดแก้ปัญหามากขึ้น เงื่อนไขที่<br />

ไม่อาจหลีกเลี่ยงเหล่านี้นำาพาไปสู่การขึ้นรูป<br />

สถาปัตยกรรม<br />

โจทย์เริ่มต้นที่เจ้าของบ้าน ผู้นิยามตัวเองว่าเป็น<br />

city dwellers ต้องการบ้านสำาหรับพักผ่อน<br />

ที่เขาใหญ่ บนผืนดินเนื้อที่ 12 ไร่ครึ่ง โดย<br />

Stu/D/O Architects เป็นสถาปนิกที่มาแก้<br />

โจทย์นี้ จากการทำาความรู้จักกับที่ตั้ง สถาปนิก<br />

ได้พบประเด็นหลักใหญ่คือการครอบครอง<br />

พื้นที่ให้สามารถเชื่อมโยงกับธรรมชาติโดยรอบ<br />

จึงใช้วิธีสร้างกรอบที่มีลักษณะเป็นกำาแพง<br />

คอนกรีตล้อมพื้นที่ตัวบ้านไว้ กรอบนี้มีลักษณะ<br />

ดูอิสระลื่นไหลไปกับเส้นโค้งของภูมิประเทศ<br />

แต่เมื่อมองจากแปลน พบการทับซ้อนของ<br />

หลายวงกลมที่รวมเข้าด้วยกัน มีลักษณะสร้าง<br />

กรอบจากวงกลม 6 วง ที่ตำาแหน่งศูนย์กลาง<br />

สัมพันธ์กับต้นไม้เดิม 6 ต้นในที่ตั้ง แต่ไม่ได้<br />

ล้อมกรอบกำาแพงนี้ด้วยการเชื ่อมวงกลม 6 วง<br />

อย่างตรงไปตรงมา สถาปนิกใช้วิธีสร้างวงกลม<br />

ย่อยใน 6 วงนี้ซ้อนขึ้นมา เพื่อหาจุดสัมผัสทุก<br />

เส้นโค้งที่ทำาให้เส้นกำาแพงนี้ดูลื่นไหล มีอิสระ<br />

มากขึ้น จนเชื่อมโยงเป็นเส้นโค้งเดียวกันอย่าง<br />

มีสัดส่วนกลมกลืนกันในที่สุด<br />

แม้ว่าส่วนพักอาศัยจะเสมือนถูกปิดล้อมจาก<br />

สภาพแวดล้อมภายนอกด้วยผนังโค้งสูง จน<br />

เกิดเป็นคอร์ตภายใน 2 แห่ง คั่นกลางด้วย<br />

มวลกล่องสี่เหลี่ยมบ้าน เมื่อมองไปยังผนัง<br />

โดยรอบ พบกับการเปิดปิดผนังตามจังหวะ<br />

การใช้สอยภายในคอร์ต ด้านทิศใต้คอร์ตใหญ่<br />

ถูกเปิดออก 2 ช่อง ด้านทิศตะวันตก ผนัง<br />

ถูกเปิดสู่คอร์ตเนื่องจากเป็นโรงจอดรถ ส่วน<br />

ด้านผนังด้านทิศตะวันออกถูกเปิดยกขึ้นเข้า<br />

หาป่าเขาใหญ่ ที่ใช้คำาว่ายกเพราะรูปแบบการ<br />

เปิดเป็นเส้นโค้งคล้ายผนังถูกดึงขึ้นให้ฉุดรั้ง<br />

ขึ้นไปในอากาศ ผนังคอร์ตด้านทิศเหนือถูกยก<br />

เข้าหาทางลาดลงล้อไปกับความลาดเอียงจาก<br />

เชิงเขาสู่ที่ราบด้านล่าง คอร์ตภายในทั้งสองจึง<br />

ถูกเชื่อมโยงกับสภาพป่าภายนอกด้วยเทคนิค<br />

การปิดและเปิดตามจังหวะการใช้สอยของ<br />

บ้าน แม้ว่าจะมองดูว่ามีความเสี่ยงเรื่องความ<br />

ปลอดภัยจากสัตว์ป่าภายนอกบ้าน แต่สถาปนิก<br />

ก็ออกแบบให้มีการป้องกันจากการเติมต้นไม้<br />

และน้ำาใต้ช่องเปิดโค้งที่ถูกยกขึ้นมาจากระดับ<br />

ดิน ทำาให้ยากต่อการเข้าถึงภายในคอร์ต<br />

ผนังโค้งรอบบ้านมีโครงสร้างเป็นคอนกรีต<br />

เสริมเหล็กโดยส่วนใหญ่ ทำาให้คอนกรีตแสดง<br />

ศักยภาพที่จะหลอมรวมตัวมันเองเข้ากับเส้น<br />

โค้งสถาปัตยกรรมได้เป็นอย่างดี ผนังโค้ง<br />

บางส่วนถูกเสริมด้วยวัสดุ ICF Blocks หรือ<br />

Insulated Concrete Forms ซึ่งเป็นวัสดุที่เบา<br />

วิธีการก่อสร้างคือระบุรัศมีของผนังโค้งมา<br />

จากโรงงานเพื่อความแม่นยำาในการติดตั้งที่<br />

ไซท์งาน จากนั้นฉาบปูนทับกันร้าวด้วยลวด<br />

เสริมผนัง ฉาบขั้นสุดท้ายด้วยวัสดุฉาบผิวบาง<br />

นอกจากคอร์ตใหญ่ในผนังบ้าน สถาปนิกได้<br />

ออกแบบคอร์ตเล็กๆ อีก 6 แห่ง ข้างกำาแพง<br />

นอกบ้าน 4 แห่ง ในตัวบ้านอีก 2 แห่ง พร้อม<br />

กับเติมต้นไม้ให้ยอดไม้สูงทะลุคอร์ต เพิ่ม<br />

มุมมองที่ดีภายในบ้านให้มีความรู้สึกเข้าถึง<br />

ธรรมชาติทุกฉาก<br />

เมื่ออ่านภาพรวมของบ้าน จะเห็นเป็นเส้นโค้ง<br />

ประสานไปกับก้อนสี่เหลี่ยมผืนผ้า แต่ในส่วน<br />

พื้นที่ชั้น 1 เป็นการรวมทั้งเส้นโค้งจาก<br />

กำาแพงกับส่วนมวลสี่เหลี่ยม การใช้สอยที่ชั้น 1<br />

หลอมรวมไปกับเส้นโค้งของกำาแพงชั้นนอก<br />

ทั้งส่วนพักผ่อน ห้องทำางาน แล้วส่งเส้นโค้งไป<br />

ยังบันไดขึ้นไปชั้น 2 การเปลี่ยนผ่านจากชั ้น 1<br />

ไปยังชั้นที่ 2 เป็นไปแบบค่อยเป็นค่อยไป<br />

ด้วยการออกแบบให้แม่บันไดยื่นออกมาจาก<br />

ผนังคอนกรีต ทำาให้เส้นทางสัญจรเป็นเนื้อ<br />

เดียวกันกับโครงสร้างบ้าน สเปซรายรอบ<br />

บันไดออกแบบเป็นโค้งวงรี เส้นโค้งที่มีภายใน<br />

ไหลออกไปยังผนังภายนอก เชื่อมโยงคอร์ต<br />

เล็กนอกบ้านเข้ากับพื้นที่ชานพักบันได พื้นที่<br />

ใช้สอยที่ชั้น 2 เป็นห้องนอนบรรจุในกล่อง<br />

สี่เหลี่ยมผืนผ้าวางตัวขนานไปตามแนวทิศ<br />

ตะวันออก-ตก ห้องนอนใหญ่เปิดมุมมองสู่<br />

เส้นชันของเขาใหญ่ฝั่งนครนายกอย่างเต็มผืน<br />

ผนัง มวลที่ชั้น 2 พาดตัวบนผนังคอนกรีตโค้ง<br />

ด้วยความต้องการที่ให้ชั้นล่างเป็นเฉลียงโล่ง<br />

หน้าสระว่ายน้ำา ไม่มีเสาวางกลางคอร์ตเพื่อ<br />

เชื่อมมุมมองที่ดีจากภายนอกสู่ภายในบ้าน<br />

การใช้โครงถักเสริมในผนังจึงเป็นทางเลือก<br />

ให้พื้นที่บ้านชั้น 2 ทางทิศใต้ จนมวลบ้านลอย<br />

กลางอากาศพาดยาวเชื่อมผนังโค้งทั้ง 2 ฝั่ง<br />

สามารถรองรับความยาวกว่า 20 เมตรได้<br />

แม้ว่าวัสดุหลักของบ้านนี้เป็นคอนกรีต แต่<br />

ความกระด้างของคอนกรีต ถูกทำาให้ละมุนละไม<br />

ขึ้นด้วยเงาต้นไม้ แสงเงาในงาสถาปัตยกรรม<br />

ทำาหน้าที่เล่นกับเงาแบบหนังตะลุง และคอนกรีต<br />

กลายเป็นฉากรับเงาเล่าเรื่องราวพันธุ์ไม้เขาใหญ่<br />

ที่เปลี่ยนรูปตามองศาของแสงอาทิตย์เคลื่อนไป<br />

ในแต่ละช่วงวัน<br />

อภิชาติ ศรีโรจนภิญโญ สถาปนิก และหนึ่งใน<br />

ผู้ก่อตั้ง Stu/D/O Architects พูดถึงคอนกรีต<br />

ไว้ว่า “คอนกรีตเป็นวัสดุที่สวย และเราก็ชอบ<br />

ใช้คอนกรีตเปลือยผิว เป็นเพราะว่าเราทำางาน<br />

เรียบๆ คอนกรีตเป็นวัสดุสีเทากลางๆ มันจะ<br />

เข้าได้กับทุกงานที่เราออกแบบ เราทำางานที่<br />

เมืองไทยเยอะ แล้ววัสดุที่ไม่แพงในไทยก็คือ<br />

คอนกรีตเมื่อเทียบกับวัสดุอื่น มันสามารถทำา<br />

ได้หลายรูปทรง ทั้งตรง ทั้งโค้ง ก็เลยเป็นที่มา<br />

ที่เราชอบใช้คอนกรีต มันทั้งเปลือยผิวได้ แสดง<br />

สัจจะวัสดุได้ มีทั้งสี ความเป็นกลาง ความ<br />

มินิมอล เป็นแนวทางที่เราชอบทำา เลยเป็นไม้<br />

เหล็ก ผสมคอนกรีตอยู่ตลอด”<br />

3<br />

The walls are formed by<br />

generating six small rings<br />

within them to facilitate<br />

the contact points for each<br />

curved line, resulting in<br />

greater flow and fluidity<br />

of the mass of the walls.<br />

Everything eventually links<br />

together and produces a<br />

smooth,curved line with<br />

visually pleasing proportions.<br />

03<br />

ไดอะแกรมแสดงการ<br />

ก่อรูปบ้านที่สร้างจาก<br />

เส้นโค้ง<br />

04<br />

ภาพมุมสูงเผยให้เห็นบ้าน<br />

แทรกในป่าเชิงเขาใหญ่<br />

4


05<br />

ลานกึ่งภายใน-นอกล้อม<br />

ด้วยกำาแพงที่กึ่งปิด-เปิด 5


theme / review<br />

FREE FLOW<br />

70 71<br />

08-09<br />

ส่วนบ้านที่มีช่วงพาดยาว<br />

20 เมตร วางบนผนังโค้ง<br />

SECTION A<br />

SECTION B<br />

1 M<br />

6<br />

The pre-modern architectural world was governed<br />

by a number of structural limitations and conditions,<br />

the majority of which took the shape of bearing<br />

walls that constrained the creative freedom of a<br />

work. The beginning of the Modern Era of architecture,<br />

as well as the invention of reinforced concrete,<br />

drastically transformed how architecture<br />

is thought of and built. From material limits and<br />

restrictions to new building techniques that allow<br />

walls to be independent of the structure and to<br />

contain more openings than ever before, whether<br />

it’s a long wall that runs along the elevation or<br />

those with multiple planes. All of this is made<br />

possible by the miracles of concrete.<br />

06<br />

รูปตัด<br />

07<br />

ผนังถูกยกขึ้นบางส่วน<br />

เพื่อเชื่อมกับธรรมชาติ<br />

ภายนอก<br />

A house nestles itself into the lush tropical environment<br />

of trees and plants over a block of land<br />

on the Nakhon Nayok side of the mountainous<br />

Khao Yai national park. Surrounded by naturally<br />

grown woodlands and a hillside landscape,<br />

the overall setting is rich with trees and shrubs,<br />

as well as a natural stream and water source<br />

frequented by Khao Yai’s wildlife. Because the<br />

land is so close to a forest and a natural park, the<br />

conditions that come with building a house in this<br />

particular area necessitated more extra thought.<br />

With these unavoidable constraints in mind, the<br />

architecture of the Winding House was developed.<br />

7<br />

The owners, who describe themselves as city<br />

dwellers intending to build a vacation home on<br />

the 12-rai estate in Khao Yai, was the starting<br />

point of the design process. The architect tasked<br />

with working on the project, Stu/D/O Architects,<br />

approaches the project by surveying the site and<br />

realizing that the key to building the house is to<br />

prioritize the relationship between the architectural<br />

structure and living areas and the surrounding<br />

nature. The design team creates an outline,<br />

which is revealed in the form of concrete walls<br />

that surround the house. This particular contour is<br />

intended to flow freely, following the landscape’s<br />

naturally curving lines. The layout, on the other<br />

hand, shows the overlapping of multiple circles,<br />

resulting in a form composed of six circumferences<br />

of the six circles whose centers are physically<br />

related to the six trees growing on the property.<br />

The walls, however, are not formed simply by connecting<br />

the six circles, but by generating six small<br />

rings within them to facilitate the contact points<br />

for each curved line, resulting in greater flow<br />

and fluidity of the mass of the walls. Everything<br />

eventually links together and produces a smooth,<br />

curved line with visually pleasing proportions.<br />

9<br />

8


FREE FLOW<br />

73<br />

<strong>11</strong><br />

“Concrete is one of the more cost-effective solutions compared<br />

to other materials. It can take several forms. It can<br />

be used as an exposed surface, revealing its true, natural<br />

attributes. It has its own colors, neutrality, and minimality,<br />

all of which are parts of the style of architecture that I like<br />

to create; a mixture of wood, steel, and concrete.”<br />

10<br />

ความกระด้างของคอนกรีต<br />

ลดลงด้วยแสงเงาส่องผ่าน<br />

พืชพรรณ<br />

10<br />

<strong>11</strong><br />

สเปซสูงพิเศษโอบรัด<br />

ด้วยบันไดโค้ง<br />

Because of the high, curved walls and the two<br />

inner courts partitioned by the boxy mass of the<br />

house, the living area appears enclosed and<br />

insulated from the outside world. Looking around<br />

at the walls, the openness and enclosure correspond<br />

to the inner functions of the courts. The<br />

larger court has two openings facing south. The<br />

wall opening to the court where the parking space<br />

is located is to the west. The east wing faces the<br />

Khao Yai forests, with the arch line being utilized<br />

to create the illusion that the wall is being lifted<br />

into the air. The north-facing wall is elevated<br />

toward the slope, matching the downward inclination<br />

of the hillside scenery. The painstakingly<br />

curated mix of openings and enclosures connects<br />

the two internal courts to the surrounding woodlands.<br />

Concerns about wild animals invading the<br />

living space were alleviated by the addition of<br />

extra protection, which included a landscape of<br />

dense tree lines and water beneath the arched<br />

opening located above ground level, making it<br />

more difficult for wild creatures to access the<br />

inside of the courts.


theme / review<br />

FREE FLOW<br />

74 75<br />

12<br />

แปลน<br />

13-14<br />

บางส่วนของบ้าน ทำาให้<br />

มีชีวิตชีวาด้วยการสอด<br />

ต้นไม้แทรกลงไป 13<br />

12<br />

The majority of the house’s curved walls are made<br />

of reinforced concrete, allowing the material to<br />

demonstrate its potential and ability to fuse itself<br />

to the curvature of the design. ICF Blocks or Insulated<br />

Concrete Forms are used to reinforce parts<br />

of the walls. The material is lighter and has factoryprefabricated<br />

angles that provide exceptional<br />

precision, allowing the parts to be assembled on<br />

site. Steel wire mesh is used before finishing the<br />

final surface with skim coating to prevent cavities<br />

and cracks in the concrete coating layer. Aside<br />

from the major court behind the walls, six smaller<br />

courts are spread throughout the spatial program,<br />

four of which are positioned outside and the other<br />

two within. Meanwhile, surrounding trees continue<br />

to grow with canopies extending beyond the height<br />

of the courts in which they grow, creating beautifullooking<br />

vistas for the living areas with the close<br />

presence of nature.<br />

14


theme / review<br />

FREE FLOW<br />

76 77<br />

15<br />

ผนังโค้งตัดกับ<br />

เส้นลาดเชิงเขา<br />

16<br />

สระน้ำาภายในคอร์ต<br />

ชั้นใน<br />

15<br />

The overall appearance of the house is made up<br />

of a series of curved lines that are intertwined<br />

with the rectangular architectural mass. The first<br />

floor unites the curved lines of the walls and the<br />

boxy mass, while the functions it contains, from<br />

the living room to the study, are integrated into<br />

the curved lines of the exterior walls. The curved<br />

line continues its ascent to the stairwell and then<br />

to the second floor. By the way the threads of the<br />

stairway are constructed to protrude from the<br />

concrete wall, the transition from the first to the<br />

second story is gradual, resulting in the circulation<br />

becoming a part of the house’s structure. The space<br />

surrounding the stairway is circular in shape, with<br />

the perimeter flowing out to the external walls,<br />

connecting the smaller courts outside to the<br />

stairway landing. The bedrooms are among the<br />

functional spaces on the second floor, which are<br />

designed to fit into the rectangular mass that runs<br />

parallel to the east-west orientation. The master<br />

bedroom has one of its walls open to the mountainous<br />

regions of Khao Yai, which is visible from<br />

the Nakhon Nayok side. The second floor’s mass<br />

is supported by a curving concrete wall, while<br />

columns are removed from the court to open the<br />

house’s interior to the lovely landscape outside,<br />

following the intention of having an open poolside<br />

deck on the ground floor. The floor slab of<br />

the south-facing second-story mass sits across<br />

the 20-meter span, connected by two curving<br />

walls that are held together by a truss structure.<br />

The rawness of concrete, which is the house’s<br />

primary building material, is softened by the shadows<br />

casted by the trees. Light and shadow play<br />

their roles in this theater of natural light. With<br />

concrete as the backdrop, the story of Khoa Yai<br />

trees and woodlands plays out with shapes that<br />

vary throughout the day when interacting with<br />

changing angles of sunrays.<br />

16<br />

Apichart Srirojanapinyo, an architect and one of<br />

the founders of Stu/D/O Architects, shared his<br />

insights about concrete. “Concrete is a great<br />

material.” I’ve always had a personal liking for<br />

exposed concrete since my designs are minimal.<br />

The neutral grayish tone of concrete works well<br />

with my work. The majority of my projects are in<br />

Thailand, and concrete is one of the more costeffective<br />

solutions compared to other materials.<br />

It can take several forms, from straight lines to<br />

curved masses. That’s why I like concrete. It can<br />

be used as an exposed surface, revealing its true,<br />

natural attributes. It has its own colors, neutrality,<br />

and minimality, all of which are parts of the style<br />

of architecture that I like to create; a mixture of<br />

wood, steel, and concrete.”<br />

stu-d-o.com<br />

Project: Winding Villa Location: Nakhon Nayok, Thailand Type: Architecture Design<br />

Program: Residential (2 two-story houses) Client: Undisclosed Site Area: 22,000<br />

sqm. Built Area: 1,200 sqm. Design: 2018 Completion: 2021 Architect: Stu/D/O<br />

Project Team Structural Engineer: Ittipon Konjaisue Mechanical Engineer: MEE<br />

Consultants Contractor: Double Click Construction Visualizer: Stu/D/O, DOF<br />

สาโรช พระวงค์<br />

เป็ นสถาปนิก นักเขียน<br />

สนใจในสถาปั ตยกรรม<br />

สมัยใหม่ถึงสถาปั ตยกรรม<br />

ร่วมสมัย ปั จจุบันเป็ น<br />

อาจารย์ประจำาคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลธัญบุรี<br />

Xaroj Phrawong<br />

Architect and writer<br />

who is interested in<br />

modern an contem<br />

porary architecture<br />

now he is a lecturer<br />

at Faculty of Architecture,<br />

RMUTT.


78<br />

theme / review<br />

Concrete<br />

in<br />

the<br />

Wood<br />

Following the commercial success<br />

and architectural merits of the<br />

Yellow Submarine Coffee Tank<br />

in the hilly terrain of Pak Chong,<br />

Suebsai Jittakasem and JOYS Architects<br />

have added two new concrete<br />

structures to the inclining features<br />

of the landscape and crafted novel<br />

spatial perceptions and experiences<br />

with the original building as the<br />

meaningful backstory.<br />

Text: Korrakot Lordkam<br />

Photo Courtesy of JOYS Architects and Beer Singnoi except as noted<br />

1<br />

2<br />

01<br />

การใช้องค์ประกอบทาง<br />

สถาปัตยกรรมขับเน้น<br />

ลักษณะลาดชันของเนิน<br />

ดินให้ชัดเจน เพื่อสร้าง<br />

ประสบการณ์และการรับรู้<br />

ที่แปลกใหม่<br />

02<br />

ระนาบหลังคาถูกคว้าน<br />

เปิดให้เห็นท้องฟ้า เชื่อม-<br />

โยงทางแนวตั้ง และสร้าง<br />

ความเชื่อมต่อกับพื้นที่<br />

ด้วยช่องเปิดและระนาบ<br />

ทางนอน


theme / review<br />

CONCRETE IN THE WOOD<br />

80 81<br />

ความสำาเร็จทั้งในแง่ความนิยมและคุณค่าทาง<br />

สถาปัตยกรรมของ Yellow Submarine Coffee<br />

Tank ในอำาเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา<br />

ทำาให้สืบสาย จิตตเกษม เจ้าของโครงการและ<br />

หนึ่งในสถาปนิกผู้ออกแบบ เริ่มวางแผนออกแบบ<br />

ส่วนต่อเติมในนาม Yellow Mini เพื่อเป็นสถานที่<br />

รองรับจำานวนคนที่มากขึ้น รวมถึงเพื่อสร้างพื้นที่<br />

ที่จะมอบประสบการณ์แปลกใหม่ขึ้น และพร้อมๆ<br />

กันนั้น เขาก็ได้วางแผนอีกโครงการต่อเนื่องที่ตั้ง<br />

อยู่ในพื้นที่ข้างเคียงกันเป็นบ้านพักอาศัยสำ าหรับ<br />

เขาและครอบครัว ความเหมือนจนน่าสังเกตของ<br />

ทั้งสองโครงการ คือรูปลักษณ์ภายนอกที่เป็น<br />

เหมือนกลุ่มแท่งและกล่องคอนกรีตวางทับซับ-<br />

ซ้อนลดหลั่นไปตามเนินดิน ใต้ร่มเงาไพศาลของ<br />

ผืนไม้ยมหอม แต่เบื้องลึกนั้น คือความต่างในแง่<br />

เทคนิคการก่อสร้าง รวมถึงในแง่แนวความคิด<br />

ทางสถาปัตยกรรม ที่แสดงให้เห็นว่าแม้ทั้งสอง<br />

โครงการจะมีจุดร่วมเดียวกันคือวัสดุคอนกรีต แต่<br />

ปลายทางของสถาปัตยกรรมทั้งสองนั้นแตกต่าง<br />

กันอย่างน่าสนใจ<br />

สถาปนิก JOYS Architects ที่ประกอบด้วยสืบ-<br />

สาย และสมาชิกผู้ก่อตั้งอีกสองท่าน คือ ประเสริฐ<br />

อนันทยานนท์ และ ณัฏฐ์ ละเอียดอ่อน ได้วาง<br />

แนวคิดการออกแบบ Yellow Mini โดยยึดเอา<br />

ลักษณะของเนินดินที่ลาดชันต่อเนื่องออกมาจาก<br />

ตัวอาคารแรกเป็นตัวแปรตั้งต้นของโครงการ<br />

แนวคิดสำาคัญของโครงการคือการใช้องค์ประกอบ<br />

ทางสถาปัตยกรรมขับเน้นลักษณะลาดชันของ<br />

เนินดินให้ชัดเจน เพื่อผลลัพธ์ด้านประสบการณ์<br />

และการรับรู้ที่แปลกใหม่ ต่อยอดเนื้อหาจาก<br />

อาคารเดิมที่ตั้งอยู่ใกล้ๆ<br />

สำาหรับแนวทางการออกแบบ สถาปนิกได้เริ่ม<br />

จากการกำาหนดตำาแหน่ง ‘หลังคา’ แบนราบ<br />

ขนาดใหญ่ไว้เหนือผืนดินที่ลาดชันดังกล่าวก่อน<br />

โดยมีแนวคิดให้แผ่นหลังคา หรือระนาบแนวนอน<br />

เหนือศีรษะที่ปกคลุมเนินดินนี้เป็นวัตถุบอก<br />

ขอบเขต และกำาหนดลักษณะของที่ว่างเบื้องล่าง<br />

แต่มีเงื่อนไขคือต้องโปร่งโล่งให้มากที่สุดเท่าที่<br />

จะทำาได้ ผลลัพธ์จึงประกอบด้วยแผ่นหลังคา<br />

คอนกรีตแบนราบผืนใหญ่ราว 8x27 เมตร โดย<br />

มีจุดรองรับน้ำาหนักเบื้องล่างเพียง 5 จุดสลับ<br />

ตำาแหน่งกันไปตามเนินดินที่ลดหลั่น สถาปนิก<br />

ยังได้เลือกเจาะเปิดช่องบนแผ่นหลังคาในจุดต่างๆ<br />

เพิ่มเติม โดยเฉพาะจุดที่ตำาแหน่งหลังคาอยู่ใกล้<br />

ระดับดินมาก เพื่อให้ช่องเปิดดังกล่าวเอื้อให้<br />

ผู้คนสามารถเดินทะลุไต่ระดับขึ้นไปใช้งานยัง<br />

เนินดินเบื้องบนได้ โดยรวมแล้ว ทั้งการแผ่ขยาย<br />

กว้างของแผ่นหลังคา จุดรับน้ำาหนักน้อยจุด และ<br />

การคว้านเปิดในหลายตำาแหน่งนั้น ทำาให้การ<br />

ก่อสร้างและความเป็นไปได้ทางวิศวกรรมเป็น<br />

เรื่องท้าทายอย่างยิ่ง<br />

การตอบคำาถามในเชิงวิศวกรรมนี่เองที่ทำ าให้วัสดุ<br />

คอนกรีตเป็นปัจจัยเด่นในโครงการ เริ่มจากการ<br />

ใช้คอนกรีตกำาลังสูง และเหล็กกำาลังสูง เอื้อให้<br />

โครงสร้างสามารถรับแรงได้ และมีขนาดตามที่<br />

ต้องการ ฐานรากเป็นอีกปัจจัยสำาคัญในการถ่วง<br />

โครงสร้างทั้งหมด โดยไพศาล พ้นภัย วิศวกร<br />

ของโครงการ ออกแบบฐานรากเป็นแบบแผ่น<br />

ขนาดใหญ่พิเศษ และมีรูปร่างไม่ซ้ำ ากันตาม<br />

ความเหมาะสมในแต่ละจุด ฐานรากเหล่านี้ยัง<br />

มีบทบาทเด่นคือเมื่อสถาปนิกเห็นประโยชน์<br />

จากการแผ่ของฐานรากในลักษณะต่างๆ จึงมี<br />

แนวคิดต้องการเปิดหน้าดินแล้วใช้ผิวฐานราก<br />

เป็นพื้นที่นั่งลงไปโดยตรง ในจุดนี้วิศวกรจึงต้อง<br />

เสริมความหนาของขอบฐานรากเบื้องล่างเพื่อ<br />

ป้องกันไม่ให้ดินไหลเพิ่มเติมด้วย ในท้ายที่สุด<br />

ผืนหลังคามหึมาถูกออกแบบให้ช่วงปลายระยะ<br />

ยื่นยาวลดลำาดับความหนาลงเป็นขั้นๆ ที่นำามา<br />

ซึ่งจุดสมดุลของขนาดโครงสร้าง การแอ่นตัว<br />

การมีช่องเปิดโดยไม่พังทลาย และการยื่นยาว<br />

โดยไม่มีโครงสร้างรองรับทั้งหมด หรือในรูปแบบ<br />

ที่ไพศาลอธิบายไว้ว่า เป็นการกำาหนดจาก<br />

‘รูปธรรมชาติของแรง’ คือเป็นรูปทรงที่เกิดจาก<br />

ความจำาเป็นของแรงด้านวิศวกรรม ณ จุดนั้นๆ<br />

โดยแท้จริง<br />

จะเห็นได้ว่า ความโดดเด่นของคอนกรีตใน<br />

Yellow Mini คือความสำาคัญด้านโครงสร้าง และ<br />

การแสดงออกทางความจำาเป็นด้านวิศวกรรม<br />

ที่สถาปนิกก็เลือกที่จะนำ าเสนอคอนกรีตเช่นนั้น<br />

อย่างตรงไปตรงมาไม่ปิดบัง โดยแนวคิดการยก<br />

เทคนิคการก่อสร้างมานำาเสนอเป็นความงามของ<br />

อาคารนั้น ก็ยังเป็นแนวทางเดียวกันกับ Yellow<br />

House ที่ถูกออกแบบโดยสถาปนิกกลุ่มเดียวกัน<br />

ทว่ามีประเด็นต่างกันในหลายกรณีในเบื้องต้น<br />

บ้าน Yellow House แม้จะมีรูปลักษณ์เป็นบ้าน<br />

กล่องคอนกรีตดูทึบตันโดยตลอด จนชวนให้<br />

นึกว่าโครงสร้างอาคารนั้นอาจเป็นระบบผนังรับ<br />

น้ำาหนัก แท้จริงแล้วตัวบ้านนั้นก่อสร้างในระบบ<br />

Skeleton ที่เกิดจากเสาและคานเหมือนโดย<br />

ทั่วไปในประเทศไทย ความทึบตันของอาคาร<br />

เกิดจากแนวความคิดการออกแบบที่สถาปนิกได้<br />

วางแผนผังอาคารเป็นชั้นๆ ออกไปคล้ายไข่ดาว<br />

โดยมีห้องนอนอยู่ใจกลาง แล้วล้อมรอบสี่ด้าน<br />

ด้วยส่วนใช้สอยอื่นๆ อย่างห้องน้ำ า นั่งเล่น ครัว<br />

และห้องทำางาน ซึ่งหัวใจสำาคัญคือทุกๆ ด้านทั้งสี่<br />

จะมีคอร์ทประจำาด้าน ไว้เชื่อมต่อกับสิ่งแวดล้อม<br />

ภายนอก และรับแสงธรรมชาติเข้าสู่ภายใน<br />

อาคารด้วย<br />

บทบาทของคอนกรีตในบ้านหลังนี้ชัดเจนที่สุด<br />

คือบนผนังทุกส่วนที่เหมือนกันตลอดรอบบ้าน<br />

โดยเกิดขึ้นตามแนวความคิดหลักคือ การสร้าง<br />

ความต่อเนื่องและเชื่อมโยงระหว่างความเป็น<br />

ภายในและภายนอกผ่านการใช้วัสดุกรุผนังที่<br />

เหมือนกัน โดยแม้คอนกรีตจะไม่ใช่ตัวเลือกแรก<br />

ของสถาปนิกทั้งสาม แต่ท้ายที่สุด พวกเขาได้<br />

สรุปที่เทคนิคการสร้างพื้นผิวบนผนังก่ออิฐฉาบ<br />

ปูนธรรมดาด้วยการตั้งไม้แบบ และเทคอนกรีต<br />

ประกบตลอดผนังให้เหมือนกันทุกผนังทั้งภาย-<br />

นอกและภายในบ้าน ผลลัพธ์ที่ได้จึงเป็นบ้าน<br />

ที่ประกอบด้วยผนังหนา และขึ้นรูปของวัสดุ<br />

คอนกรีตเป็นชั้นๆ อย่างชัดเจนโดยไม่ปิดบัง<br />

ความไม่ปิดบังเทคนิคการก่อสร้างดังที่ว่านี้<br />

สถาปนิกได้กล่าวเสริมว่า ยังรวมถึงการไม่ปิดบัง<br />

ว่าบ้านทั้งหลังเป็นบ้านที่เกิดจากระบบเสา-คาน<br />

ไม่ใช่ระบบผนังรับน้ำ าหนัก อันจะเห็นได้จาก<br />

การจงใจแสดงความไม่สมบูรณ์แบบของการเท<br />

คอนกรีตปิดผิว ไม่ว่าจะเป็นบรรดารูพรุน รวม<br />

ถึงเศษหินที่กองและทะลุปูนออกมาแทนที่จะถูก<br />

กลบให้มิด เป็นความไม่สมบูรณ์ที่คงไม่อาจ<br />

อนุญาตให้เกิดได้หากเป็นบ้านแบบผนังรับน้ำ าหนัก<br />

ที่ย่อมจะสื่อถึงความไม่แข็งแรง หรือความไม่ได้<br />

มาตรฐานด้านวิศวกรรม<br />

จากแง่มุมนี้ จึงจะเห็นว่าบ้าน Yellow House<br />

มีจุดเด่นเรื่องการใช้วัสดุคอนกรีตที่การเป็น<br />

องค์ประกอบตกแต่ง ทว่าก็เป็นการตกแต่งที่<br />

ต้องการบอกใบ้ หรือสื่อนัยถึงระบบการก่อสร้าง<br />

ที่แท้จริงของบ้าน ในท้ายที่สุดแล้ว โดยทั้งจุด<br />

ร่วมและจุดต่างของทั้งโครงการ Yellow Mini<br />

และบ้านพักอาศัยที่ตั้งอยู่ใกล้เคียงกันนี้ เป็น<br />

อีกตัวอย่างหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงการตีความ<br />

สถาปัตยกรรมผ่านวัสดุเดียวกัน คือ คอนกรีต<br />

ไว้อย่างน่าสนใจ<br />

03<br />

การจัดพื้นที่นั่งจากการ<br />

ปรับแต่งพื้นดินที่ต่อเนื่อง<br />

ออกมาจากตำาแหน่งของ<br />

ฐานราก<br />

04<br />

รูปตัดของอาคารเเสดง<br />

การเชื่อมต่อของพื้นที่<br />

ในทางนอน<br />

05<br />

โครงสร้างรองรับหลังคา<br />

ที่ลดเป็นขั้นๆ ออกแบบ<br />

ให้เป็นรูปทรงบันได เพื่อ<br />

ล้อไปกับการไล่ความสูง<br />

ขึ้นของระดับดิน<br />

4<br />

3<br />

5


theme / review<br />

CONCRETE IN THE WOOD<br />

82 83<br />

Despite the fact that the two projects use concrete as<br />

the primary material, the final goals intended for these<br />

two architectural creations are markedly different and<br />

interesting in many ways.<br />

7<br />

6<br />

06<br />

การให้องค์ประกอบต่างๆ<br />

บอกใบ้กลายๆ ถึงฟังก์ชัน<br />

ที่อาจเป็นไปได้ เช่น โต๊ะ<br />

ที่นั่ง หรือบันได<br />

07<br />

ไดอะแกรมแสดงการผสาน<br />

กันของที่ว่าง โครงสร้าง<br />

และระบบทางวิศวกรรม<br />

The commercial success and architectural merits<br />

of the Yellow Submarine Coffee Tank in Pak Chong<br />

district in Thailand’s Nakhon Ratchasima province<br />

prompted Suebsai Jittakasem, the project’s owner<br />

and one of the architects, to begin developing an<br />

addition to the design called, Yellow Mini. The ex<br />

tension was designed to accommodate a growing<br />

number of the cafe’s visitors, as it hopes to<br />

become a space that offers a unique, one-of-akind<br />

experience. Suebsai was planning another<br />

project at the same time he was working on the<br />

design of Yellow Mini. The project in question is<br />

the house for Suebsai and his family, which sits<br />

on the adjacent plot of land as somewhat of a<br />

continuation of the ‘yellow’ series.


08<br />

แผ่นหลังคาคอนกรีต<br />

ขนาด 8 x 27 เมตร และ<br />

การคว้านช่องเปิด ให้มีจุด<br />

รองรับน้ำาหนักเบื้องล่าง<br />

เพียง 5 จุด สลับตำาแหน่ง<br />

กันไปตามเนินดินที่ลดหลั่น<br />

นำามาซึ่งความท้าทายด้าน<br />

วิศวกรรม 8


theme / review<br />

CONCRETE IN THE WOOD<br />

86 87<br />

The two projects have noticeable similarities in their<br />

physical appearances. Each consists of a group<br />

of concrete pillars and boxy structures erected in<br />

a complicated placement that corresponds with<br />

the inclining terrain of the land and is situated<br />

under the lush, expanding canopies of mountain<br />

cedars. However, beneath the commonalities lie<br />

distinct construction techniques and architectural<br />

concepts, demonstrating how, despite the fact<br />

that the two projects use concrete as the primary<br />

material, the final goals intended for these two<br />

architectural creations are markedly different and<br />

interesting in many ways.<br />

JOYS Architects, which includes Suebsai and two<br />

other founders, Prasert Ananthayanont, and Nutt<br />

La-iad-on, conceptualized the Yellow Mini design<br />

from the geographical characteristics of the hilly<br />

terrain extending from the original building. With<br />

that as the primary factor, one of the project’s key<br />

concepts was the use of architectural elements to<br />

accentuate the inclining features of the landscapes<br />

and craft novel spatial perceptions and experiences<br />

with the original building as the meaningful backstory.<br />

The design does not attempt to<br />

conceal the fact that the house<br />

is built with the column-beam<br />

system. It can be seen in the<br />

purposeful exhibit of imperfections<br />

of surfaces created by the<br />

concrete casting process, from<br />

perforations to the way gravels<br />

are visible on the concrete finish<br />

rather than being concealed.<br />

10<br />

The architecture team began by determining the<br />

placement of the large, flat roof above the sloping<br />

ground. The idea was for the roof to be an overhead<br />

horizontal plane that covers the ground. The<br />

structure serves as a boundary marker, defining<br />

the characteristics of the space beneath it, with<br />

the one condition that the space be as open and<br />

airy as possible. The final result is a massive, flat<br />

concrete roof measuring 8 by 27 meters. There<br />

are five designated weight-bearing points determined<br />

by the inclining terrain.<br />

The architect also chose to have additional skylights<br />

at various parts of the roof, particularly where<br />

the roof gets significantly close to the ground, so<br />

that visitors can walk through and up the steps<br />

to ascend the above landscape. In general, the<br />

expanding mass, minimal weight-bearing points,<br />

and openings made at several sections of the roof<br />

collectively made construction and engineering<br />

possibilities incredibly challenging.<br />

The unique application of concrete was the answer<br />

to these engineering challenges. High-strength<br />

concrete and high-strength steel allowed the<br />

structure to bear weight while remaining within its<br />

intended size and proportion. Another important<br />

factor that helps anchor the entire structure is the<br />

9<br />

foundation. The project’s engineer, Paisan Phontphai,<br />

designed the foundation to be extra-large<br />

and expansive, with varying attributes determined<br />

by changing conditions and requirements. The<br />

foundations and the functional benefits they provide,<br />

as well as how they expand in various configurations,<br />

inspired the architect to keep the ground<br />

level exposed and use the foundations’ finished<br />

surface directly as seating areas. With that in<br />

mind, the engineer was required to reinforce the<br />

thickness of the bottom edges of the foundations<br />

to prevent the land from collapsing in the future.<br />

09<br />

วิศวกรออกแบบฐานราก<br />

เป็นแบบแผ่ขนาดใหญ่<br />

พิเศษ และมีรูปร่างไม่ซ้ำา<br />

กันตามความเหมาะสมใน<br />

แต่ละจุด และเสริมความ<br />

หนาของขอบฐานราก<br />

เบื้องล่างเพื่อป้องกันไม่ให้<br />

ดินไหล<br />

10<br />

ผัง Yellow house แสดง<br />

ส่วนของคอร์ทภายในบ้าน<br />

ที่สัมพันธ์กับสภาพโดยรอบ<br />

<strong>11</strong><br />

ไดอะแกรมแสดงเอกลักษณ์<br />

ของคอร์ทที่แตกต่างกัน<br />

สัมพันธ์กับระดับความสูง<br />

ของดินในคอร์ทนั้นๆ<br />

<strong>11</strong>


CONCRETE IN THE WOOD<br />

89<br />

Finally, the massive roof structure was designed<br />

with the protruding end being thinner, resulting in<br />

a well-balanced structure. Paisan described the<br />

structure’s bendability, openings that are not at<br />

risk of collapsing, and cantilevered sections, which<br />

do not require an entire structural support, as<br />

elements that are truly determined by the nature<br />

of forces. Each form that was generated was the<br />

result of the engineering force that each part of<br />

the structure necessitated.<br />

What distinguishes Yellow Mini is its structural<br />

distinction and expression of engineering necessity.<br />

The architect chose to present the concrete<br />

elements in an unapologetic and straightforward<br />

manner, with an approach that presents construction<br />

techniques as the building’s aesthetic merits.<br />

Despite being designed by the same architecture<br />

firm, Yellow Mini and Yellow House are distinct in<br />

multiple respects.<br />

12<br />

ความไม่สมบูรณ์อันเกิด-<br />

จากความตั้งใจหล่อผนัง<br />

คอนกรีตในที่ หนาจาก<br />

ผนังก่ออิฐประมาณ 3<br />

เซนติเมตร<br />

12<br />

13<br />

13<br />

มุมมองสู่คอร์ทหมายเลข 2<br />

ซึ่งมีทางไต่ระดับขึ้นไป<br />

บำารุงรักษาบนดาดฟ้าของ<br />

บ้านได้


theme / review<br />

CONCRETE IN THE WOOD<br />

90 91<br />

16<br />

บรรยากาศของบ้าน<br />

ในตอนกลางคืน<br />

14<br />

ห้องทำางานใช้ประโยชน์<br />

ของมุมมองจากคอร์ท<br />

ภายในบ้าน<br />

15<br />

คอร์ทหมายเลข 1 หรือ<br />

Welcome Court ระดับ<br />

ดินสูง 40 เซนติเมตร<br />

ใช้บังสายตาจากภายนอก<br />

14<br />

While Yellow House’s boxy, monolithic concrete<br />

mass appears so dense and solid that the structure<br />

would probably make one think it was probably<br />

built with a load-bearing wall system. However, the<br />

house is built with a skeleton system made up of<br />

columns and beams, as are most houses in Thailand.<br />

The solidity and enclosure are the result of<br />

the design concept, which divides the building’s<br />

layout into varying levels of accessibility.<br />

The bedroom, like the yolk of a fried egg, sits in the<br />

center, surrounded by different functional spaces<br />

such as bathrooms, the living room, the kitchen,<br />

and the workspace. The key feature of the design<br />

is that each of the four sides contains a separate<br />

courtyard, which connects the functional spaces<br />

to the outside environment and welcomes natural<br />

light into the interior living spaces.<br />

The walls highlight the unmistakable role of concrete<br />

in this home. These walls, built with the same<br />

proportions, structural elements, and finishing<br />

materials, are intended to facilitate continuity<br />

and connection between the interior and exterior<br />

spaces. While concrete was not the first option<br />

the three architects considered, they eventually<br />

came up with a solution using a construction<br />

technique in which a wooden mold was used to<br />

create a pattern on the concrete walls. The molds<br />

resulted in interior and exterior walls with highly<br />

similar finishes, resulting in a house with thick<br />

concrete walls where details and traces of the<br />

concrete casting process are fully showcased<br />

without being clad or covered.<br />

15<br />

16<br />

กรกฎ หลอดคำ<br />

ศึกษาจบปริญญาตรีสาขา<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ปริญญาโทสาขา Architectural<br />

History จาก<br />

The Bartlett School<br />

of Architecture, UCL<br />

ทำางานเขียนเรื่องบ้าน<br />

งานออกแบบ และ<br />

สถาปั ตยกรรมเป็ นหลัก<br />

Korrakot Lordkam<br />

is a Silpakorn University<br />

architecture graduate<br />

with a master’s<br />

degree in architectural<br />

history from the<br />

Bartlett School of<br />

Architecture, UCL,<br />

who writes primarily<br />

about houses, design,<br />

and architecture<br />

The deliberate display of construction techniques<br />

can also be seen in how the design does not<br />

attempt to conceal the fact that the house is built<br />

with the column-beam system rather than the loadbearing<br />

wall system. It can be seen in the purposeful<br />

exhibit of imperfections of surfaces created by<br />

the concrete casting process, from perforations to<br />

the way gravels are visible on the concrete finish<br />

rather than being concealed. It’s the kind of imperfection<br />

that would never be allowed to exist if the<br />

house was built with a load-bearing wall system,<br />

as it could be interpreted as structural instability<br />

or unstandardized engineering.<br />

From this perspective, it is clear that, while the<br />

Yellow House’s design incorporates concrete<br />

as a decorative element, the concrete itself is an<br />

intriguing implication of the house’s true construction<br />

system. At the end of the day, the similarities<br />

and differences between Yellow Mini and Yellow<br />

House exemplify interesting interpretations of<br />

architecture through the use and existence of<br />

concrete.<br />

fb.com/JOYSArchitects<br />

Project: Yellow Mini & Yellow House Location: Pak Chong District, Nakhon Ratchasima, Thailand Area: Yellow Mini 170 sqm. / Yellow House<br />

200 sqm. Architecture: JOYS Architects, Suebsai Jittakasem, Prasert Ananthayanont, Nutt La-iad-on Structure Yellow Mini: JET Structural by<br />

Paisan Phontphai Construction: Pornsila Engineering Company Limited Completion: 2022


92<br />

theme / review<br />

Signature<br />

Blocks<br />

The owner’s personal admiration for Vaslab’s early works served as the<br />

inspiration for House in the Dust, a residence in Petchaboon that gave<br />

the studio the creative freedom to fully develop and express its distinctive<br />

architectural style.<br />

Text: Warut Duangkaewkart<br />

Photo Courtesy of Vaslab Architecture and Spaceshift Studio except as noted<br />

1<br />

01<br />

ด้วยทำเลที่ตั้งของบ้าน<br />

ท่ามกลางความหลาก-<br />

หลายและลานตาก<br />

ข้าวโพดจึงออกแบบให้<br />

บ้านสามารถมองรอบได้<br />

360 องศา


theme / review<br />

SIGNATURE BLOCKS<br />

94 95<br />

เอกลักษณ์ หรือ ลายเส้นในงานออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมนั้น สามารถแสดงออกได้หลาย<br />

วิธี ซึ่งแล้วแต่สถาปนิกจะยกเรื่องไหนขึ้นมา<br />

เป็นปัจจัยหลักในการออกแบบ แต่สำหรับ<br />

Vaslab แล้ว หนึ่งในเอกลักษณ์ที่สามารถเห็น<br />

ได้ชัดตั้งแต่งานออกแบบช่วงแรกๆ จนถึง<br />

ปัจจุบัน คือเรื่องเส้นสายที่มีความโดดเด่น<br />

และวัสดุคอนกรีตที่เลือกมาใช้ในการออกแบบ<br />

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยความเชื่อในการ<br />

ทำงานออกแบบที่วัสดุต้องตอบโจทย์ในเรื่อง<br />

ของการใช้งาน และมีความคงทนแข็งแรง เพื่อ<br />

ให้ง่ายต่อการดูแลรักษาแก่เจ้าของโครงการ<br />

รวมไปถึงงานที่ดีสำหรับ Vaslab นั้นจะต้อง<br />

ตอบโจทย์ในเรื่องของ Timeless Design ทั้ง<br />

ในแง่ของการใช้งาน และภาพรวมของอาคาร<br />

ที่จะอยู่ไปอีกยาวนาน<br />

ด้วยความที่โตมากับยุคที่งานของสถาปนิกอย่าง<br />

Le Corbusier Louis Kahn Danial Libeskind<br />

รวมไปถึงงานสมัยใหม่อย่าง Zaha Hadid<br />

หรือ Tadao Ando ที่หลากหลายงานได้ใช้วัสดุ<br />

คอนกรีตในการแสดงภาพลักษณ์ของโครงการ<br />

นั้นๆ ทำให้ วสุ วิรัชศิลป์ หลงใหลในงานสถา-<br />

ปัตยกรรมคอนกรีต ที่มีความงดงามในตัว<br />

ของวัสดุเองเมื่อผ่านไปตามกาลเวลา สิ่งนี้<br />

จึงเป็นจุดเริ่มต้นที่ทำให้ Vaslab ได้ทดลอง<br />

ทำงานในรูปแบบที่ตัวเองสนใจตั้งแต่โปรเจกต์<br />

แรกๆ ที่ก่อตั้งสตูดิโอขึ้นมา รวมไปถึงออฟฟิศ<br />

Vaslab โครงการต่างๆ อีกมากมายที่ต่อยอด<br />

มาจากความชื่นชอบในรูปแบบเดียวกันของ<br />

ผู้ออกแบบและเจ้าของโครงการ จนมาถึง<br />

House in the Dust บ้านพักอาศัยที่ตั้งอยู่ใน<br />

จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่มีจุดเริ่มต้นมาจากเจ้าของ<br />

โครงการชื่นชอบงาน Overlapping House<br />

ที่ออกแบบโดย Vaslab และต้องการบ้านที่มี<br />

เอกลักษณ์ จึงทำให้โจทย์ของการออกแบบ<br />

เปิดกว้าง และสามารถนำเสนอเอกลักษณ์งาน<br />

ออกแบบตามสไตล์ Vaslab ได้อย่างเต็มที่<br />

ในช่วงเริ่มแรกนั้น การทำงานคอนกรีตหล่อ<br />

ในที่แบบที่ได้เห็นนั้น มีความจำเป็นที่จะต้อง<br />

ทดลอง และพัฒนารูปแบบการก่อสร้างให้<br />

เหมาะสมกับทักษะ วัสดุ และงบประมาณที่<br />

เหมาะสม จึงเกิดเป็นการทดลองปรับเปลี่ยน<br />

วิธีการก่อสร้าง จากที่ในงานส่วนใหญ่ของต่าง<br />

ประเทศนั้น ใช้แม่แบบเหล็กในการขึ้นฟอร์ม<br />

ของผนังอาคารต่างๆ ซึ่งมีข้อเสียในเรื่องของ<br />

งบประมาณ และความชำนาญ โครงการต่างๆ<br />

ของ Vaslab เองจึงประยุกต์ด้วยการใช้แผ่น<br />

ไม้อัดเข้ามาทดแทน รวมถึงพัฒนาทักษะของ<br />

การก่อสร้างของทีมช่างไปพร้อมๆ กัน<br />

สำหรับ House in the Dust ด้วยความที่ตั้งอยู่<br />

ในพื้นที่ที่มีความพิเศษ รายล้อมไปด้วยความ<br />

หลากหลาย ทั้งโรงงานขนาดใหญ่ ลานกว้าง<br />

สำหรับตากข้าวโพด บ้านหลังเดิม รวมไปถึง<br />

วิวต้นสนอินเดียที่รับกับทิวเขาด้วยหลัง สิ่งนี้<br />

เองที่ผู้ออกแบบมองเห็นถึงความน่าสนใจ จน<br />

เกิดเป็นแนวความคิดในการออกแบบบ้านที่<br />

สามารถมองได้รอบทั้งหมด 360 องศา ด้วย<br />

ความที่เป็นพื้นที่เปิดโล่ง ทำให้พื้นที่ใช้สอย<br />

ต่างๆ ถูกปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับการใช้<br />

งาน ไม่มีหน้าบ้าน หรือหลังบ้านที่ชัดเจน โดย<br />

แบ่งการใช้งานพื้นที่ออกเป็น 3 ส่วน พื้นที่ส่วน<br />

Service ที่เป็นที่จอดรถ และห้องครัว พื้นที่<br />

Common ที่เป็นห้องโถง ห้องนั่งเล่น และอีก<br />

ส่วนคือ พื้นที่ Living ที่เป็นห้องนอน โดยทั้ง<br />

3 ส่วนนั้นถูกวางให้เชื่อมต่อกันแต่แยกออก<br />

เป็นแกนทั้งหมด 3 แกน<br />

ด้วยเส้นสายของ Vaslab เองนั้น พื้นที่แต่ละ<br />

ส่วนถูกเชื่อมต่อกันทั้งแนวนอน และแนวดิ่ง<br />

เส้นสายต่างๆ ถูกลากเข้าหากัน และออกแบบ<br />

มาอย่างพิถีพิถัน เพื่อให้ช่วยลดทอนขนาด<br />

ส่วนของตัวอาคาร ไม่ให้ดูแบน หรือ ทึบจน<br />

เกิดไป เส้นปาดเฉียงช่วยทำให้ตัวบ้านดูมี<br />

การเคลื่อนไหวมากขึ้น ทั้งการเชื่อมพื้นที่จาก<br />

ชั้น 1 ไปสู่ชั้นสองด้วยบันไดที่ถูกนำมาจัดวาง<br />

บนผนังภายนอก รวมถึงองค์ประกอบของ<br />

แต่ละแกนก็มีขนาดที่แตกต่างกันตามการใช้<br />

งาน แกนสำหรับอยู่อาศัยจะมีความยาวมาก<br />

ที่สุด แกนที่เป็นที่จอดรถจะเป็นแกนที่สั้นที่สุด<br />

ซึ่งถูกนำมาประกอบ และบิดรูปทรงของ<br />

อาคาร รวมถึงการเลือกให้ด้านที่เปิดรับฝุ่น<br />

นั้นมีลักษณะทึบเป็นหลัก เพื่อป้องกันปัญหา<br />

ที่จะเกิดขึ้น ทำให้ฟอร์มของอาคารนั้นมีความ<br />

เป็นประติมากรรมที่ตั้งอยู่ในลานกว้างอย่าง<br />

ตั้งใจ<br />

สำหรับภายนอกนั้นด้วยความที่เจ้าของโครงการ<br />

ต้องการให้มีความเป็นคอนกรีตทั้งหมดตั้งแต่<br />

เริ่มต้น ส่วนสำคัญในการก่อสร้างคือต้องมี<br />

ผู้รับเหมาที่มีความเข้าใจ มีทักษะที่จะก่อสร้าง<br />

แล้วให้มีเส้นสายตามแบบ ซึ่งแท้จริงแล้ว<br />

ต้องการความละเอียดในการก่อสร้างอย่าง<br />

มาก โดยเฉพาะเส้นสายที่มีความโค้ง เนื่อง<br />

ด้วยการหล่อคอนกรีตนั้นต้องทำให้จบในครั้ง<br />

เดียวในแต่ละส่วน ขั้นตอนนี้จึงมีความสำคัญ<br />

ซึ่ง Vaslab เองก็ให้ความสำคัญ และพัฒนา<br />

ร่วมกับผู้รับเหมามาโดยตลอด<br />

ส่วนพื้นที่ภายในนั้น เป็นการผสมผสานระหว่าง<br />

การใช้คอนกรีตเปลือย และไม้จริงที่เจ้ าของบ้าน<br />

สะสมเอาไว้ เพื่อให้เกิดบรรยากาศที่เหมาะสม<br />

กับการใช้งานพื้นที่มากขึ้น โดยพื้นที่ด้านใน<br />

ส่วนกลางจะมีโถงขนาดใหญ่เพื่อเพิ่มความ<br />

โปร่งให้กับพื้นที่ รวมไปถึงมุมมองจากบาน<br />

กระจกขนาดใหญ่ที่ทำให้สามารถมองเห็นวิว<br />

แบบ Panorama ไปยังลานตากข้าวโพด หรือ<br />

เห็นการเชื่อมต่อของอาคารที่แต่ละแกนโค้ง<br />

เข้าหากัน ช่วยทำให้พื้นที่มีความเชื่อมโยงกับ<br />

บริบทโดยรอบมากขึ้น ทั้งจากภายใน และ<br />

ภายนอก<br />

House in the Dust ถือเป็นอีกโปรเจกต์หนึ่ง<br />

ที่ทั้งผู้ออกแบบ และเจ้าของโครงการ ได้มี<br />

ส่วนร่วมในการพัฒนาร่วมกันอย่างเต็มที่<br />

เมื่อมีความต้องการตรงกันในจุดเริ่มต้นแล้ว<br />

งานออกแบบก็จะสามารถพัฒนา และนำไปสู่<br />

เอกลักษณ์ที่โดดเด่นได้ ทั้งในแง่ของรูปฟอร์ม<br />

และวัสดุอย่างคอนกรีตเปลือย ที่ Vaslab ได้<br />

ทำให้เห็นอีกครั้งถึงเส้นสายในงานออกแบบที่<br />

โดดเด่นเหมือนที่เราเคยเห็นมาก่อน<br />

03<br />

ส่วนจอดรถเป็นแกน<br />

ด้านสั้นที่สุด<br />

3<br />

02<br />

ส่วนที่อยู่อาศัยจะมี<br />

การเปิดช่องเปิดรับวิว<br />

จากที่ตั้ง<br />

2<br />

04<br />

ด้านที่เปิดรับฝุ่นมี<br />

ลักษณะผนังปิดทึบ<br />

เป็นหลัก<br />

4


96 97<br />

Visually stunning<br />

lines and an efficient<br />

and distinctive use of<br />

concrete are two of<br />

Vaslab’s most visible<br />

and distinct identities.<br />

Such elements can be<br />

found in their early<br />

works, from when the<br />

studio was first established<br />

until now.<br />

45<br />

04 05<br />

การออกแบบพื้นที่เชื่อมต่อ<br />

รูปแบบบ้านที่เกิดจาก<br />

โดยใช้สวนปิดล้อมเข้ามา<br />

การบิดแกน ทำให้สามารถ<br />

เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่<br />

มองวิวได้รอบ 360 องศา<br />

ภายในอาคาร และช่วยให้เกิดรูปทรงที่ สร้างความ<br />

เชื่อมโยงธรรมชาติเข้าสู่<br />

น่าสนใจ เป็นประติมากรรม<br />

พื้นที่อยู่อาศัย ตั้งอยู่กลางลานโล่ง


theme / review<br />

SIGNATURE BLOCKS<br />

98 99<br />

GROUND FLOOR PLAN<br />

1 M<br />

1. PARKING<br />

2. ENTRY<br />

3. FOYER<br />

4. DINNING<br />

5. LIVING<br />

6. FITNESS<br />

7. HOME THEATRE<br />

8. BEDROOM 1<br />

9. BEDROOM 2<br />

10. BUDDHA ROOM<br />

<strong>11</strong>. LAUNDRY<br />

12. STORANGE<br />

13. KITCHEN<br />

14. PATIO<br />

7<br />

06<br />

ผังบ้านสองชั้นและ<br />

ผังหลังคาที่ใช้สอยได้<br />

07<br />

เส้นปาดเฉียงให้เกิดความ<br />

เคลื่อนไหวของอาคาร<br />

6<br />

2ND FLOOR PLAN<br />

1 M<br />

1. FOYER<br />

2. HOMEWORK ROOM<br />

3. MASTER BEDROOM<br />

4. WALK-IN CLOSET<br />

5. BATHROOM<br />

6. TERRACE<br />

7. BEDROOM 3<br />

8. BALCONY<br />

9. BEDROOM 4<br />

10. BEDROOM 5<br />

ROOF FLOOR PLAN<br />

1 M<br />

1. TERRACE<br />

An architect can express character or personality<br />

in their architectural design in a variety of ways,<br />

each of which is dependent on the subject matter<br />

they choose to be the primary factor in their architectural<br />

creations. Visually stunning lines and an<br />

efficient and distinctive use of concrete are two<br />

of Vaslab’s most visible and distinct identities.<br />

Such elements can be found in their early works,<br />

from when the studio was first established until<br />

now. In Vaslab’s book, a good architectural design<br />

needs to hold a sense of timelessness, both in the<br />

functional and aesthetic aspects, considering the<br />

longevity that a work will have in the long run. In<br />

Vaslab’s realm of architectural creation lies the<br />

belief that, while creating the design, materials<br />

need to fulfill functional purposes while delivering<br />

the expected durability and maintenance convenience.<br />

Growing up seeing the works of architectural<br />

masters such as Le Corbusier, Louis Kahn, and<br />

Daniel Libeskind, as well as modern starchitects<br />

such as Zaha Hadid and Tadao Ando and their<br />

diverse uses of concrete to profess unique architectural<br />

identities through architectural creations,<br />

Vasu Virajsilp has always had a personal love and<br />

passion for concrete architecture owing to the<br />

material’s intrinsically unique and timeless beauty.<br />

The experimentation with the kind of architecture<br />

that Vasu found intriguing began with projects<br />

that Vaslab was assigned to execute during its<br />

initial years. These projects span from the Vaslab<br />

office to various other works, many of which were<br />

inspired by the architect and project owners’<br />

mutual love of this particular style of architecture.<br />

House in the Dust, a home in Thailand’s Petchaboon<br />

province, is among them. The project was<br />

inspired by the owner’s personal affection for<br />

Overlapping House, another residential project<br />

designed by Vaslab. The owner’s intention behind<br />

House in the Dust was to create a unique-looking<br />

home which resulted in the creative freedom that<br />

allowed Vaslab to fully develop and express the<br />

architectural style they have learned to master.<br />

The on-site concrete casting that was employed<br />

during the early stages of the project was the<br />

product of an extensive process of experiments<br />

and developments. Each step was carried out to<br />

find a construction method that best suited the<br />

builders’ skills as well as the available materials<br />

and budget. Through a series of trial and error,<br />

Vaslab began applying and adopting the use of<br />

plywood in the casting process alongside deve<br />

loping the skills of their team of builders’ for the<br />

studio’s own projects. The attempt led Vaslab<br />

to develop its own method of building concrete<br />

architecture. It shies away from the use of steel<br />

molds, which are commonly employed for most<br />

renowned oversea projects that often come at a<br />

higher cost and require a specific skill set on the<br />

builders’ part.


8<br />

08<br />

เส้นแกนนอนจัดวาง<br />

ส่วนของพื้นที่อยู่อาศัยจะ<br />

มีแนวแกนยาวที่สุด


theme / review<br />

SIGNATURE BLOCKS<br />

102 103<br />

The architect is particularly drawn to House in the<br />

Dust because of its location, which includes a large<br />

factory, a vast open field used to dry harvested<br />

corn, an old house, and a view of Indian Pines with<br />

mountains in the distance. Everything was envisioned<br />

in the form of a residence with 360-degree<br />

access to its surroundings. Due to the location’s<br />

openness, some modifications were made to the<br />

functions of the house to better suit actual usage.<br />

And since there is no defined front or back of the<br />

house, the functional program is separated into<br />

three primary sections: the service area (parking<br />

space and kitchen), the common area (formal room,<br />

living room), and the living area (bedrooms), with<br />

the three axes connecting and separating the three<br />

zones at the same time. 9<br />

With the owner’s desire for the house to have concrete covering<br />

the entire outer surface, accomplishing such a vision necessitates<br />

a contactor with true comprehension, attentiveness, and<br />

talents to materialize the design’s distinctive details, lines, and<br />

silhouettes, particularly the curved elements.<br />

SECTION 1<br />

1 M<br />

1. ENTRY<br />

2. DINNING<br />

3. LIVING<br />

4. FITNESS<br />

5. HOME THEATRE<br />

6. STORANGE<br />

7. STORANGE<br />

8. HOMEWORK ROOM<br />

9. BEDROOM 5<br />

10. BEDROOM 4<br />

<strong>11</strong>. BEDROOM 3<br />

12. FOYER<br />

13. TERRACE<br />

<strong>11</strong><br />

10<br />

SECTION 2<br />

1 M<br />

1. FOYER<br />

2. BEDROOM 1<br />

3. BEDROOM 2<br />

4. BUDDHA ROOM<br />

5. STORANGE<br />

6. LAUNDRY<br />

7. WC<br />

8. WALK-IN CLOSET<br />

9. MASTER BEDROOM<br />

10. STORANGE<br />

<strong>11</strong>. CORIDOR<br />

12. TERRACE<br />

10<br />

รูปตัดของบ้าน ด้วย<br />

โครงสร้างคอนกรีตหล่อ<br />

ในที่ใช้ไม้อัดเป็นไม้แบบ<br />

การก่อสร้าง<br />

<strong>11</strong>-12<br />

การวางผังตามแนวแกน<br />

ยาวทำให้มองเห็นทิวทัศน์<br />

โดยรอบจากส่วนต่างๆ<br />

09<br />

บรรยากาศภายในบ้าน<br />

ผสานระหว่างคอนกรีต<br />

และไม้จริงที่เจ้าของบ้าน<br />

สะสมไว้<br />

12


theme / review<br />

SIGNATURE BLOCKS<br />

104 105<br />

13<br />

มุมมองจากภายในของ<br />

บ้านไปยังลานตากข้าวโพด<br />

14<br />

บรรยากาศตอนค่ำ<br />

ของบ้าน<br />

Vaslab’s rendering of architectural lines unites the<br />

functional spaces both horizontally and vertically.<br />

Lines are precisely created and drawn together,<br />

preventing the scale and form of the building from<br />

being overly flat or dense. The attempt can be seen<br />

from how an external stairway was added to connect<br />

the first and second floors of the house, the<br />

varied scales of the components on each axis, as<br />

well as the use of diagonal lines to make the house<br />

appear more dynamic. The axis defining the residential<br />

zone is the longest, while the line defining<br />

the parking space is the shortest. The axes were<br />

assembled and used to shape the architectural<br />

form of the building. To avoid future problems, the<br />

side of the house that is most exposed to the dust<br />

is made up primarily of dense masses. The decision<br />

was made with a deliberate intention of creating a<br />

sculpturally-looking architectural shape that would<br />

sit perfectly on the open, vast plot of land.<br />

With the owner’s desire for the house to have concrete<br />

covering the entire outer surface, accomplishing<br />

such a vision necessitates a contactor with<br />

true comprehension, attentiveness, and talents to<br />

materialize the design’s distinctive details, lines,<br />

and silhouettes, particularly the curved elements.<br />

Because the concrete casting for each component<br />

had to be done in a single session, the process was<br />

critical to achieving the envisioned result. Vaslab,<br />

acknowledging such facts, worked closely with the<br />

contractor throughout the entire construction stage.<br />

The interior design features an exposed concrete<br />

surface and natural wood from the owner’s collection.<br />

The two materials work well together to render<br />

a more humanistic and functional living space. The<br />

common space contains a huge foyer that is meant<br />

to open up and expand the spatial program. The<br />

view through the enormous glass panels provides<br />

a panoramic view of the land where harvested maize<br />

is sun-dried. Meanwhile, the way each axis intentionally<br />

bends towards one another to enable the<br />

connection between each component of the house<br />

culminates in a stronger connection between the<br />

architecture and its functional spaces and the surrounding<br />

context.<br />

House in the Dust is another exemplary project in<br />

which both the architect and the owner are actively<br />

involved in the design process. Such a collaborative<br />

effort, shared vision and goal can lead to a work<br />

of fascinating design, just as Vaslab has accomplished<br />

yet again with this house, whose unique<br />

architectural form and signature are the unmistakable<br />

reflection of the architect’s masterful use of<br />

concrete.<br />

vaslabarchitecture.com<br />

14<br />

พื้นไม้ ผนังไม้ของส่วน<br />

ภายในอาคาร ทำจากวัสดุ<br />

ไม้ท้องถิ่นเป็นหัวใจของ<br />

การออกแบบพื้นที่ภายใน<br />

วรุตร์ ดวงแก้วกาศ<br />

จบการศึกษาด้าน<br />

สถาปั ตยกรรม และ<br />

ทัศนศิลป์ ทำางาน<br />

สร้างสรรค์อิสระ<br />

โดยสนใจการออกแบบ<br />

ที่ผสมผสานระหว่าง<br />

สถาปั ตยกรรม ศิลปะ<br />

และชีวิต<br />

Warut<br />

Duangkaewkart<br />

is a graduate of architecture<br />

and visualarts,<br />

Currently working<br />

independently with<br />

a focus on design that<br />

blends architecture,<br />

art and life<br />

14<br />

13<br />

Project: House in the Dust Location: Phetchabun, Thailand Type: Private Houses Design year: 2019 Completion: 2022 Area: 1030 m²


106<br />

Face<br />

theme / review<br />

107<br />

Value<br />

Studio Krubka has experimented with new techniques and the<br />

construction process in the house they designed for a couple who<br />

love exposed concrete.<br />

Text: Nathanich Chaidee<br />

Photo Courtesy of Studio Krubka and Beer Singnoi except as noted<br />

1<br />

2<br />

01<br />

ผนังคอนกรีตเป็น<br />

องค์ประกอบกั้นส่วน<br />

พื้นที่ใช้สอยส่วนตัว<br />

และส่วนรวมของบ้าน<br />

02<br />

จากมุมมองพื้นที่ส่วนตัว<br />

ไปยังส่วนพื้นที่โชว์รูม<br />

ของสะสมของเจ้าของบ้าน


theme / review<br />

FACE VALUE<br />

108 109<br />

03<br />

ขนาดไม้แบบ 1.2x2.4<br />

เมตร สำาหรับคอนกรีต<br />

หล่อในที่ปรากฎเป็นผิว<br />

ของผนังบ้านทั้งภายนอก<br />

และภายใน<br />

04<br />

ช่องเปิดระหว่างส่วนต่างๆ<br />

ของบ้านที่มองเห็นกันช่วย<br />

สร้างการเชื่อมต่อ<br />

05<br />

รูปตัดของบ้าน<br />

3<br />

งานคอนกรีตเปลือยเป็นโจทย์ตั้งต้นของการ<br />

ออกแบบจากเจ้าของบ้านนักโฆษณา ซึ่งมี<br />

ความชื่นชอบเป็นพิเศษโดยเฉพาะกับงานของ<br />

ทาดาโอะ อันโดะ ร่วมกันกับโจทย์ด้านฟังก์ชัน<br />

การใช้งานที่จะต้องครบครันโดยไม่ต้องออก<br />

ไปเผชิญกับการจราจรนอกบ้าน และความเป็น<br />

ส่วนตัวอย่างแท้จริงในพื้นที่อยู่อาศัยของสอง<br />

สามีภรรยา<br />

สถาปนิก Studio Krubka ท้าทายกับตัวเอง<br />

ด้วยการคิดต่างจากลำาดับการเข้าถึงของบ้าน<br />

ทั่วไป เมื่อร่วมกับการต้องการความเป็นส่วน<br />

ตัวขั้นสูงสุดในพื้นที่ส่วนตัว จึงเริ่มต้นจากทาง<br />

เข้าบ้านที่จะมาเจอกับบันไดขึ้นชั้นสองเพื่อไป<br />

ถึงห้องนอนได้เลยโดยไม่ต้องผ่านส่วนอื่นของ<br />

บ้าน ปิดล้อมด้วยผนังคอนกรีตทึบเป็นตัวแบ่ง<br />

พื้นที่อย่างชัดเจนระหว่างความเป็นส่วนรวม<br />

และความเป็นส่วนตัว ซึ่งทั้งหมดมาจากโจทย์<br />

การวิเคราะห์และตั้งข้อสังเกตพฤติกรรมของ<br />

ผู้ใช้งาน แล้วจึงนำามาแก้ปัญหาผ่านวิธีการ<br />

ออกแบบ<br />

ในเชิงการออกแบบพื้นที่ เริ่มต้นจากพื้นที่ที่<br />

เป็นส่วนตัวที่สุดอย่างห้องนอนที่นับเป็นหัวใจ<br />

ของบ้าน จากเดิมที่เคยอยู่ในคอนโดมิเนียม<br />

มาทั้งชีวิต สถาปนิกหยิบยกเอาความเคยชิน<br />

จากห้องเดิมมาใส่ไว้ในพื้นที่ส่วนตัวแบบครบ<br />

ทุกกระเบียดนิ้ว ตั้งแต่ห้องนั่งเล่น เตรียม<br />

อาหาร ไปจนถึงห้องนอนที่ขยายขนาดขึ้นอีก<br />

ซึ่งนี่ก็เป็นอีกโจทย์สำาคัญจากเจ้าของบ้านที่<br />

ต้องการความรู้สึกที่ไม่ได้ต่างไปจากการอยู่<br />

อาศัยแบบเดิมมาตลอด<br />

ผนังคอนกรีตมีบทบาทในการประกอบสร้างเพื่อ<br />

กั้นแบ่งระดับของความเป็นส่วนตัวและส่วน<br />

รวมสำาหรับพื้นที่ภายใน เพราะเป็นบ้านขนาด<br />

ใหญ่ จึงจำาเป็นต้องออกแบบช่องเปิดภายในให้<br />

สามารถมองทะลุเห็นกันให้ได้มากที่สุดโดยไม่<br />

รบกวนความเป็นส่วนตัวของแต่ละคน โดยคิด<br />

จากทางสัญจรและระยะสายตาจากแต่ละจุด<br />

ว่าจะมองไปเห็นแต่ละจุดผ่านรูปแบบการเปิด<br />

อย่างไร เช่น จากส่วนพักผ่อนมองทะลุไปเห็น<br />

โชว์รูมรถ ของสะสมสุดรัก ถึงแม้จะเป็นบ้าน<br />

หลังใหญ่ แต่ก็ยังคงเชื่อมต่อกันได้ทั้งหมด<br />

ผ่านทัศนวิสัย<br />

งานประกอบสร้างเป็นสถาปัตยกรรมนำามาสู่<br />

การศึกษาเพิ่มเติมในเรื่องงานคอนกรีต ซึ่ง<br />

บ้านหลังนี้นับว่าเป็นหลังแรกที่สถาปนิกได้<br />

ทดลองทำางานคอนกรีตสำาหรับบ้านทั้งหลัง<br />

แบบเต็มรูปแบบ และได้เรียนรู้ว่า งานคอนกรีต<br />

เองก็คือระบบโมดูลาร์แบบหนึ่งเช่นกัน เพราะ<br />

เริ่มต้นด้วยไม้แบบขนาด 1.2x2.4 เมตร งาน<br />

ดีไซน์จึงต้องปรับอีกครั้งให้เข้ากับระบบเพื่อให้<br />

แพทเทิร์นของผืนแผ่นปูนสมบูรณ์ครบเต็มแผ่น<br />

ภาษาของงานดีไซน์ใหม่ๆ จึงเกิดขึ้นผ่านทาง<br />

ระบบโมดูลาร์นี่เอง รายละเอียดเล็กๆ น้อยๆ<br />

อย่างการเปลี่ยนสวิตช์และปลั๊กไฟให้อยู่ในระยะ<br />

ไม่ต้องเอื้อมที่ 90 เซนติเมตร<br />

จากการร่วมงานกับ MSK Engineering ผู้รับ-<br />

เหมาที่เชี่ยวชาญด้านงานคอนกรีต ถึงแม้จะ<br />

เป็นงานแรกของสถาปนิกในการออกแบบบ้าน<br />

คอนกรีตล้วน แต่ความท้าทายที่ต้องการผสาน<br />

งานคอนกรีตเข้ากับดีไซน์ก็ได้ทดลองที่บ้าน<br />

หลังนี้<br />

“เพราะว่างานคอนกรีตเหมือนกับงานประติมา-<br />

กรรมที่เราจะปั้นแบบไหนก็ได้ อยู่ที่การสร้างทำ า<br />

ไม้แบบ” การทดลองกับคอนกรีตครั้งใหญ่ของ<br />

บ้านหลังนี้จึงเป็นการทดลองทำาฝ้าโค้ง ซึ่งเป็น<br />

การทดลองทั้งเรื่องเทคนิคการก่อสร้างที่จะต้อง<br />

ตั้งไม้แบบสองแกนพร้อมกัน ร่วมกันกับงาน<br />

ดีไซน์ทำาให้น้ำาหนักของฝ้าคอนกรีตดูเบาลงจาก<br />

บรรยากาศที่หนาหนักของคอนกรีตโดยรอบ<br />

ฝ้าคอนกรีตที่โค้งขึ้นรับกับช่องแสงด้านบน เมื่อ<br />

แสงผ่านมาตกกระทบทำาให้เกิดเอฟเฟกต์จาก<br />

แสงเงาที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดทั้งวัน<br />

ในส่วนของผนังโดยรวมของบ้านใช้เทคนิค<br />

Form Ties ที่ใช้การหล่อคอนกรีตในไม้แบบ<br />

ความสูง 2.4 เมตร แล้วผูกร้อยสองแผ่นที่เท<br />

พร้อมกันด้วยเชือก เกิดเป็นรูของผนังที่มา<br />

จากเทคนิคการก่อสร้าง ส่วนตัวไม้แบบก็ส่ง<br />

ผลต่อเรื่องพื้นผิวของคอนกรีต ซึ่งบ้านหลัง<br />

นี้เลือกใช้ไม้อัดดำาเป็นไม้แบบ ซึ่งเกิดเป็นพื้น<br />

ผิวเรียบแต่ยังมีมิติจากผิวไม้ แม้จะมีสิ่งหลง<br />

เหลือริ้วรอยระหว่างยูนิตจากไม้แบบที่ต่อไม่<br />

เสมอกัน แต่นี่กลับกลายเป็นเอฟเฟกต์ที่ทำาให้<br />

ผนังผืนใหญ่ดูมีชีวิตชีวา ไม่อึดอัดทึบแน่นจาก<br />

ภาพลักษณ์ของคอนกรีต<br />

“ผมยังอยากผลักดันงานคอนกรีตให้ไปไกล<br />

กว่านี้ในเรื่องของพื้นผิว แต่ความที่มันไม่ได้<br />

เรียบร้อยเสียทีเดียวก็เป็นหนึ่งในความตั้งใจ<br />

ของบ้านหลังนี้ เพราะเราคุยถึงแรงบันดาลใจ<br />

จากทาดาโอะ อันโดะ เวลาผนังคอนกรีตไม่<br />

เรียบเล่นกับแสงช่วยสร้างชีวิตชีวา เมื่อแสง<br />

แต่ละวันองศามันเปลี่ยน เงาที่เกิดขึ้นจาก<br />

ความพลิ้วของผนังจะไม่เหมือนเดิม ทั้งหมดนี้<br />

คือเรื่องการเลือกไม้แบบ ซึ่งออกมาก็ได้เอฟ-<br />

เฟกต์อย่างที่คิดส่วนหนึ่ง และเอฟเฟกต์ใน<br />

ส่วนที่เราคิดไม่ถึงอีกส่วนหนึ่ง โดยรวมจึง<br />

กลายเป็นความน่าสนใจของบ้านหลังนี้”<br />

สถาปนิกจาก Studio Krubka ยังคงไม่หยุด<br />

ค้นหาเทคนิควิธีการใหม่ๆ โดยต่อยอดร่วมกัน<br />

กับวิศวกรในการพัฒนาการก่อสร้างให้สามารถ<br />

หล่อแผ่นผนังได้ทีละ 4-5 แถว และการทำา<br />

Fair-faced Concrete หรือคอนกรีตหล่อใน<br />

แบบที่บ้านเราเรียก ให้เป็นทางเลือกสำาหรับ<br />

งานก่อสร้างราคาประหยัด เพราะตัวผนัง<br />

คอนกรีตเองสามารถจบเป็นพื้นผิวผนังได้เลย<br />

โดยไม่ต้องฉาบ สกิม หรือทาสีทับ พร้อมกับ<br />

การจัดการการก่อสร้างเพื่อลดการสูญเสียจาก<br />

งานก่อสร้างให้น้อยที่สุด เพราะคอนกรีตจะ<br />

ยังคงเป็นวัสดุหลักสำาหรับงานก่อสร้างไปอีก<br />

แสนนาน<br />

4 5


6<br />

06<br />

ผนังคอนกรีตที่ไม่เรียบเป็น<br />

ความตั้งใจของสถาปนิกใน<br />

การเล่นกับแสงช่วยสร้าง<br />

ชีวิตชีวา


FACE VALUE<br />

<strong>11</strong>2 <strong>11</strong>3<br />

Concrete walls help to construct and divide varying levels<br />

of privacy between private and shared spaces. Due to the<br />

relatively large size of the house, the apertures are designed<br />

to maximize visual access between the living spaces while<br />

retaining the inhabitants’ privacy.<br />

8<br />

08<br />

ห้องพระกับบรรยากาศ<br />

ให้เกิดความสงบนิ่งด้วย<br />

การเน้นสีผนังดำา<br />

7<br />

07<br />

ฝ้าโค้งที่สถาปนิกทดลอง<br />

ทำาเพื่อให้เกิดความน่า-<br />

สนใจของปรากฎการณ์<br />

ภายในบ้าน<br />

The homeowners, a couple who work in advertising<br />

and have a personal love for Tadao Ando’s architecture,<br />

had their hearts set on exposed concrete<br />

to be the primary element in the architecture of<br />

their private home. The design would also need to<br />

create a living area with all the necessary features<br />

that would correspond to the two owners’ lifestyles<br />

and preferences for privacy and peace. The functional<br />

features would also have to help minimize<br />

the owners’ need to commute through Bangkok’s<br />

insufferable traffic.<br />

Studio Krubka, the project’s architect, challenged<br />

themselves with the given requirements, addressing<br />

the design by reconsidering the sequence of how<br />

the living spaces could be accessed. To create<br />

the utmost level of privacy for the two owners’<br />

personal living spaces, the sequence begins with<br />

the entrance, which meets with the staircase<br />

leading up to the second floor, where the bedroom<br />

is located, without having to pass through any<br />

other parts of the house. The solid concrete walls<br />

clearly define and divide the private and common<br />

spaces. Everything is generated from the design<br />

team’s analysis and observation of the users’<br />

actual behaviors, with the aim for the design to<br />

ultimately deliver the best and most suitable<br />

solutions.


theme / review<br />

FACE VALUE<br />

<strong>11</strong>4 <strong>11</strong>5<br />

09-10<br />

การเปิดช่องรับแสง<br />

ธรรมชาติจากด้านบน<br />

หลังคาช่วยสร้างมิติให้<br />

กับพื้นที่ใช้สอยภายในบ้าน<br />

เปลี่ยนแปลงไปตามช่วง<br />

เวลาของวัน<br />

<strong>11</strong><br />

ผังพื้นของบ้านชั้น 1 และ 2<br />

The design of the spatial program started with the<br />

bedroom—the most private quarter and the heart<br />

of the house. From the living and food preparation<br />

areas to the spacious bedroom, the architect incorporated<br />

the owners’ personal experiences of<br />

having lived in condominium units their entire lives<br />

into every component of the design, which takes<br />

inspiration from the owners’ desire to maintain a<br />

similar living environment and experience.<br />

Concrete walls help to construct and divide varying<br />

levels of privacy between private and shared<br />

spaces. Due to the relatively large size of the<br />

house, the apertures are designed to maximize<br />

visual access between the living spaces while<br />

retaining the inhabitants’ privacy. The circulation<br />

and perspectives were planned with the visual<br />

link between different parts of the house in mind,<br />

establishing specific openings and connections,<br />

such as the way the living area is visually open<br />

to the showroom space where the cars and other<br />

collected items are displayed. Despite its great<br />

size, the house’s living spaces are linked together<br />

thanks to the carefully curated visual connection.<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

1. CAR PARK<br />

2. ENTRANCE HALL<br />

(TERMINAL)<br />

3. THAIKITCHEN<br />

4. RECEPTION ROOM<br />

5. GUEST ROOM<br />

6. HOME THEATRE<br />

7. GYM<br />

8. STREAM ROOM<br />

9. SWIMMING POOL<br />

10. BAR&DINING ROOM<br />

<strong>11</strong>. CAR TURNTABLE<br />

C-X COURTYARD<br />

2ND FLOOR PLAN<br />

9 <strong>11</strong><br />

1. BUDDHA AREA<br />

2. LIBRARY<br />

3. BEDROOM-01<br />

4. PANTRY<br />

5. FAMILY ROOM<br />

6. MASTER BEDROOM<br />

7. GEN. CLOSET<br />

8. LADY CLOSET<br />

9. MASTER BATHROOM<br />

C-X COURTYARD<br />

10


theme / review<br />

<strong>11</strong>6 <strong>11</strong>7<br />

12<br />

ผนังคอนกรีต 7 แผ่น<br />

และการปิดล้อมให้เกิด<br />

5 คอร์ทต่างขนาดกัน<br />

13<br />

การสร้างพื้นที่ระหว่าง<br />

ภายนอกและภายใน<br />

ของบ้าน<br />

7 CONCRETE WALLS VS<br />

5 MAIN COURTYARDS<br />

12<br />

The formation of the architectural elements of<br />

the house led the architect to delve deeper into<br />

the art and science of concrete. The house is the<br />

architect’s first attempt to experiment with how<br />

concrete is used in the construction of an entire<br />

architectural structure. They discovered along the<br />

way that concrete architecture is a type of modular<br />

system. With the 1.2 x 2.4-meter mold as the starting<br />

point, the design was readjusted to work around<br />

the modular system and create a unique pattern<br />

for each concrete slab. The modular system also<br />

gives birth to new design languages, such as the<br />

way switches and power plugs are intended to be<br />

within 90 cm, or arm’s length. Despite the fact that<br />

the house was their first all-concrete architecture<br />

project, Studio Krubka collaborated with MSK<br />

Engineering a contractor with a special expertise<br />

in concrete, and was able to experiment with all<br />

of the challenges that came with their unique<br />

integration of concrete into the house’s architectural<br />

design.<br />

“Working on concrete architecture is like crafting<br />

a sculpture out of your imagination. Depending<br />

on how well you can produce the molding, you<br />

can sculpt it into whatever shape you wish.” The<br />

curved ceiling, which ended up being the project’s<br />

major experimental attempt, was a trial of construction<br />

techniques where the molds were set up<br />

into two axes. The design was modified to make<br />

the weight of the concrete ceiling appear lighter,<br />

relieving the rigidity of the surrounding concrete<br />

features. When natural light interacts with the<br />

concave concrete ceiling, it produces light and<br />

shadow effects that shift throughout the day. The<br />

house’s walls were mostly built using the form-tie<br />

technique, in which concrete was cast in a 2.4-<br />

meter-high wooden mold. The casting process<br />

of the two slabs was done simultaneously, using<br />

a rope to tie the molds together, which ultimately<br />

produced a number of perforations in the walls.<br />

The molding panels left their imprints on the<br />

concrete. The dark plywood used for the molding<br />

provided a smooth surface while also allowing for<br />

fascinating textural nuances and dimension. The<br />

traces left behind from how each molding unit was<br />

irregularly joined together creates an appearance<br />

that gives life to the monolithic walls, keeping them<br />

from being rigid, solid concrete masses.<br />

13


theme / review<br />

FACE VALUE<br />

<strong>11</strong>8 <strong>11</strong>9<br />

“The imperfect surface of the concrete walls interacts<br />

with the light, generating this ever-changing dynamic<br />

as the light shifts angles. The shadow cast by the wall’s<br />

textural characteristics is never the same, and it all<br />

depends on how we select and arrange the wood used<br />

for the formwork.”<br />

14<br />

ในบางพื้นที่ส่วนตัวถูก<br />

ออกแบบด้วย OPEN<br />

PLAN เชื่อมโยงส่วนต่างๆ<br />

15<br />

การเปิดช่องเปิดรับแสง<br />

ธรรมชาติเข้ามาในตัวบ้าน<br />

16<br />

การเชื่อมต่อระหว่าง<br />

2 ปีกของบ้านด้วยพื้นที่<br />

สระว่ายน้ำา<br />

14<br />

16<br />

“I still want to take concrete building farther,<br />

particularly in the realm of texture. We planned<br />

for the house’s surface to be uneven and rough<br />

because we discussed the influence of Tadao<br />

Ando’s architecture on the design with the owners.<br />

The imperfect surface of the concrete walls interacts<br />

with the light, generating this ever-changing<br />

dynamic as the light shifts angles. The shadow<br />

cast by the wall’s textural characteristics is never<br />

the same, and it all depends on how we select and<br />

arrange the wood used for the molds. The effects<br />

it gave were partially what we expected, and there<br />

were other additional impacts in parts we didn’t<br />

even consider, but everything worked together in<br />

unison to make this house interesting.”<br />

tives for architectural construction. They see the<br />

potential of concrete and how it is able to express<br />

its true nature without the need for coating,<br />

skimming, or painting. Apart from that, the team<br />

believes that using concrete in the construction<br />

process produces the least amount of waste<br />

possible and that it will very likely be one of the<br />

primary materials used in architectural construction<br />

in the conceivable future.<br />

fb.com/studiokrubka<br />

ณัฐนิช ชัยดี<br />

จบการศึกษาด้านออกแบบ<br />

ตกแต่งภายใน ปั จจุบัน<br />

เป็ นคอลัมนิสต์อิสระ<br />

ด้านสถาปั ตยกรรม งาน<br />

ออกแบบ และวัฒนธรรม<br />

Nathanich Chaidee<br />

is a graduate of<br />

interior design and<br />

currently working as<br />

a freelance journalist<br />

in architecture, design<br />

and culture.<br />

15<br />

Studio Krubka’s architects 15 are still experimenting<br />

with new techniques and processes, collaborating<br />

with engineers on new construction advancements<br />

ranging from multiple slab casting to fair-faced<br />

concrete to provide more cost-effective alterna-<br />

Project: Baan Akat Yen Location: Bangkok, Thailand Built Area: 1,600 Sq.m.<br />

Architects: Studio Krubka Co.,Ltd. Contractor: MSK Engineering Co.,Ltd


120<br />

theme / review<br />

Above<br />

the<br />

Line<br />

Plan Architect has created a design for the Sindhorn Kempinski<br />

Hotel with concave and curved elements that echo the landscape of<br />

the expansive garden that serves as the project’s green space.<br />

Text: Kullaphut Seneevong Na Ayudhaya<br />

Photo Courtesy of Plan Architect, Ketsiree Wongwan and Srirath Somsawat except as noted<br />

1<br />

2<br />

01<br />

ทางเข้าล้อบบี้ของโรงแรม<br />

คือแนวผนังกระจกโค้งรับ<br />

กับซุ้มโค้งคอนกรีตขนาด<br />

ใหญ่<br />

02<br />

ทัศนียภาพจากมุมสูง<br />

แสดงให้เห็นความเชื่อมต่อ<br />

ระหว่างสวนของโครงการ<br />

กับตัวสถาปัตยกรรมตาม<br />

แนวความคิด ‘Living in<br />

the Park’


theme / review<br />

ABOVE THE LINE<br />

122 123<br />

ท่ามกลางตึกสูงระฟ้าที่แข่งกันตั้งตระหง่าน<br />

บริเวณพื้นที่ถนนหลังสวน ย่านพาณิชยกรรม<br />

สำาคัญที่ตั้งอยู่ด้านหลังสวนลุมพินี อันเป็นที่มา<br />

ของชื่อถนนในอดีต ทว่าในปัจจุบันกลับเป็น<br />

หนึ่งในพื้นที่ที่มีมูลค่าสูงที่สุดของประเทศไทย<br />

เป็นที่ตั้งของโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์<br />

Sindhorn Kempinski Hotel Bangkok ที่ถูก<br />

ออกแบบโดยทีมสถาปนิกจาก Plan Architect<br />

ด้วยรูปทรงของสถาปัตยกรรมที่มีลักษณะ<br />

โค้งเว้า หยอกเย้าไปกับภูมิทัศน์ในสวน ซึ่ง<br />

เป็นพื้นที่สีเขียวของโครงการ ด้วยเส้นโค้ง<br />

คล้ายเกลียวคลื่นที่ตัดกับรูปทรงสี่เหลี่ยมของ<br />

ป่าคอนกรีตของตึกสูงรอบข้างอำานวยให้สถา-<br />

ปัตยกรรมมีความโดดเด่นเป็นเอกลักษณ์<br />

ชวนให้รำาลึกถึงถ้อยแถลงของ ฟิลิป จอห์นสัน<br />

สถาปนิกผู้ทรงอิทธิพลชาวอเมริกันที่กล่าวไว้ว่า<br />

“เราสามารถออกแบบและขึ้นรูปทรงอย่างไร<br />

ก็ได้ภายใต้โครงสร้างคอนกรีต ทำาไมเราถึง<br />

ต้องออกแบบสถาปัตยกรรมด้วยเส้นตรงทั้งๆ<br />

ที่ภายใต้เรือนร่างของมนุษย์นั้นไม่มีเส้นตรง<br />

คุณมักจะประหลาดใจอยู่เสมอเมื่อก้าวเข้าไป<br />

ในห้องที่ปราศจากเส้นตรง มันช่างน่าอัศจรรย์<br />

ใจที่คุณจะสัมผัสได้ว่าผนังโค้งเว้านั้นกำาลัง<br />

กำาลังสนทนากับคุณอยู่”<br />

ด้วยลักษณะของที่ตั้งโครงการที่วางตัวอยู่<br />

ระหว่างถนนหลังสวนกับซอยต้นสนส่งผลต่อ<br />

ข้อจำากัดในเรื่องของความสูงอาคาร ประกอบ<br />

เข้ากับในช่วงแรกทิศทางการออกแบบของ<br />

โครงการถูกกำาหนดให้เป็นโครงการที่พักอาศัย<br />

ที่หรูหรา (Luxury residence) มีกลุ่มเป้าหมาย<br />

เป็นผู้สูงอายุที่เคยถือครองที่ดินในบริเวณพื้นที่<br />

ย่านนี้และมีกำาลังซื้อ ส่งผลให้แนวทางการ<br />

พัฒนาสถาปัตยกรรมให้ความสำาคัญกับพื้นที่<br />

สวนขนาดใหญ่ และตัวอาคารมีลักษณะเป็น<br />

อาคารที่มีความสูงไม่มากนัก เพราะความสูง<br />

สัมพันธ์ต่อพฤติกรรมของผู้ใช้สอยสถาปัตย-<br />

กรรมผนวกเข้ากับความต้องการใกล้ชิดกับ<br />

ธรรมชาติของผู้บริโภค จึงสอดคล้องต้องกัน<br />

กับข้อกำาหนดความสูงทางกฎหมาย ก่อนที่<br />

ในเวลาต่อมาโครงการที่พักอาศัยดังกล่าวจะ<br />

เปลี่ยนโจทย์มาเป็นโครงการโรงแรมอย่างที่<br />

เห็นในปัจจุบัน อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะมีการ<br />

เปลี่ยนรูปแบบของโครงการมาเป็นโรงแรม<br />

แล้ว แต่ยังคงหัวใจของการสร้างพื้นที่กึ่ง<br />

ภายนอก (Semi-Outdoor) เอาไว้ดังเดิม ส่ง<br />

ผลให้เกิดภาพลักษณ์ของการเป็นโรงแรมใน<br />

สวนกึ่งเปิดโล่ง ‘Open Air City Hotel’ ที่เป็น<br />

เอกลักษณ์เฉพาะตัว ภายใต้บริบทของพื้นที่<br />

ที่มีความหนาแน่นของย่านพาณิชยกรรมสูง<br />

“ด้วยความที่เราได้เคยพัฒนาโครงการนำาร่อง<br />

อย่าง Sindhorn Residence ทำาให้เราเข้าใจ<br />

ลักษณะเฉพาะตัวของย่านและกลุ่มลูกค้า ซึ่ง<br />

มักเป็นกลุ่มผู้สูงอายุที่มีกำาลังซื้อสูง และกลุ่ม<br />

ชาวต่างชาติ ส่งผลให้ตัวโครงการ Sindhorn<br />

Kempinski Hotel Bangkok ถูกออกแบบมา<br />

ให้มีลักษณะพิเศษ ที่สร้างให้เกิดคุณลักษณะ<br />

การอยู่อาศัยร่วมกับสวน หรือ ‘Living in the<br />

Park’ ที่พัฒนามาเป็นหัวใจหลักของโครงการ”<br />

คุณวรา จิตรประทักษ์ สถาปนิกจาก Plan<br />

Architect กล่าวถึงที่มาของแนวทางการพัฒนา<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรม ดังนั้นทีมออกแบบจึง<br />

นำาเส้นสายโค้งเว้าที่มีความสัมพันธ์กับต้นไม้<br />

ภายในสวนด้านนอกมาใช้กับส่วนที่สำาคัญที่สุด<br />

ของตัวอาคารคือ ‘Gateway Arch’ หรือซุ้มโค้ง<br />

ขนาดใหญ่ซึ่งเป็นโครงสร้างแบบ Shell structure<br />

บริเวณโถงทางเข้า ที่ทำาหน้าที่เชื่อมพื้นที่<br />

ชั้นล่างเข้ากับพื้นที่สวน ซุ้มโค้งดังกล่าวเกิดขึ้น<br />

จากการหล่อโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

ขนาดใหญ่ด้วยคานคอนกรีตขนาดหน้าตัด<br />

2x2 เมตร เป็นตัวรับแรงถีบตัวของซุ้มโค้งเอา<br />

ไว้เป็นโครงสร้างหลัก เปรียบได้กับกระดูกที่<br />

หิ้วน้ำาหนักของซุ้มโค้งทั้งหมด พร้อมด้วยการ<br />

เสริมเหล็กจำานวนมากที่ช่วยให้คอนกรีตรับ<br />

แรงถีบตัวได้อย่างเหมาะสม ส่งผลให้เกิดพื้นที่<br />

ว่างใต้ซุ้มโค้งที่มีความกว้างถึง 60 เมตร ตัว<br />

พื้นผิวเป็นคอนกรีตเปลือยทั้งหมด เพื่อดำารง<br />

สุนทรียศาสตร์ของการเคารพในสัจจะของวัสดุ<br />

อย่างไรก็ตามด้วยข้อจำากัดของรูปทรงซุ้มโค้ง<br />

ส่งผลต่อการทำาปฏิกิริยาของคอนกรีต เนื่อง-<br />

จากในระหว่างที่คอนกรีตกำาลังแข็งตัวจะเกิด<br />

ปฏิกิริยาที่ทำาให้เกิดฟองอากาศคายตัวขึ้น<br />

บริเวณพื้นผิวด้านบน เป็นความท้าทายหนึ่ง<br />

ที่เกิดขึ้นเฉพาะกับการหล่อคอนกรีตโค้งคว่ำา<br />

ทีมผู้เชี่ยวชาญด้านการก่อสร้างจำาเป็นต้อง<br />

ผสมคอนกรีตสูตรพิเศษ ที่มีลักษณะเฉพาะตัว<br />

สำาหรับโครงการ จึงทำาให้คอนกรีตเปลือยของ<br />

โครงการมีสีที่เข้มกว่าปกติ โดยในแนวความ<br />

คิดแรกของการออกแบบส่วนพื้นที่ซุ้มโค้งนี้ถูก<br />

ออกแบบให้เป็นพื้นที่เปิดโล่ง แต่เมื่อโครงการ<br />

ถูกปรับไปเป็นโรงแรมทำาให้จำาเป็นต้องปิด<br />

กระจกเพื่อให้พื้นที่ดังกล่าวถูกใช้เป็นส่วนของ<br />

โถงต้อนรับอาคารที่จำาเป็นต้องมีการควบคุม<br />

สภาพอากาศภายใน<br />

ถัดขึ้นไปจากพื้นที่ซุ้มโค้งขนาดใหญ่ของชั้นล่าง<br />

คือส่วนของช่อง Atrium ขนาดใหญ่ที่เชื่อม<br />

พื้นที่ภายในของอาคารเข้าด้วยกันทั้งหมด<br />

ช่องแสงด้านบนได้รับการออกแบบให้เป็นกริล<br />

(Grille) ที่สามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบเพื่อ<br />

เปิดรับลมและแสงธรรมชาติเข้ามาสู่พื้นที่<br />

ภายในได้ และเป็นการสร้างระบบระบายความ<br />

ร้อนแบบ Stack Ventilation โถงขนาดใหญ่<br />

ดังกล่าวเป็นอีกหัวใจที่สำาคัญของตัวอาคารที่<br />

สร้างให้เกิดสภาวะกึ่งภายนอกขึ้นมาภายใน<br />

พื้นที่ทางเดินเข้าสู่ห้องพักตามแนวความคิด<br />

ของการออกแบบ เช่นเดียวกับการออกแบบ<br />

ครีบอาคารทั้งหมดที่โค้งเว้าสัมพันธ์คล้าย<br />

คลื่นในบริเวณระเบียงภายนอก ที่โครงการ<br />

สามารถใช้ประโยชน์จากความแตกต่างของ<br />

ส่วนโค้งเว้าเพื่อสร้างแสงและเงาที่แตกต่างกัน<br />

ออกไปในแต่ละยูนิต<br />

ด้วยเป้าประสงค์ที่โครงการมุ่งหวังให้เป็น<br />

สถาปัตยกรรมยั่งยืน (Sustainable achitecture)<br />

ที่ต้องการให้โครงการสามารถดำารงอยู่<br />

ได้อย่างน้อย 100 ปี ส่งผลให้ผู้ออกแบบได้ให้<br />

ความสำาคัญกับการรองรับความเปลี่ยนแปลง<br />

ของการใช้งานที่หลากหลายของแต่ละยูนิต<br />

การออกแบบระเบียงขนาดใหญ่ซึ่งมีความ<br />

แตกต่างไปจากลักษณะของ City hotel ทั่วไป<br />

ที่มักจะไม่ออกแบบระเบียง การออกแบบ<br />

ขนาดของช่องงานระบบ (Shaft) ที่มีขนาด<br />

ใหญ่เป็นพิเศษกว่าปกติ เพื่อรองรับการปรับ<br />

เปลี่ยนอาคารที่อาจถูกใช้เป็นอพาร์ทเม้นต์<br />

ในอนาคต โครงสร้างทั่วไปของโครงการนอก<br />

เหนือจากส่วนซุ้มโค้งด้านล่างใช้การก่อสร้าง<br />

พรีคาสท์คอนกรีต (Precast concrete) แบบ<br />

นั่งบนพื้นโครงสร้าง ไม่ใช่รูปแบบแปะหน้าพื ้น<br />

โครงสร้างที่ทำาโดยทั่วไป เนื่องจากผู้ควบคุมงาน<br />

ก่อสร้างคำานึงถึงความผิดพลาดต่อโครงสร้าง<br />

ที่อาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต<br />

หากเราถอยออกมาพิจารณาตัวสถาปัตยกรรม<br />

ที่บริเวณพื้นที่สวนภายนอกจะพบว่าทีมผู้ออก-<br />

แบบได้สร้างรูปทรงโค้งขึ้นอีกสองส่วนคือส่วน<br />

กลางของอาคารที่เป็นสระว่ายน้ำากับส่วนบน<br />

ของอาคารที่ออกแบบให้เกิดเส้นอาคารโค้ง<br />

เว้ากลับด้านล้อกันกับซุ้มโค้งด้านล่าง โดยใน<br />

ส่วนของสระว่ายน้ำา ได้มีการออกแบบคาน<br />

ถ่ายน้ำาหนักเฉพาะ (Transfer beam) เพื่อลด<br />

จำานวนของเสาลง ทำาให้เกิดสระว่ายน้ำาแบบ<br />

‘Infinity pool’ ที่เปิดรับทัศนียภาพเข้ามาได้<br />

อย่างเต็มที่ เชื่อมโยงทิวทัศน์ของพื้นที่สวนใน<br />

โครงการ รวมถึงพื้นที่สวนลุมพินี สนามม้า<br />

ราชกรีฑาสโมสรได้เป็นอย่างดี พื้นผิวของ<br />

พื้นที่ส่วนสระว่ายน้ำากรุด้วยแผ่น Perforated<br />

stainless steel sheet โดยรอบของสระทรงรี<br />

ที่ทำาให้เกิดการสะท้อนทัศนียภาพโดยรอบ<br />

ส่วนพื้นที่ด้านล่างของสระว่ายน้ำาเป็นส่วนของ<br />

งานระบบ (Duct floor) ของโครงการที่ซ่อน<br />

เอาไว้อย่างแนบเนียน<br />

โครงการ Sindhorn Kempinski Hotel Bangkok<br />

เป็นหนึ่งในกรณีศึกษาทางสถาปัตยกรรม ที่<br />

03<br />

มุมมองจากสวน เป็นพื้นที่<br />

เปิดโล่งที่ช่วยส่งเสริม<br />

ให้เห็นลักษณะโค้งเว้า<br />

ราวเกลียวคลื่นอันเป็น<br />

เอกลักษณ์ที่โดดเด่นของ<br />

สถาปัตยกรรม<br />

แสดงออกถึงการผสานการออกแบบโครงสร้าง<br />

คอนกรีตเสริมเหล็กรูปทรงโค้งขนาดใหญ่<br />

เข้ากับโครงสร้าง precast เพื่อเชื่อมพื้นที่ว่าง<br />

ที่ดำารงอยู่ระหว่างอัตถประโยชน์ใช้สอยภายใน<br />

เข้ากับพื้นที่สีเขียวภายนอก ภายใต้บริบทของ<br />

การเป็นโรงแรมกลางใจเมือง ในช่วงเวลาที่<br />

สังคมกำาลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ และความ<br />

ต้องการพื้นที่สีเขียวเป็นหัวใจของการอยู่อาศัย<br />

ในศตวรรษที่ 21<br />

3


theme / review<br />

ABOVE THE LINE<br />

124 125<br />

WEST ELEVATION<br />

NORTH ELEVATION<br />

5<br />

EAST ELEVATION<br />

SOUTH ELEVATION<br />

4<br />

The Gateway Arch is the project’s most important component,<br />

for its visual and contextual association with trees<br />

growing in the garden outside. The arch’s shell structure is<br />

revealed at the hotel’s entrance hall, connecting the ground<br />

floor to the garden.<br />

04<br />

รูปด้านของโครงการ<br />

Sindhorn Kempinski Hotel Bangkok sits amidst<br />

the skyscrapers blossoming and towering over<br />

Langsuan Road, situated on one of Bangkok’s<br />

most prominent commercial districts. It is right<br />

behind Lumphini Park (the location alludes to the<br />

origin of the name Lang Suan, or ‘behind the park’<br />

in Thai), and has become one of the country’s most<br />

expensive neighborhoods in terms of land prices.<br />

Plan Architect creates the real estate development<br />

project with concave and curved elements<br />

that echo the landscape of the expansive garden<br />

that serves as the project’s green space. The<br />

wave-like lines and undulating form juxtapose<br />

with the boxy shapes of buildings that make<br />

up Bangkok’s concrete jungle, resulting in the<br />

design of the Sindhorn Kempinski Hotel Bangkok<br />

to stand out from its surroundings even more.<br />

The architecture of the Sindhorn Kempinski Hotel<br />

Bangkok reminds me of what prolific American<br />

architect, Phillip Johnson once said:<br />

“Concrete you can mold, you can press it into<br />

- after all, you haven’t any straight lines in your<br />

body. Why should we have straight lines in our<br />

architecture? You’d be surprised when you go into<br />

a room that has no straight line—how marvelous<br />

it is that you can feel the walls talking back to you,<br />

as it were.”<br />

05<br />

ทัศนียภาพด้านหน้า<br />

ของโครงการจากมุมมอง<br />

ของสวน แสดงให้เห็นการ<br />

ใช้เส้นโค้งในทุกส่วนของ<br />

ตัวอาคาร<br />

06<br />

โค้งเว้าด้านบนสุดของ<br />

ตัวอาคาร และพื้นที่สวน<br />

ด้านบนที่มีส่วนหลังคา<br />

สำาหรับเปิดรับช่องแสง<br />

ธรรมชาติ<br />

6


ABOVE THE LINE<br />

127<br />

8<br />

7<br />

07<br />

ซุ้มโค้งขนาดใหญ่หรือ<br />

‘Gateway Arch’ ถูกสร้าง<br />

ด้วยโครงสร้างแบบ Shell<br />

structure เพื่อโอบรับ<br />

ความเชื่อมต่อเชิงพื้นที่<br />

ระหว่างพื้นที่สวนภายนอก<br />

กับพื้นที่ภายในของอาคาร<br />

08<br />

Diagram ลำาดับขั้นการ<br />

คลี่คลายรูปทรงผ่าน<br />

การออกแบบเพื่อสร้าง<br />

ความสัมพันธ์ระหว่าง<br />

สถาปัตยกรรมกับพื้นที่<br />

สีเขียว<br />

The project’s location between Lang Suan Road<br />

and Soi Tonson Street comes with certain restrictions.<br />

The initial design trajectory was derived<br />

from the project’s position as a luxury residence,<br />

with the targeted clientele being elderly individuals<br />

who are previous landowners in the area with high<br />

purchasing power. This was reconciled into an<br />

architectural program that highlighted an expansive<br />

garden and a low-rise building due to the consideration<br />

of the main targeted users’ behaviors as<br />

well as their preference for a living environment<br />

that allows them to be closer to nature. It also<br />

resulted in an initial design that was within the<br />

legally permitted height.<br />

However, that was before the decision was reached<br />

that the new development would change from a<br />

luxury residence to the Sindhorn Kempinski Hotel<br />

Bangkok that we see today. Despite the transition<br />

from a residential project to a hotel, the semi-outdoor<br />

space remained the focus of the design. It led<br />

to the development of the project’s unique image<br />

as an ‘open air city hotel,’ which arose from the<br />

site’s highly commercial context.<br />

“Since we worked on Sindhorn Residence as a sort<br />

of pilot project, we had great insights into the<br />

distinctive character and demand of the neighborhood<br />

and the prospective clientele, who are largely<br />

wealthy senior residents with significant buying<br />

power as well as expatriates. This ended up shaping<br />

the architecture of the Sindhorn Kempinski Hotel<br />

Bangkok’s unique character and the ‘living in the<br />

park’ lifestyle that later evolved into the project’s<br />

ethos,” Wara Jithpratugs, the head architect of<br />

Plan Architect, detailed the origins of the project’s<br />

architectural design. The curved lines were used<br />

in the design to create the ‘Gateway Arch,’ the<br />

project’s most important component, for its visual<br />

and contextual association with trees growing in<br />

the garden outside. The arch’s shell structure is<br />

revealed at the hotel’s entrance hall, connecting<br />

the ground floor to the garden. The arch was<br />

erected utilizing the concrete casting technique,<br />

which resulted in a gigantic reinforced concrete<br />

structure. The 2-by-2-meter concrete beam works<br />

as the major structural member, dissipating force<br />

outward and lowering tension effects, like the<br />

bone that supports the entire structure’s weight.<br />

A significant number of steel members were used<br />

to improve the concrete’s ability to withstand tension.<br />

As a result, it generates the space beneath<br />

the arch, which spans up to 60 meters wide. To<br />

embrace the concrete’s truth to material aesthetic,<br />

the entire surface of the gateway arch is left exposed.<br />

Unfortunately, the physical constraints of<br />

the arch’s physical form forced the concrete to<br />

create bubbles during the solidification process.<br />

The bubbles that appeared on the top of the<br />

structure were one of the difficulties that arch<br />

concrete structures frequently face. To resolve the<br />

issue, the professional construction team had<br />

to create a custom concrete formula specifically<br />

for this project, which culminated in the exposed<br />

concrete surface having a darker tone than usual.<br />

The original design plan intended for the space<br />

underneath the arch to be left open. However, the<br />

mirror was brought in to partition the area into<br />

the hotel’s reception lobby for proper internal<br />

temperature management when the project was<br />

switched from a private residence to a hotel.


49<br />

09 04<br />

ทัศนียภาพจากพื้นที่<br />

การออกแบบพื้นที่เชื่อมต่อ<br />

ภายในล้อบบี้โรงแรม<br />

โดยใช้สวนปิดล้อมเข้ามา<br />

มองออกไปยังพื้นที่สวน<br />

เป็นส่วนหนึ่งของพื้นที่<br />

พื้นที่ว่างของซุ้มโค้งมี<br />

ภายในอาคาร สร้างความ<br />

ขนาดความกว้าง เชื่อมโยงธรรมชาติเข้าสู่ 60 เมตร<br />

สูงราว พื้นที่อยู่อาศัย 23 เมตร


theme / review<br />

ABOVE THE LINE<br />

130 131<br />

10<br />

ผังพื้นชั้นที่ 1 ของโครงการ<br />

The grandiose arch on the bottom floor leads up<br />

to the vast atrium that unites all of the building’s<br />

interior spaces. The skylight is built as a grille that<br />

can be opened to let natural wind and light into<br />

the internal environment while also permitting stack<br />

ventilation that helps ventilate heat. Following the<br />

architectural concept, the large atrium exists as<br />

another significant aspect of the structure while<br />

contributing to the semi-outdoor environment of<br />

the hallway leading to the rooms. Similarly, the<br />

curving fins of the terraces appear as a collective<br />

element, adding a wave-like feature to the building’s<br />

exterior. The rooms inside the hotel take advantage<br />

of the different angles and curves as well as<br />

the varying effects of natural light and shadow<br />

that they create for each unit. With the goal of<br />

creating a sustainable architecture that would<br />

be a part of the city for at least another hundred<br />

years, the architects paid special attention to the<br />

building’s ability to adapt to changes, particularly<br />

the different purposes of the rooms. The huge<br />

terraces on the hotel rooms set the project apart<br />

from typical city hotels, where such a feature is<br />

normally absent. The shaft is also purposefully<br />

constructed to be larger than normal in order to<br />

support the operations of an apartment complex if<br />

the building should face any future changes. Apart<br />

from the gateway arch on the ground floor, the<br />

general structural attributes favor the use of the<br />

slab-on-ground precast concrete technique rather<br />

than the commonly used precast wall system due<br />

to the prevention of any structural issues that may<br />

occur in the future.<br />

<strong>11</strong><br />

10<br />

<strong>11</strong><br />

เอกลักษณ์ที่สำาคัญของ<br />

ส่วนโครงสร้างซุ้มโค้ง คือ<br />

การออกแบบให้เกิดช่อง<br />

แสงจากด้านบน เชื่อมโยง<br />

มิติของช่องแสงระหว่าง<br />

พื้นที่ด้านล่างกับแสงจาก<br />

ส่วนโถง Atrium ด้านบน<br />

12<br />

ส่วนพื้นโถงกลางชั้นบน<br />

ของโรงแรมถูกออกแบบ<br />

ให้เป็นพื้นที่ Atrium เชื่อม<br />

พื้นที่ภายในเข้ากับพื้นที่<br />

ด้านบน สำาหรับเปิดรับแสง<br />

และระบายอากาศผ่านกริล<br />

ที่สามารถปรับได้<br />

1ST FLOOR PLAN<br />

5 M<br />

1. MAIN LOBBY<br />

2. LIFT HALL<br />

3. BACK OF HOUSE<br />

4. ALL-DAY DINING<br />

5. LOUNGE<br />

6. RECEPTION<br />

7. DROP-OFF<br />

8. OFFICE<br />

9. GARDEN<br />

12


132<br />

theme / review<br />

The bubbles that appeared on the top of the structure<br />

were one of the difficulties that arch concrete<br />

structures frequently face. The construction team<br />

therefore had to create a custom concrete formula<br />

specifically for this project, which culminated in<br />

the exposed concrete surface having a darker tone<br />

than usual.<br />

กุลพัชร์ เสนีวงศ์<br />

ณ อยุธยา<br />

ปั จจุบันเป็ นนักวิจัยที่<br />

บริษัท NPPN Company<br />

และนักศึกษาปริญญา<br />

เอกสาขาสถาปั ตยกรรม<br />

พื้นถิ ่น คณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร สนใจศึกษามรดก<br />

ทางวัฒนธรรมและขณะนี้<br />

กำาลังทำาวิจัยเกี่ยวกับ<br />

สภาพแวดล้อมสรรค์สร้าง<br />

ในพื้นที่ภูมิทัศน์วัฒนธรรม<br />

มลายู<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

is a researcher at NPPN<br />

Company and a Ph.D.<br />

candidate at Silpakorn<br />

University’s faculty of<br />

architecture’s vernacular<br />

architecture<br />

program. He has a<br />

passion for cultural<br />

heritage and is currently<br />

conducting research<br />

about the built environment<br />

of the Malay<br />

cultural landscape.<br />

If one were to stand in the garden and inspect<br />

the architecture from the outside, they would see<br />

the design team’s attempt to create two more<br />

arched features, one in the center where the pool<br />

is positioned and one on the upper section of<br />

the building. These two reversed arches appear<br />

to interact with the gateway arch below. The<br />

swimming pool arch is specifically constructed<br />

with transfer beams to reduce the number of<br />

columns, giving birth to an infinite pool that is fully<br />

open to the outside view, connecting the project’s<br />

garden to the greenery of Lumphini Garden and<br />

the Royal Bangkok Sports Club. The perforated<br />

stainless-steel sheets wrap the outer surface<br />

of the structure holding the pool, creating an<br />

oval shape that reflects the surroundings while<br />

elegantly concealing the duct floor housing the<br />

pool’s system operations.<br />

Sindhorn Kempinski Hotel Bangkok is one of the<br />

architectural case studies that demonstrates the<br />

integration of reinforced concrete to create arched<br />

structural members for the precast structure. It<br />

is an outstanding result of an attempt to connect<br />

the space existing between interior functional<br />

spaces and outdoor green space, all within the<br />

project context of a city hotel, at a time when<br />

society has entered an ageing society and the<br />

demand for green space becomes a necessity of<br />

21st century living.<br />

planarchitect.com<br />

Project: Sindhorn Kempinski Hotel Bangkok Client: Siam Sindhorn Co., Ltd. Location: 80 Soi Ton Son, Lumphini, Pathum Wan,<br />

Bangkok 10330 Architect: Plan Architect Co., Ltd. Project Team: Sinn Phonghanyudh, Somsak Chanokprasit, Wara Jithpratugs,<br />

Paveen Rojchanavisart, Ponlawat Trakulwattanakit, Sitthinon Chanchaiworawit Interior Designer: P49 Design & Associates Co.,Ltd.<br />

Landscape Designer: Plandscape Co., Ltd. Structural Engineer: Psaa Consulting Engineers Co., Ltd. Mechanical Engineer: Mitr<br />

Technical Consultant Co., Ltd. Contractor: Thai Obayashi Building Area: 75,000 sqm. Completion: 2020 Construction: Thai Obayashi<br />

13<br />

13<br />

การออกแบบพื้นที่ของ<br />

ส่วนภูมิสถาปัตยกรรม<br />

เกื้อหนุนให้สถาปัตยกรรม<br />

สัมพันธ์ระหว่างสวนกับ<br />

พื้นที่เปิดโล่งของอาคาร<br />

ตามแนวความคิด ‘Living<br />

in the Park’ ของโครงการ


134<br />

Revisit<br />

The Bangkok School<br />

for the Blind<br />

by Dr. Sumet Jumsai<br />

na Ayutthaya<br />

Text: Assistant Professor Pinai Sirikiatikul, PhD.<br />

“...It is a fascinating building,<br />

partially out of control, as<br />

though the architect started<br />

to formulate a grammar<br />

which then proceeded to<br />

make its own rules. […].<br />

“The school is essentially<br />

a two-floor box on pilotis,<br />

perforated with openings,<br />

exposed to the skeleton<br />

within or arrayed behind<br />

the brises-soleil, and<br />

arranged in shapes and<br />

angles to catch the wind.<br />

“เป็นอาคารที่น่าสนใจ บางส่วนอยู่นอกเหนือการควบคุม<br />

ราวกับว่าสถาปนิกเริ่มกำาหนดไวยากรณ์ที่สร้างกฎเกณฑ์<br />

ของตนเองขึ้นมา […]<br />

“โดยพื้นฐานแล้วโรงเรียนหลังนี้มีลักษณะเป็นกล่องสองชั้นที่<br />

ตั้งอยู่บนเสาลอย เจาะช่องเปิด เผยให้เห็นโครงสร้างภายใน<br />

ด้านหลังแผงกันแดด (bris-soleil) และจัดเรียงรูปทรงและ<br />

การเอียงองศาอาคารเพื่อเปิดรับลม<br />

“นี่เป็นหนึ่งในอาคารระบบต้นทุนต่ำา โครงสร้างทั้งหมด -<br />

คานหลัก คานซอย แผ่นพื้น และเสา - ถูกขนส่งเป็นชิ้นๆ<br />

และประกอบกันที่ไซต์”<br />

ชาร์ลส์ คอร์เรีย<br />

โรงเรียนสอนคนตาบอด ออกแบบโดย ดร. สุเมธ ชุมสาย<br />

ณ อยุธยา ใน พ.ศ. 2514 ถือเป็นหนึ่งในสถาปัตยกรรมใน<br />

ช่วงเริ่มต้นอาชีพสถาปนิก การออกแบบริเริ่มด้วยการใช้<br />

ระบบโครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูปในประเทศไทย แม้ก่อน<br />

หน้านั้นจะเคยมีผู้ออกแบบอาคารสร้างด้วยระบบคอนกรีต<br />

สำาเร็จรูปมาก่อน แต่มีอาคารน้อยหลังนักที่จะได้รับความ<br />

สนใจในระดับสากลอย่างสถาปัตยกรรมของโรงเรียนสอน<br />

คนตาบอด ดังที่พบว่าเพียงไม่กี่ปีภายหลังที่อาคารหลังนี้<br />

สร้างเสร็จ ชาร์ลส์ คอร์เรีย (Charles Correa) สถาปนิก<br />

สมัยใหม่ชาวอินเดีย ก็ได้เขียนถึงอาคารหลังนี้ดังข้อความ<br />

เริ่มต้นของบทความ<br />

THE BANGKOK SCHOOL FOR THE BLIND<br />

Dr. Sumet Jumsai na Ayutthaya designed the<br />

Bangkok School for the Blind in 1971. The building,<br />

which was one of the works he created in the early<br />

days of his career as an architect, pioneered the<br />

use of prefabricated concrete structures in Thailand.<br />

Although Thailand saw the use of this type<br />

of structure prior to this project, few buildings<br />

received the level of attention that the Bangkok<br />

School for the Blind did. To back up this statement,<br />

Charles Correa, an Indian modernist architect,<br />

wrote about the design of the building only a few<br />

years after its completion, as quoted in the introduction<br />

to this article.<br />

135<br />

01<br />

ดร. สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา<br />

อายุ 84 ปี ถ่ายที่คอนโด<br />

เครดิตภาพ:<br />

โดยผู้เขียน<br />

02<br />

อาคารโรงเรียนสอนคน<br />

บอด ภาพถ่ายราว 2516<br />

เครดิตภาพ:<br />

Sumet Jumsai<br />

“This is one of the cut-cost<br />

system buildings. The whole<br />

structural frame - girders,<br />

beams, floor units and<br />

columns - was transported<br />

in pieces and assembled on<br />

the site”.<br />

1<br />

เครดิตภาพ: ผศ. พินัย สิริเกียรติกุล<br />

Charles Correa,<br />

Architecture Plus (November 1973),<br />

in Taylor (1996, <strong>11</strong>0)<br />

Photo Reference<br />

2. mplus.org.hk/en/collection/makers/sumet-jumsai<br />

2


136<br />

Revisit<br />

THE BANGKOK SCHOOL FOR THE BLIND<br />

137<br />

ที่ผ่านมาอาคารโรงเรียนสอนคนตาบอดมักถูกพิจารณา<br />

ความสำาคัญทางประวัติศาสตร์ในฐานะสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ใหม่ที่ประยุกต์ใช้ระบบการก่อสร้าง ‘ต้นทุนต่ำา’ ที่กำาลังเป็น<br />

ที่นิยมในต่างประเทศ ราวกับว่าระบบโครงสร้างคอนกรีต<br />

สำาเร็จรูปของโรงเรียนสอนคนตาบอดเกิดขึ้นจากการหยิบ<br />

ยืมระบบการก่อสร้างสากลมาอย่างตรงไปตรงมา<br />

อย่างไรก็ตามระบบคอนกรีตสำาเร็จรูปที่เกิดขึ้นในประเทศ<br />

หนึ่งๆ หาได้จำาเป็นต้องเหมือนกับประเทศต้นกำาเนิดไม่<br />

โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศพัฒนากับประเทศกำาลังพัฒนา<br />

ที่ระบบคอนกรีตสำาเร็จรูปมีศักยภาพและข้อจำากัดทางการ<br />

ก่อสร้างต่างกัน กล่าวคือแม้รูปแบบของระบบโครงสร้าง<br />

คอนกรีตสำาเร็จรูป ชิ้นส่วนองค์ประกอบ และรายละเอียด<br />

การติดตั้ง ที่ดูแล้วคล้ายคลึงกัน หรือในบางกรณีอาจ<br />

เหมือนกันจนแทบแยกความแตกต่างไม่ออก แต่เงื่อนไข<br />

ทางการผลิตซึ่งเป็นผลมาจากสภาพทางเศรษฐกิจและ<br />

แรงงาน และความสำาคัญที่ระบบนี้มีต่อผู้สร้างสรรค์อย่าง<br />

สถาปนิก ก็ล้วนเป็นเหตุปัจจัยสำาคัญที่ทำาให้คอนกรีตใน<br />

แต่ละแห่งนั้นมีความเฉพาะของตัวเอง<br />

การหวนกลับมาพูดถึงอาคารโครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูป<br />

ที่โรงเรียนสอนคนตาบอดในครั้งนี้ จึงไม่ใช่การค้นหา<br />

ต้นแบบของอาคารชนิดเดียวกันเพื่อความเข้าใจในเชิงราก-<br />

เหง้าอิทธิพลทางการออกแบบ แต่มุ่งพิจารณาคอนกรีต<br />

สำาเร็จรูปในฐานะกระบวนการที่สัมพันธ์กับปัจจัยด้าน<br />

เศรษฐกิจแรงงาน และการสร้างตัวตนของสถาปนิก ซึ่ง<br />

มีความสำาคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าอิทธิพลทางความคิดหรือ<br />

รูปแบบทางสถาปัตยกรรมแต่อย่างใด<br />

คอนกรีต ไม่ใช่วัสดุ แต่คือกระบวนการ<br />

ความเข้าใจว่าคอนกรีตสำาเร็จรูปที่สร้างขึ้นในประเทศนอก<br />

ยุโรปมีความเหมือนหรือคล้ายกับระบบสำาเร็จรูปต้นแบบ<br />

จากประเทศในแถบยุโรปนั้น ส่วนหนึ่งมีสาเหตุมาจากการ<br />

ทึกทักเอาว่าคอนกรีตคือ วัสดุ ในลักษณะที่ไม่ต่างจากไม้<br />

และหิน ซึ่งแท้จริงหาได้เป็นเช่นนั้นไม่<br />

คอนกรีตนั้นเกิดจากกระบวนการสังเคราะห์ ไม่ใช่เกิด<br />

ขึ้นจากกระบวนการทางธรรมชาติ แม้วัสดุอย่างซีเมนต์<br />

ทราย กรวด และน้ำา จะเป็นส่วนประกอบของคอนกรีต แต่<br />

ลำาพังวัสดุเหล่านี้ไม่อาจสร้างคอนกรีตขึ้นมาเองได้ ยังต้อง<br />

อาศัยส่วนประกอบที่สำาคัญยิ่งอีกประการหนึ่ง อันได้แก่<br />

แรงงาน (ทั้งแรงงานทางปัญญาและแรงงานมือ) คอนกรีต<br />

จึงจะสามารถถือกำาเนิดขึ้น เพราะฉะนั้นแทนที่จะคิดว่า<br />

คอนกรีตคือวัสดุ จะเข้าท่ากว่าถ้ามองคอนกรีตในฐานะ<br />

‘กระบวนการ’ (process) ซึ่งมีแรงงานเป็นส่วนหนึ่งของ<br />

การผลิต<br />

Historically, the Bangkok School for the Blinds<br />

building was viewed as a modernist architecture that<br />

adopted the ‘low-cost’ construction approach prevalent<br />

in foreign countries at the time. The building’s<br />

prefabricated concrete architecture appeared<br />

to be the result of a straightforward adaptation<br />

of a globally used construction technique. Yet, a<br />

prefabricated concrete structure designed and<br />

constructed in one country was not necessarily<br />

identical of those built in the countries from which<br />

it originated. This is especially true when you look<br />

at the differing contexts between developed and<br />

developing countries and how they affect the<br />

different possibilities and limits of building construction.<br />

While the characteristics of prefabricated<br />

concrete structures, from structural members to<br />

installation details, may appear to be similar or<br />

identical in some cases, certain production-related<br />

conditions resulting from economic situations and<br />

labor, including the significant influence that this<br />

construction technology has on architects, who<br />

are the creators of architecture, are all important<br />

factors contributing to each architectural creation’s<br />

individual characteristic.<br />

Revisiting the prefabricated concrete architecture<br />

of the Bangkok School for the Blind is thus not a<br />

search for the pioneering model of other buildings<br />

with a similar architectural style that followed in the<br />

hope of obtaining a deeper understanding of the<br />

origin and influence of such a design. Instead, it<br />

seeks to examine prefabricated concrete as a process<br />

that was directly related to economic factors,<br />

labor conditions, as well as the architect’s evolving<br />

identity, which are no less important than the architectural<br />

ideas and styles that influenced him.<br />

Concrete is not a material but a process<br />

The belief that prefabricated concrete structures<br />

built outside of Europe are the same or similar to<br />

those built in European countries where the technology<br />

originated stems in part from the misconception<br />

that concrete is a material in the same way that<br />

wood and rocks are, when the reality is quite different.<br />

Concrete is made by a synthetic, rather than a<br />

natural, process. While concrete is composed of<br />

cement, sand, gravel, and water, these components<br />

cannot produce concrete on their own. Labor, both<br />

intellectual and manual, play an important role in the<br />

creation of concrete. Instead of regarding concrete<br />

as a material, it would have made more sense if we<br />

thought of it as a process in which labor constitutes<br />

as an integral part of its creation.<br />

3<br />

EAST ELEVATION<br />

WEST ELEVATION<br />

NORTH ELEVATION<br />

SOUTH ELEVATION<br />

4<br />

03<br />

รูปด้านอาคาร<br />

เครดิตภาพ:<br />

Taylor, Brian Brace<br />

and John Hoskin,<br />

Sumet Jumsai,<br />

Bangkok: Asia Books,<br />

1996., p.<strong>11</strong>2-<strong>11</strong>3<br />

04<br />

ทางเดินหน้าบันไดชั้น 2<br />

โรงเรียนสอนคนบอด<br />

ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2566<br />

เครดิตภาพ:<br />

โดยผู้เขียน


138<br />

Revisit<br />

THE BANGKOK SCHOOL FOR THE BLIND<br />

139<br />

05<br />

บรรยากาศภายใน<br />

ห้องเรียนโรงเรียน<br />

สอนคนบอด<br />

ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2566<br />

เครดิตภาพ:<br />

โดยผู้เขียน<br />

06<br />

ผังพื้นโรงเรียน<br />

สอนคนตาบอด<br />

เครดิตภาพ:<br />

Taylor, Brian Brace<br />

and John Hoskin,<br />

Sumet Jumsai,<br />

Bangkok:Asia Books,<br />

1996., p.<strong>11</strong>4<br />

The prefabricated concrete structure in this project was used<br />

to make an architectural statement, an expression, rather than<br />

an attempt to reduce construction costs. It differs significantly<br />

from those built in Western countries, particularly in terms of<br />

how such a structural system influenced the architect’s status<br />

as a creator.<br />

GROUND FLOOR PLAN<br />

SECOND FLOOR PLAN<br />

5<br />

THIRD FLOOR PLAN<br />

ROOF PLAN<br />

6<br />

ความที่ต้องพึ่งหาแรงงานในการผลิตทำาให้คอนกรีตไม่ได้<br />

แตกต่างจากวัสดุธรรมชาติที่ใช้ในการก่อสร้างทางสถาปัตย-<br />

กรรมชนิดอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นไม้ หิน หรือ ดินเหนียว เพราะ<br />

ทั้งหมดล้วนแต่จำาเป็นต้องใช้แรงงานเข้าไปแปรรูปวัตถุดิบ<br />

ด้วยกันทั้งสิ้น จึงสามารถนำามาใช้งานทางสถาปัตยกรรมได้<br />

ทว่าความแตกต่างระหว่างคอนกรีตกับวัสดุธรรมชาติอยู่<br />

ที่ระดับของแรงงานที่ใช้ในกระบวนการแปรรูป ซึ่งแปรผัน<br />

ตามประเภทวัสดุและวัตถุประสงค์การใช้ รวมทั้งข้อเท็จจริง<br />

ที่ว่าคอนกรีตนั้นอนุญาตให้เกิดการแบ่งแยกแรงงานที่จำาเป็น<br />

ในการผลิตออกจากกันได้ง่ายกว่าวัสดุธรรมชาติ ซึ่งในแง่<br />

หลังนี้ไม่มีคอนกรีตชนิดใดที่จะแสดงความจริงข้อนี้ได้ดี<br />

ไปกว่า ‘ระบบคอนกรีตสำาเร็จรูป’<br />

ระบบคอนกรีตสำาเร็จรูปถูกคิดค้นขึ้นใช้เป็นครั้งแรกใน<br />

ประเทศแถบยุโรปตั้งแต่สมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง<br />

เป็นต้นมา ภาวะขาดแคลนแรงงานภายหลังสงครามทำาให้<br />

เกิดค่าแรงคนงานสูง ประกอบกับความต้องการที่พักอาศัย<br />

ที่พุ่งทะยานสูงขึ้นอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อน นำาไปสู่การ<br />

พยายามคิดค้นระบบการก่อสร้างแบบใหม่ ที่ไม่ใช่การ<br />

ปรับปรุงระบบการก่อสร้างดั้งเดิมให้มีประสิทธิภาพด้วย<br />

การเพิ่มจำานวนแรงงานลงไปในการก่อสร้างเท่านั้น แต่คือ<br />

การประยุกต์ใช้เครื่องจักรเพื่อลดการใช้แรงงานคน (ที่<br />

กำาลังขาดแคลนและค่าแรงสูง) โดยย้ายงานผลิตชิ้นส่วน<br />

อาคารส่วนใหญ่ไปผลิตในโรงงาน และปล่อยให้หน้างาน<br />

ก่อสร้างเหลือเพียงงานติดตั้งประกอบชิ้นส่วนสำาเร็จรูป<br />

เท่านั้น โดยมีการประยุกต์ใช้เครื่องจักรเพื่อเร่งความเร็ว<br />

ในการติดตั้ง<br />

มีสถิติว่าระบบคอนกรีตสำาเร็จรูปที่ใช้ในประเทศเดนมาร์ก<br />

ราวช่วงทศวรรษที่ 1970 นั้น สามารถลดจำานวนชั่วโมงการ<br />

ใช้แรงงานลงอย่างมาก คือ ใช้แรงงานคนเพียงแค่ 9 ชั่วโมง<br />

ต่องานก่อสร้าง 1 ตารางเมตร และจะใช้เวลาน้อยลงไปอีก<br />

สำาหรับการก่อสร้างอาคารที่มีความซับซ้อนน้อย เช่น โรงงาน<br />

และอาคารปฏิบัติการ (workshop) โดยจะใช้เวลาเพียง 4<br />

ชั่วโมงครึ่งต่อพื้นที่ก่อสร้าง 1 ตารางเมตร เท่านั้น ดังนั้น<br />

ยิ่งสามารถเร่งงานก่อสร้างได้มากเท่าไหร่ ก็ยิ่งลดต้นทุน<br />

การก่อสร้างลงได้เป็นเงาตามกัน (Anon. 2515)<br />

อย่างไรก็ตามความได้เปรียบของการใช้ระบบคอนกรีต<br />

สำาเร็จรูปเพื่อลดต้นทุนค่าแรง ดังที่พบในประเทศระบบ<br />

เศรษฐกิจก้าวหน้าอย่างยุโรป อเมริกา และสแกนดิเนเวียนั้น<br />

แทบไม่เกิดผลในประเทศที่แรงงานมีจำานวนมากและค่าแรง<br />

ต่ำาอย่างประเทศไทยในคริสต์ทศวรรษที่ 1970 เพราะแม้<br />

งานก่อสร้างจะทำาได้เร็วขึ้น แต่ก็ไม่ได้ทำาให้ต้นทุนโดยรวม<br />

ลดลงนัก เพราะต้องชดเชยค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้น จากการ<br />

ใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ยังไม่นับค่าขนย้าย<br />

The fact that concrete production must rely on<br />

human labor makes concrete similar to other natural<br />

materials used in construction such as wood,<br />

stones, or clay in the sense that labor is required to<br />

transform these raw resources into something that<br />

is architecturally usable. The difference between<br />

concrete and natural materials, however, is in the<br />

amount of labor required for the production process,<br />

which varies depending on the type and functional<br />

objectives of the materials. It also entails the fact<br />

that, compared to other natural materials, concrete<br />

allows for a more straightforward division of the<br />

labor required for its production. No system of<br />

concrete demonstrates this point better than<br />

‘prefabricated concrete system’.<br />

Following the end of World War II, prefabricated<br />

concrete structures were invented for the first time<br />

in Europe. The postwar labor shortage increased<br />

labor costs, which, when combined with the<br />

unprecedented skyrocketing demand for housing,<br />

prompted an attempt to develop a novel construction<br />

method. The new approach would not aim to<br />

improve existing methods by including more labor<br />

in the construction process, but rather to apply<br />

and incorporate technology to lessen the demand<br />

for human labor (due to the shortage of labor and<br />

higher wages). Building parts were manufactured in<br />

factories, while on-site operations were reduced to<br />

merely the installation of prefabricated components,<br />

with new machines being developed to speed up<br />

the assembly process.<br />

A statistic showed that the use of precast concrete<br />

in Denmark in the 1970s significantly reduced the<br />

number of hours of manual labor needed to build<br />

one square meter to only 9 hours. The construction<br />

of smaller, less complicated buildings, such as factories<br />

and workshops, took even less time (4 hours<br />

per 1 square meter). As a result, the sooner the<br />

construction could be completed, the lower the<br />

construction costs might be (Anon. 2515).<br />

Nonetheless, the labor cost reduction, which is one<br />

of the primary benefits of prefabricated concrete<br />

systems in developed European and Scandinavian<br />

countries or the United States, was almost insignificant<br />

in the context of Thailand in the 1970s, where<br />

manual labor was abundant and wages were relatively<br />

low. While the system made the construction process<br />

faster, it didn’t have a major effect on the overall<br />

cost. That was because more expenses were paid<br />

for the use of advanced machinery and technologies,<br />

not to mention the costs of transporting large


140<br />

Revisit<br />

THE BANGKOK SCHOOL FOR THE BLIND<br />

141<br />

ชิ้นส่วนจากโรงงานมายังสถานที่ก่อสร้าง ซึ่งเป็นอีกปัจจัย<br />

ที่ส่งผลให้ต้นทุนค่าก่อสร้างจริงเพิ่มขึ้น ดังการสัมภาษณ์<br />

ดร. สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา ล่าสุดเมื่อเดือนกุมภาพันธ์<br />

2566 ที่กล่าวว่า “เผลอๆ จะแพงกว่าการก่อสร้างทั่วไป<br />

ด้วย” ฉะนั้นเมื่อถามว่าการที่ระบบโครงสร้างสำาเร็จรูปที่<br />

โรงเรียนสอนคนตาบอดซึ่งดูเหมือนจะไม่ได้ช่วยลดต้นทุน<br />

ค่าก่อสร้างลง เพราะค่าแรงสมัยนั้นยังถูก และการใช้<br />

เทคโนโลยีการผลิตมีค่าใช้จ่ายที่ค่อนข้างสูง งานชิ้นนี้จะถือ<br />

เป็นการ make a statement ได้หรือไม่ ดร. สุเมธ จึงตอบ<br />

ว่า “ใช่ๆ มันก็เหมือนกับตึกหุ่นยนต์ […] จบมาจากเมืองนอก<br />

ใหม่ๆ อยากจะทำาอะไรที่เป็นเรื่องใหม่สำาหรับประเทศชาติ<br />

แล้วระบบ prefab ยังไม่ค่อยรู้จักกัน”<br />

เหตุผลเรื่องการแสดงถ้อยแถลงทางสถาปัตยกรรมที่ดูมี<br />

น้ำาหนักมากกว่าจะเป็นการลดต้นทุนค่าก่อสร้างนี้ ทำาให้<br />

ระบบโครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูปที่โรงเรียนสอนตาบอด<br />

นั้นแตกต่างอย่างมีนัยยะสำาคัญจากประเทศต้นกำาเนิด<br />

โดยเฉพาะผลกระทบที่ระบบนี้มีต่อสถานะของผู้สร้างสรรค์<br />

อย่างสถาปนิก<br />

เอเดียน โฟตี้ (Adrian Forty) นักประวัติศาสตร์สถาปัตย-<br />

กรรมชาวอังกฤษ กล่าวว่า เมื่อระบบชิ้นส่วนคอนกรีต<br />

สำาเร็จรูปได้รับการเผยแพร่ในประเทศแถบยุโรปเป็นครั้งแรก<br />

ในคริสต์ทศวรรษที่ 1950 สถาปนิกต้อนรับการเข้ามาของ<br />

ระบบการก่อสร้างชนิดใหม่นี้เป็นอย่างดี เพราะเปิดโอกาส<br />

ให้พวกเขาสามารถพัฒนาการออกแบบชิ้นส่วนต้นแบบที่<br />

นำาไปผลิตในสเกลระดับอุตสาหกรรมได้ อย่างไรก็ตามเมื่อ<br />

ระบบชิ้นส่วนคอนกรีตสำาเร็จรูปได้รับการผลิตขึ้นใช้อย่าง<br />

กว้างขวางแล้ว บทบาทของสถาปนิกกลับลดลงเหลือบทบาท<br />

เพียง ‘ช่างเทคนิค’ ที่มีหน้าที่รับผิดชอบการออกแบบการ<br />

เรียงตัวของชิ้นส่วนสำาเร็จรูปลงบนไซต์ก่อสร้าง เพื่อใช้<br />

ประโยชน์จากองค์ประกอบชิ้นส่วนสำาเร็จรูปให้ได้มากที่สุด<br />

เท่านั้น (Forty 2012, 248-249.)<br />

ดังนั้นในขณะที่ระบบชิ้นส่วนสำ าเร็จรูปกลายเป็น ‘ภัยคุกคาม’<br />

ต่อบทบาททางการออกแบบของสถาปนิกในยุโรปตั้งแต่<br />

กลางคริสต์ทศวรรษที่ 1960 เป็นต้นมา บทบาทของ<br />

สถาปนิกสมัยใหม่อย่าง ดร. สุเมธ กลับโดดเด่นเป็นที่รู้จัก<br />

ขึ้นจากการนำาเอาระบบโครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูปมา<br />

ใช้ในประเทศไทยในช่วงเวลาเดียวกัน แม้ว่า ณ ขณะนั้น<br />

ระบบโครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูปจะยังไม่เป็นที่ยอมรับ<br />

ในประเทศไทย เนื่องจากผู้คนโดยส่วนใหญ่ยังคงยึดมั่นใน<br />

ความเชื่อว่าเป็นระบบก่อสร้างที่ไม่แข็งแรง<br />

concrete elements from a factory to a building<br />

site, which ended up raising the actual construction<br />

cost even more. In a recent interview he gave<br />

in February <strong>2023</strong>, Dr. Sumet Jumsai na Ayutthaya<br />

remarked, “It may be even more expensive than<br />

a typical construction process.” So, in the case<br />

of the Bangkok School for the Blind, when the<br />

employed construction method did not appear to<br />

contribute significantly to cost reduction due to<br />

low wages and the fact that the manufacturing<br />

technology for prefabricated concrete was expensive,<br />

could the work be regarded as his attempt<br />

to “make a statement’? Sure, Dr. Sumet replied.<br />

“It was like the Robot building [...]. I had recently<br />

graduated from abroad and was highly driven to<br />

create something fresh and pioneering for the<br />

country, and the prefab method wasn’t that well<br />

known at the time.”<br />

If the underlying reason was to make an architectural<br />

statement rather than an attempt to reduce<br />

construction costs, the prefabricated concrete<br />

structure of the Bangkok School for the Blind<br />

differs significantly from those built in Western<br />

countries, particularly in terms of how such a<br />

structural system influenced the architect’s status<br />

as a creator.<br />

Adrian Forty, a British architectural historian, stated<br />

that when prefabricated concrete was invented for<br />

the first time in Europe in the 1950s, architects<br />

embraced the new construction system because it<br />

allowed them to develop prototypes that would be<br />

used in large-scale industrial productions. But, as<br />

the new construction system gained popularity, the<br />

architect’s role was reduced to that of a ‘technician,’<br />

whose main responsibility was to determine how<br />

concrete parts could be arranged and assembled<br />

on site in order for all prefabricated elements to<br />

deliver maximum functional benefits. (Forty 2012,<br />

248-249)<br />

While during the late 1960s, prefabricated concrete<br />

systems posed a challenge to the creative<br />

role of architects in Europe, Dr. Sumet’s role and<br />

stature as a modernist architect in Thailand was<br />

evolving as a result of his implementation of the<br />

technology. It should be emphasized that, at the<br />

time, prefabricated concrete structures were still<br />

not well received in Thailand because the majority<br />

of people believed it was a lower-quality and<br />

weaker construction method.<br />

9<br />

8<br />

Photo Reference<br />

7-9. mplus.org.hk/en/collection/makers/sumet-jumsai<br />

7<br />

07<br />

ระบบโครงสร้างสำาเร็จรูป<br />

ประกอบด้วยชิ้นส่วนคาน<br />

หลักและคานซอยแบบเข็ม<br />

I-Section, แผ่นพื้นที่มี<br />

น้ำาหนักเบาพอที่คน 2 คน<br />

จะยกได้ และเสา<br />

เครดิตภาพ:<br />

Sumet Jumsai<br />

08<br />

เบ้าคอนกรีตตัวเมีย<br />

รูปแปดเหลี่ยม สำาหรับ<br />

ติดตั้งโคนเสา<br />

เครดิตภาพ:<br />

Sumet Jumsai<br />

09<br />

ขณะล็อคโคนเสาเบ้าตัวเมีย<br />

เครดิตภาพ:<br />

Sumet Jumsai


142<br />

Revisit<br />

THE BANGKOK SCHOOL FOR THE BLIND<br />

143<br />

The architect opted for prefabricated<br />

concrete elements and used them in<br />

such a way that challenges the notion<br />

of insecurity by unapologetically<br />

revealing the exposure of the joint<br />

details between individual prefabricated<br />

components. He even chose<br />

colors that would draw attention<br />

to the prefabricated elements, both<br />

structural and non-structural,<br />

heightening passersby’s interest in<br />

the building.<br />

10<br />

<strong>11</strong><br />

10<br />

ดีเทลปุ่มเหล็กฝังพื้นรอบ<br />

โคนเสา ช่วยเตือนผู้พิการ<br />

ทางสายตาไม่ให้เดินชนเสา<br />

เครดิตภาพ:<br />

โดยผู้เขียน<br />

<strong>11</strong><br />

ดีเทลหัวเสาแต่ละชั้น<br />

ออกแบบเป็นบ่ายื่นไปรับ<br />

เครดิตภาพ:<br />

โดยผู้เขียน<br />

อย่างไรก็ตามสำาหรับ ดร. สุเมธ แล้ว กลับมองเห็นเรื่องนี้<br />

เป็นโอกาสแสดงผลงานให้เป็นที่ยอมรับ เพราะแทนที่จะ<br />

ซ่อนปกปิดรอยต่อขององค์ประกบต่างๆ ให้ดูเสมือนอาคาร<br />

ก่อสร้างแบบโดยทั่วไป (เช่น การก่อสร้างบ้านจัดสรรและ<br />

คอนโดส่วนใหญ่ในสมัยนี้) ซึ่งคงจะเป็นที่คุ้นเคยในการรับรู้<br />

ของผู้คนมากกว่า เขากลับใช้ระบบชิ้นส่วนคอนกรีตสำ าเร็จรูป<br />

เพื่อท้าทายความรู้สึก ‘ไม่มั่นคงแข็งแรง’ ด้วยการแสดง<br />

รอยต่ออาคารที่ประกอบจากชิ้นส่วนสำาเร็จต่างๆ อย่าง<br />

เปิดเผย ไม่ปกปิด มิหนำาซ้ำายังใช้สีสันเน้นความสำาคัญของ<br />

แต่ละองค์ประกอบ ทั้งโครงสร้างและไม่ใช่โครงสร้าง ทำาให้<br />

ผู้พบเห็นสะดุดตาและสนใจ<br />

โครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูปของอาคารโรงเรียนสอนคน-<br />

ตาบอด ประกอบด้วยชิ้นส่วนคานหลักและคานซอยแบบ<br />

เข็ม I-Section แผ่นพื้นที่ออกแบบเป็นแผ่นๆ มาต่อกัน<br />

โดยแต่ละแผ่นมีน้ำาหนักเบาพอที่คน 2 คน จะยกได้ และ<br />

สุดท้ายคือเสา ที่สุดท้ายแล้วก็สามารถผลิตด้วยกรรมวิธี<br />

สำาเร็จรูปเช่นกัน ส่วนฐานรากใช้วิธีหล่อในที่โดยทำาเป็น<br />

เบ้าตัวเมียเพื่อให้นำาเสาสำาเร็จรูปมาติดตั้งอย่างง่ายดาย<br />

หลังจากโรงเรียนสอนคนตาบอด ดร. สุเมธ ยังใช้ระบบ<br />

โครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูปที่พัฒนาขึ้นนี้ไปประยุกต์ใช้กับ<br />

การออกแบบก่อสร้างของตนเองอีกหลายหลัง ไม่ว่าจะเป็น<br />

สำานักงาน DAIKIN ที่สะพานหัวช้าง และอาคาร มินิแฟลต<br />

“เฉลิมนิจคอร์ต” อาคารพักอาศัยชุดในซอยสุขุมวิท 53<br />

ที่ ดร. สุเมธ เป็นทั้งเจ้าของและผู้ออกแบบเอง (ปัจจุบันทั้ง<br />

สองอาคารถูกรื้อถอนไปแล้ว) อันแสดงให้เห็นถึงการต่อยอด<br />

ความสำาเร็จจากระบบโครงสร้างคอนกรีตสำาเร็จรูปจาก<br />

โรงเรียนสอนคนตาบอด<br />

ในคริสต์ทศวรรษที่ 1970 ระบบชิ้นส่วนคอนกรีตสำาเร็ตรูป<br />

ซึ่งกำาลังท้าทายอาชีพสถาปนิกในยุโรปอย่างถึงรากถึงโคน<br />

กลับเกื้อหนุนให้สถาปนิกในอีกซีกโลกหนึ่งใช้เป็นโอกาส<br />

ในการสร้างตัวตนทางอาชีพการงานขึ้น ข้อค้นพบเล็กๆ<br />

ที่ได้จากการหวนกลับไปพิจารณาคอนกรีตสำาเร็จรูป ณ<br />

โรงเรียนสอนตาบอดในครั้งนี้ คงพอจะทำาให้เราตระหนักถึง<br />

ความสำาคัญของคอนกรีตในฐานะกระบวนการที่มีเงื่อนไข<br />

อันเป็นแบบฉบับเฉพาะตัว และไม่ด่วนตัดสินสาระสำาคัญ<br />

ของมันจากภาพลักษณ์ รูปแบบ หรืออิทธิพลทางความคิด<br />

แต่เพียงอย่างเดียว<br />

References:<br />

Anon. “Prefabs and Rationalized Building” อาษา, 1 (กันยายน 2515): ไม่ปรากฎเลขหน้า.<br />

Forty, Adrian. (2012). Concrete and Culture: A Material History. 1st ed. London: Reaktion Books.<br />

Taylor, Brian Brace (1996). Sumet Jumsai. Bangkok: Asia Books.<br />

สัมภาษณ์ ดร. สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา, สถาปนิกและศิลปิ นแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปั ตยกรรม<br />

(สถาปั ตยกรรมแบบร่วมสมัย) ประจำปี 2541, 8 กุมภาพันธ์ 2566)<br />

Dr. Sumet, however, saw it as an opportunity to<br />

increase the visibility of his work. Instead of concealing<br />

the traces of structural member joineries<br />

to create a more typical-looking building (such as<br />

homes in housing estates or condominiums), which<br />

would be more agreeable to the general public, he<br />

opted for prefabricated concrete elements and used<br />

them in such a way that challenges the notion of insecurity<br />

by unapologetically revealing the exposure<br />

of the joint details between individual prefabricated<br />

components. He even chose colors that would draw<br />

attention to the prefabricated elements, both structural<br />

and non-structural, heightening passersby’s<br />

interest in the building.<br />

The Bangkok School for the Blind’s prefabricated<br />

structure is made up of girders and I-section beams,<br />

as well as floor slabs that were all connected together.<br />

Each slab could be carried without difficulty<br />

by two men. The columns were likewise prefabricated,<br />

but the foundation was built on site with<br />

a design that allowed the columns to be simply<br />

erected.<br />

Dr. Sumet had used the newly developed prefabricated<br />

concrete method in several more projects<br />

after the Bangkok School for the Blind. Among<br />

them were the DAIKIN headquarters in Bangkok’s<br />

Rajathevi area and ‘Chalermnit Court,’ a miniflat<br />

building on Soi Sukhumvit 53 Street owned<br />

and designed by Dr. Sumet (both buildings were<br />

demolished). These projects are evidence of the<br />

architect’s successful architectural endeavor,<br />

which began with the prefabricated concrete<br />

structure of the Bangkok School for the Blind.<br />

In the 1970s, when prefabricated concrete systems<br />

were shaking architects in the West to the core, the<br />

same technology was aiding an architect on the<br />

other side of the world in establishing a career and<br />

architectural identity. A small discovery from this<br />

revisit at the Bangkok School for the Blind this time<br />

around was the realization of the importance of<br />

concrete as a process with its own unique set of<br />

conditions. Its essence, thus, should not be judged<br />

solely by the visuals, styles, or ideological influences<br />

that lead to its conception.<br />

พินัย สิริเกียรติกุล<br />

สำเร็จการศึกษาทาง<br />

ด้านสถาปั ตยกรรมและ<br />

สถาปั ตยกรรมไทยจาก<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

และประวัติศาสตร์<br />

สถาปั ตยกรรมในระดับ<br />

ดุษฎีบัณฑิตจากมหา-<br />

วิทยาลัยคอลเลจลอนดอน<br />

ปั จจุบันดำรงตำแหน่ง<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

วังท่าพระ โดยมีผลงาน<br />

หนังสื อล่าสุดได้แก่ เปิ ด<br />

คลังเอกสาร อมร ศรีวงศ์<br />

(2563) ซึ่งศึกษาผลงาน<br />

สถาปั ตยกรรมของ<br />

“สถาปนิก” ผู้ซึ ่งไม่เคย<br />

เรียนในโรงเรียนสถา-<br />

ปั ตยกรรม<br />

Pinai Sirikiatikul<br />

studied Architecture<br />

and Thai Architecture<br />

at Faculty of Architec<br />

ture, Silpakorn University,<br />

Bangkok, and<br />

completed his PhD<br />

in 2012 at University<br />

College London. He is<br />

currently an assistant<br />

professor at Faculty of<br />

Architecture, Silpakorn<br />

University, Bangkok.<br />

His recent book, Unpacking<br />

the Archives:<br />

Amorn Srivongse, released<br />

in 2020 explores<br />

the architectural works<br />

of the lesser-known,<br />

self-taught architect,<br />

Amorn Srivongse.


144<br />

materials<br />

BRUTAL BEAUTY: FROM CONCEPT TO CONSTRUCTION<br />

145<br />

Brutal<br />

Beauty:<br />

Text: Patikorn Na Songkhla<br />

From<br />

Concept to<br />

Construction<br />

The story of the bare concrete works<br />

has a long history. But interestingly, the<br />

popularity of this concrete material still<br />

has a spell for architects to apply it to the<br />

architecture of each era continuously<br />

until now. Building with bare concrete is<br />

a simple technology, but the design, its<br />

details, and the work required to achieve<br />

good quality work are not. Often, debates<br />

arise between architects, contractors,<br />

and project owners concerning aesthetics,<br />

standard quality, and acceptance of the<br />

completed work.<br />

แม้ว่าเรื่องราวของงานคอนกรีตเปลือยจะเป็ นเรื่องที่มีประวัติศาสตร์<br />

ใช้งานมายาวนาน แต่ความนิยมชมชอบในสั จจะวัสดุคอนกรีตนี้ยังคงมี<br />

มนต์สะกดให้สถาปนิกได้นำมาประยุกต์ ใช้กับงานสถาปั ตยกรรมแต่ละ<br />

ยุคสมัยอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งปั จจุบัน เทคโนโลยีการก่อสร้างคอนกรีต<br />

เปลือยไม่ได้นั้นซับซ้อนอะไร แต่รายละเอียดการออกแบบและทำงานเพื่อ<br />

ให้ ได้งานออกมามีคุณภาพที่ดีนั้นไม่ใช่เรื่องง่ายเลย บ่อยครั้งที่เกิดการ<br />

ถกเถียงระหว่างสถาปนิก ผู้รับเหมาก่อสร้าง และเจ้าของโครงการ<br />

เกี่ยวกับความสวยงาม คุณภาพมาตรฐาน และการยอมรับงานที่แล้วเสร็จ


146<br />

materials<br />

BRUTAL BEAUTY: FROM CONCEPT TO CONSTRUCTION<br />

147<br />

สถาปัตยกรรมบรูทัลลิสต์นั้นถือกำาเนิดขึ้นในช่วงระหว่างปี ค.ศ.1950<br />

ถึง ค.ศ.1960 เป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมที่เน้นโชว์ผิวเปลือยของวัสดุ<br />

ก่อสร้างและรูปทรงของอาคาร โดยไร้การเติมแต่งของสีหรือวัสดุประดับ<br />

อื่นๆ ใช้คอนกรีตและอิฐเป็นวัสดุก่อสร้างหลักที่ใช้ในการสร้างอาคาร<br />

ชื่อ ‘บรูทัลลิสต์’ นั้นมาจากคำาภาษาฝรั่งเศส ‘Brut’ ที่แปลว่า ‘ดิบ’<br />

โดยมาจากคำาที่อธิบายวัสดุคอนกรีต Beton Brut ที่แปลว่าคอนกรีตดิบ<br />

สถาปัตยกรรมรูปแบบนี้ได้รับความนิยมเป็นอย่างยิ่งหลังสิ้นสุดสงคราม<br />

โลกครั้งที่ 2 โดยสถาปนิกต้องการสร้างสรรค์อาคารการก่อสร้างที่เรียบ<br />

ง่าย เน้นการใช้งานและประหยัดในการก่อสร้าง สิ่งสำาคัญอีกประการหนึ่ง<br />

ของสถาปัตยกรรมแบบ บรูทัลลิสต์ คือการเน้นที่ความเรียบง่าย อาคาร<br />

บรูทัลลิสต์มักจะโดดเด่นด้วยเส้นสายที่สะอาดปราศจากการประดับประดา<br />

ความเรียบง่ายนี้ตรงกันข้ามกับสถาปัตยกรรมที่มีการตกแต่งสูงและ<br />

หรูหราในยุคสมัยก่อน เช่น สไตล์ Baroque และ Gothic<br />

Between the 1950s and the 1960s, Brutalist architecture<br />

grew as a movement and style that focuses on the raw<br />

materials and shapes of buildings. The building was mostly<br />

made of concrete and bricks, with no paint or other decorations.<br />

The name ‘Brutalist’ is derived from the French word<br />

‘Brut’, which means “raw”, from a word describing Beton<br />

Brut concrete material, which means raw concrete. This<br />

style of architecture became especially popular after World<br />

War II, when architects wanted to create simple buildings<br />

with an emphasis on usability and economical construction.<br />

Another essential aspect of Brutalist architecture is its<br />

emphasis on simplicity. Brutalist buildings often stand out<br />

with their clean lines without ornamentation. This simplicity<br />

contrasts with earlier times’ highly decorated and ornate<br />

architecture, such as the Baroque and Gothic styles.<br />

หนึ่งในหลักการสำาคัญของสถาปัตยกรรมแบบบรูทัลลิสต์ คือการใช้ Off-<br />

Form Concrete หรือที่เรียกกันว่าคอนกรีตเปลือย (Exposed Concrete)<br />

ซึ่งถือว่าเป็นเทคนิคหลักในการก่อสร้าง โดยเทคนิคนี้ใช้วิธีการเทคอนกรีต<br />

ลงในแบบไม้และทำาการถอดแบบหลังคอนกรีตเซตตัวได้กำาลังแล้ว ผลลัพธ์<br />

ที่ได้คือผิวคอนกรีตที่มีลายของไม้แบบและให้ความรู้สึกและสัมผัสที่เป็น<br />

ธรรมชาติ ผิวของคอนกรีตเปลือยนี้ขึ้นอยู่กับผิวไม้แบบที่สถาปนิกเลือก<br />

ใช้ในขั้นตอนการก่อสร้าง อาทิ ชนิดของวัสดุ ขนาดของแผ่นไม้แบบ<br />

ลายของเนื้อไม้ การใช้ Off-Form Concrete จะช่วยให้สถาปนิกสามารถ<br />

รังสรรค์และถ่ายทอดความเป็นเอกลักษณ์ของอาคารที่มีความโดดเด่น<br />

และทนทาน ด้วยสัจจะของวัสดุที่นำามาใช้ในงานก่อสร้าง<br />

ตัวอย่างที่มีชื่อเสียงที่สุดตัวอย่างหนึ่งของสถาปัตยกรรมแบบบรูทัลลิสต์<br />

คือสำานักงานใหญ่ของยูเนสโกในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซึ่งออกแบบ<br />

โดยความร่วมมือระหว่างสถาปนิก Bernard Zehrfuss, Marcel Breuer<br />

และ Pier Luigi Nervi ซึ่งสถาปนิกได้แสดงให้เห็นถึงการใช้ Off-Form<br />

concrete ในการก่อสร้างอาคาร โดยเน้นพื้นผิวคอนกรีตเปลือยของ<br />

อาคารที่ตัดกับกระจกเรียบและกรอบหน้าต่างเหล็กของอาคารโดยรอบ<br />

ทำาให้เห็นรูปทรงตัว Y ของโครงสร้างที่เรียบง่ายและโดดเด่นเน้นการ<br />

ใช้งานตัวอาคารนั่งอยู่บนเสาคอนกรีตเปลือย 72 ต้น อาคารหลังนี้มี<br />

ชื่อเล่นว่า ‘three-pointed star’ โดยพื้นที่ใช้สอยประกอบไปด้วยพื้นที่<br />

ออฟฟิศ ห้องสมุด ร้านอาหาร แกลเลอรีแสดงศิลปะ และห้องจัดเลี้ยง<br />

1<br />

5<br />

4<br />

One of the key principles of Brutalist architecture is the<br />

use of off-form concrete, also known as exposed concrete,<br />

which is considered the main construction technique. This<br />

technique uses the method of pouring concrete into the<br />

wooden form and removing the form after the concrete<br />

has been set. The result is a concrete surface with a grain<br />

pattern, natural feel, and texture. The surface and texture<br />

of this bare concrete depend on the type of formwork that<br />

the architect chooses in the construction process, such as<br />

the type of material, the size of the plank, the wood grain,<br />

etc. Using off-form concrete allows architects to create<br />

and convey the uniqueness of a distinctive and durable<br />

building with the truthfulness of the materials used in the<br />

construction.<br />

The UNESCO building in Paris is one of the most well-known<br />

examples of Brutalist architecture. Designed in collaboration<br />

by a team of architects led by Bernard Zehrfuss, Marcel<br />

Breuer, and Pier Luigi Nervi, the building demonstrated the<br />

use of off-form concrete in the construction. It emphasizes<br />

the exposed concrete surface of the building, contrasting<br />

with the smooth glass and steel window frames. The Y-shape<br />

of the structure is simple and distinctive, with an emphasis<br />

on functionality. The building sits on 72 exposed concrete<br />

columns and is also known as the ‘three-pointed star’,<br />

where the functional program consists of office space,<br />

a library, restaurants, an art gallery, and a banquet hall.<br />

3<br />

2<br />

6<br />

Photo Reference<br />

1-2. archdaily.com/tag/brutalism / 3. Asia Group<br />

4-6. unesco.org


148<br />

materials<br />

BRUTAL BEAUTY: FROM CONCEPT TO CONSTRUCTION<br />

149<br />

ตัวอย่างสถาปัตยกรรมแบบบรูทัลลิสต์ อาทิ อาคารศาลาว่าการเมือง<br />

บอสตัน (Boston City Hall) เมืองแมสซาชูเซตส์ Trellick Tower ที่<br />

ลอนดอน ประเทศอังกฤษ และ Salk Institute for Biological Study<br />

ที่รัฐแคลิฟอร์เนีย โดยทั้งสามอาคารนี้ได้ใช้ Off-Form Concrete เป็น<br />

โครงสร้างหลัก ด้วยความเรียบง่ายของผิวคอนกรีตเปลือยช่วยทำาให้รูป<br />

ทรงและรูปลักษณ์ของอาคารที่ซับซ้อนในการออกแบบมีความโด่ดเด่น<br />

ขึ้นมา ในความเรียบง่ายของผิวคอนกรีตเปลือยนั้น ความยุ่งยากอยู่ใน<br />

ขั้นตอนการก่อสร้างอาคารที่มีรูปทรงและรูปลักษณ์ที่ซับซ้อน ความ<br />

สำาเร็จของการใช้ Off-Form Concrete นั้นต้องอาศัยการออกแบบและ<br />

การวางแผนที่ละเอียดลออ ตั้งแต่การติดตั้งไม้แบบ การผูกโครงเหล็ก<br />

การเทคอนกรีต จนถึงขั้นตอนการถอดไม้แบบ การวางแผนที่ดีจะช่วย<br />

ให้ประหยัดเวลาการก่อสร้างและค่าใช้จ่ายรวมถึงการควบคุมคุณภาพ<br />

และความสวยงามของผิวคอนกรีตเปลือยให้เป็นไปตามที่กำาหนด<br />

Other examples of well-known Brutalist architecture include<br />

Boston City Hall in Massachusetts, Trellick Tower in London,<br />

and the Salk Institute for Biological Studies in California.<br />

All these three buildings use off-form concrete as their main<br />

feature, with the simplicity of the bare concrete surface<br />

making the shape and appearance of the building complex<br />

in its design stand out. In the simplicity of the bare concrete<br />

surface, difficulty lies in the construction of buildings with<br />

complex shapes and appearances. Successful use of offform<br />

concrete requires meticulous design and planning,<br />

including installing wood formwork, binding the steel frame,<br />

pouring concrete, and the process of formwork removal.<br />

Good planning will save construction time and cost and<br />

control the quality and beauty of the bare concrete surface<br />

as desired.<br />

ถึงแม้ว่าสถาปัตยกรรมแบบบรูทัลลิสต์ได้รับความนิยมเป็นอย่างยิ่ง<br />

หลังยุคสงคราม แต่ก็ถูกวิจารณ์ว่าน่าเกลียดแข็งทื่อและไร้สีสัน อย่างไร<br />

ก็ตามสถาปนิกที่ชื่นชอบสถาปัตยกรรมแนวนี้ก็ได้โต้แย้งว่า การออกแบบ<br />

แนวบรูทัลลิสต์นั้นยังคงเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมที่สำาคัญซึ่งยังคงมี<br />

อิทธิพลต่อสถาปนิกและนักออกแบบร่วมสมัย เพราะด้วยความเรียบง่าย<br />

และตรงไปตรงมา ในช่วงหลายปีที่ผ่านมาสถาปัตยกรรมแบบบรูทัลลิสต์<br />

ได้รับความสนใจมากยิ่งขึ้นโดยการใช้ Off-Form Concrete ในการ<br />

ออกแบบและก่อสร้างอาคารสมัยใหม่ อาทิ บ้านพักอาศัย อาคารอพาร์ท-<br />

เมนต์ หรือ พิพิธภัณฑ์ และได้ถูกนำาไปปรับใช้กับงานสถาปัตยกรรมใน<br />

ปัจจุบัน ตัวอย่างเช่น สถาปนิกผู้มีชื่อเสียงชาวญี่ปุ่น Tadao Ando ได้ใช้<br />

Off-Form Concrete เป็นหลักในการออกแบบงานสถาปัตยกรรม และ<br />

งานภูมิสถาปัตยกรรม ซึ่งผลงานเหล่านั้นได้รับความชื่นชมในระดับโลก<br />

โดยรูปแบบสถาปัตยกรรมของเขาถูกจัดอยู่ในกลุ่ม Critical Regionalism<br />

สถาปัตยกรรมแบบบรูทัลลิสต์ยังได้ส่งต่อให้กับสถาปนิกในปัจจุบัน คือ<br />

แนวความคิดการออกแบบที่เรียบง่ายเน้นโชว์ผิวธรรมชาติของคอนกรีต<br />

หรือวัสดุก่อสร้างที่ไร้สี ไร้การตกแต่งเพิ่มเติม การใช้ Off-Form Concrete<br />

ในสมัยนี้จะมีความสะดวกยิ่งขึ้นเพราะเทคนิคการก่อสร้างในปัจจุบันมี<br />

ความทันสมัย ตั้งแต่การใช้เทคโนโลยี BIM ในการออกแบบและเขียน<br />

แบบ เทคโนโลยีคอนกรีตที่สามารถผลิตคอนกรีตที่มีความไหลลื่นที่<br />

เทเข้าแบบได้ง่าย ระบบไม้แบบที่มีความสะดวกในการติดตั้งและถอด<br />

เทคนิคระบบการจัดการงานก่อสร้างช่วยทำาให้การวางแผนและติดตาม<br />

ก่อสร้างให้อยู่ในงบประมาณ สิ่งเหล่านี้จะช่วยให้สถาปนิกได้ใช้จินตนาการ<br />

และความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบอาคารสมัยใหม่ได้สะดวกยิ่งขึ้น<br />

สุดท้ายแล้วสถาปัตยกรรมแบบบรูทัลลิสต์นั้นทำาให้เราเห็นว่าในความ<br />

เรียบง่ายนั้นก็แฝงไปด้วยความยุ่งยากซับซ้อน ขอแค่เพียงให้กล้าคิด<br />

และกล้าลงมือทำา ความยุ่งยากซับซ้อนนั้นก็จะกลายเป็นความเรียบง่าย<br />

อย่างเช่นเดียวกับสถาปัตยกรรมแบบบรูทัลลิสต์การทำางาน Off-Form<br />

Concrete จะต้องพิจารณาในการจัดทำาข้อกำาหนดเพื่อให้มีการดำาเนินการ<br />

อย่างละเอียดแม่นยำา มีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นยังต้องให้ความสนใจ<br />

กับแบบหล่องานคอนกรีต การเลือกวัสดุใช้งานและการทำาสี การตกแต่ง<br />

พื้นผิวคอนกรีต การทดสอบงานก่อสร้าง พื้นผิวเพื่อการอ้างอิง รวมถึง<br />

การออกแบบด้านงานโครงสร้างด้วย<br />

Although Brutalist architecture was prevalent after the war,<br />

it has been criticized for being ugly, dull, and colorless.<br />

However, architects who love this style of architecture argue<br />

that Brutalist design remains an important architectural<br />

style that continues to influence contemporary architects<br />

and designers due to its simplicity and straightforwardness.<br />

In recent years, Brutalist architecture has gained more<br />

attention by using off-form concrete in modern buildings<br />

such as residences, apartment buildings, or museums.<br />

For example, the famous Japanese architect Tadao Ando<br />

used off-form concrete as the basis for his architectural<br />

and landscape architecture designs, and those works are<br />

admired worldwide. His architectural style is classified as<br />

critical regionalism.<br />

Brutalist architecture is also passed on to today’s architects,<br />

a simple design concept emphasizing the natural texture<br />

of the concrete or building materials without color, without<br />

additional decorations. The use of off-form concrete these<br />

days is more convenient since the construction techniques<br />

are modern, including the application of BIM technology in<br />

designing and drafting, concrete technology that produces<br />

flowable concrete that is easy to pour into forms, formwork<br />

systems that are convenient to install and dismantle, and<br />

construction management system techniques that help to<br />

plan and monitor construction within a budget. These will<br />

help architects use their imagination and creativity more<br />

conveniently when designing modern buildings. In the<br />

end, Brutalist architecture shows us that in simplicity lies<br />

complexity. Just dare to think and dare to do. The complexity<br />

becomes simple.<br />

Photo Reference<br />

7-9. google.com<br />

10-<strong>11</strong>. dezeen.com/2020/<strong>11</strong>/09/tadao-ando-he-art-museum-china-photography<br />

8<br />

7<br />

9<br />

10<br />

<strong>11</strong>


150<br />

materials<br />

BRUTAL BEAUTY: FROM CONCEPT TO CONSTRUCTION<br />

151<br />

3D Printing Technology<br />

เมื ่อกล่าวถึงเทคโนโลยีการก่อสร้างงานคอนกรีต เทคโนโลยีขึ้นรูปโครง-<br />

สร้างคอนกรีตแบบ 3 มิติ เป็นหนึ่งในนวัตกรรมที่เริ่มเข้ามามีบทบาท<br />

ในงานก่อสร้าง ช่วยให้สถาปนิกได้ออกจากกรอบเดิมๆ สร้างสรรค์งาน<br />

ในรูปทรงต่าง ๆ ตั้งแต่รูปทรงพื้นฐานที่มีความเรียบง่าย ไปจนถึงงาน<br />

ออกแบบให้เกิดรูปทรง เส้นสาย ที่เป็นอิสระ ด้วยกระบวนการคำานวณ<br />

ทางวิทยาศาสตร์ แก้ปัญหาจนได้ผลลัพธ์ตอบโจทย์ ซึ่งสามารถอธิบาย<br />

ออกมาเป็นขั้นตอนที่ชัดเจน หรือที่เรียกว่า Parametric Design<br />

เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ สามารถช่วยในงานก่อสร้างอาคาร ส่วนของ<br />

งานก่อสร้างทั่วไป เช่น ผนัง บันได และองค์ประกอบของงานสถาปัตย-<br />

กรรมต่างๆ ช่วยลดเวลาการทำางานและค่าใช้จ่าย รวมไปถึงการสร้าง<br />

งานที่มีรูปแบบซับซ้อนซึ่งการใช้แบบหล่องานคอนกรีตแบบเดิมๆ ไม่<br />

สามารถจะทำาได้<br />

เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ หรือ 3D Printing หรือ Additive Manufacturing<br />

หรือ Digital Fabrication เป็นนวัตกรรมการก่อสร้างด้วยกระบวนการ<br />

ผลิตที่ทันสมัยเพื่อสร้างงาน 3 มิติจาก Digital File มีข้อได้เปรียบที่ มี<br />

อิสระด้านการออกแบบ งานออกแบบที่มีความซับซ้อน ลดการสิ้นเปลือง<br />

หรือการสูญเสีย ลดความผิดพลาดอันอาจจะเกิดขึ้น มีความรวดเร็ว<br />

ให้ประสิทธิผลสูง มีความแม่นยำา ปลอดภัย ช่วยในการจัดการที่ยั่งยืน<br />

(Sustainable) เป็นมิตรกับโลก ใช้ได้กับงานทั้งในกลุ่ม Construction<br />

และ Decoration<br />

จากสถาปั ตยกรรมแบบบรูทัลลิสต์ที่อาศัยการหล่อคอนกรีตด้วย<br />

แบบหล่อคอนกรีตเดิมๆ จนวันนี้เทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติได้มีการ<br />

พัฒนาไปอย่างมากและเข้ามามีบทบาทในการหล่อคอนกรีต เสน่ห์<br />

หรือมนต์ขลังของงานคอนกรีตเปลือยจะยังคงอยู่ เปลี่ยนแปลง<br />

หรือเป็ นอย่างไรต่อไป คงต้องติดตามดูกัน<br />

12<br />

13<br />

15<br />

When making specifications, off-form concrete work must<br />

be taken into account to make sure that the work is done<br />

correctly and quickly. In addition, attention must also be<br />

paid to concrete formwork, the selection of materials and<br />

coloring of concrete surface finishing, construction testing,<br />

the surface for reference, and structural design.<br />

3D Printing Technology<br />

As for concrete construction technology, 3D concrete structure<br />

forming technology is an example of a new method that has<br />

started to be used in building. It allows architects to get out<br />

of the traditional framework to create works in various forms,<br />

from simple ones to free forms and lines, using scientific<br />

calculations to solve particular problems until the result<br />

meets the project requirements, which can be explained in<br />

clear steps and processes. This design method is also known<br />

as Parametric Design.<br />

3D printing technology can help in the construction of buildings<br />

or general construction parts such as walls, stairs, and other<br />

architectural elements, which reduces work time and costs. It<br />

also helps create work with complex patterns that traditional<br />

concrete formwork cannot achieve.<br />

3D printing technology or additive manufacturing, or digital<br />

fabrication, is a construction innovation with modern production<br />

processes to create 3D works from digital files. Its advantages<br />

are that it offers design freedom, creates a complex design,<br />

reduces wastage or loss, reduces mistakes that may occur in<br />

the process, is fast, high efficiency, accurate, safe, helps in<br />

sustainable management, and is environmentally friendly. It<br />

can be used for work in both construction and decoration.<br />

From the brutalist architecture that relies on casting<br />

concrete with the original concrete formwork,<br />

today, 3D printing technology has developed a lot<br />

and plays a role in casting concrete. Will the spell<br />

of bare concrete work remain, change, or continue?<br />

Let’s see.<br />

อนุเคราะห์ข้อมูลและรูปภาพ:<br />

คุณก้อง กมลเลิศวรา Asia Group และ SCG<br />

14<br />

Photo Reference<br />

12-15. parametric-architecture.com / 16. sika.com<br />

16<br />

ปฏิกร ณ สงขลา<br />

เป็ นสถาปนิกอาวุโส<br />

บริษัท สถาปนิก 49 จำากัด<br />

มีประสบการณ์ทำางาน<br />

มากกว่า 35 ปี ปั จจุบัน<br />

ยังเป็ นหัวหน้าโครงการ<br />

ISA Material Info Series<br />

กิจกรรมส่งเสริมข้อมูล<br />

ความรู้เกี่ยวกับวัสดุและ<br />

เทคโนโลยีการก่อสร้าง<br />

ของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

is a Senior Architect at<br />

Architects 49 Limited,<br />

with more than 35 years<br />

of work experience.<br />

Currently he Also serves<br />

as Head of ISA Material<br />

Info Series, activities to<br />

promote information<br />

and knowledge about<br />

construction materials<br />

and technology of the<br />

Association of Siamese<br />

Architects under royal<br />

patronage.


152 153<br />

Fast<br />

Complexity<br />

3D Printed Concrete<br />

materials<br />

Ana Anton, Andrei Jipa, Benjamin Dillenburger<br />

ทีมนักวิจัยของ ETH Zurich ได้สร้าง<br />

เครื่องจักรที่ควบคุมอัตราการเซ็ตตัวของ<br />

คอนกรีตเพื่อให้การเปลี่ยนผ่านระหว่างการ<br />

หล่อและการพิมพ์ 3 มิติเป็นไปอย่างราบรื่น<br />

เพื่อให้สามารถสร้างโครงสร้างที่ใช้วัสดุน้อยลง<br />

ระบบที่เรียกว่า Fast Complexity นี้รวมสอง<br />

เทคโนโลยีเข้าด้วยกันคือคอนกรีตจากการพิมพ์<br />

3 มิติและการหล่อลงในแบบหล่อ ด้วยการ<br />

ควบคุมอัตราการเซ็ตตัวของคอนกรีต ระบบ<br />

สามารถพิมพ์ 3 มิติคอนกรีตที่แข็งตัวเร็ว<br />

สำาหรับองค์ประกอบโครงสร้างเพิ่มเติมโดย<br />

ไม่ต้องใช้แบบหล่อหรือรีดคอนกรีตเหลวที่<br />

สามารถไหลเข้าสู่การหล่อได้ ระบบนี้สามารถ<br />

ใช้เพื่อสร้างโครงสร้างที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

และอาจนำาไปสู่การลดปริมาณคอนกรีตที่ใช้<br />

สร้างอาคาร เนื่องจากวัสดุที่จำาเป็นเท่านั้นที่<br />

จะเทหรือพิมพ์<br />

ทั้งรูปทรงเรขาคณิตของแผ่นคอนกรีตและ<br />

เส้นทางการทับซ้อนได้รับการปรับให้เหมาะสม<br />

เพื่อเพิ่มวัสดุเมื่อจำาเป็นเท่านั้น รูปทรงเรขา-<br />

คณิตบางอย่างอาจมีราคาแพงเกินไปที่จะ<br />

ประดิษฐ์ขึ้นมา การลดดังกล่าวสามารถนำามา<br />

ปรับใช้กับโครงการเฉพาะ และขึ้นอยู่กับการ<br />

ประเมินโครงสร้างด้วย แต่เมื่อเทียบกับแผ่น<br />

พื้นขนาดใหญ่ มีความเป็นไปได้มากสำาหรับ<br />

การประหยัดวัสดุ เป็นการประหยัดวัสดุและ<br />

สร้างความเป็นไปได้ใหม่ๆ ในการออกแบบ<br />

Ana Anton, Andrei Jipa, and Benjamin<br />

Dillenburger, a team of researchers at<br />

ETH Zurich, have created a machine<br />

that controls the setting rate of concrete<br />

to offer a seamless transition between<br />

casting and 3D printing so that structures<br />

can be made that use less material.<br />

The system called Fast Complexity<br />

combines two existing technologies for<br />

creating concrete forms: 3D printing<br />

concrete and casting concrete into<br />

formwork. By controlling the setting rate<br />

of concrete, the system can either 3D<br />

print the fast-hardening concrete for<br />

more structural elements without formwork<br />

or extrude a more fluid concrete<br />

that can flow into castings. The system<br />

could be used to make more efficient<br />

structures and could lead to a reduction<br />

in the amount of concrete used to create<br />

buildings as only the material that is<br />

needed would be poured or printed.<br />

According to Anton, both the geometry<br />

of the slab and the deposition path are<br />

optimized to only add material where<br />

needed. Such geometries would be<br />

otherwise too expensive to fabricate.<br />

That reduction is project-specific and<br />

depends on structural evaluation, but<br />

compared to a massive slab, there is a<br />

lot of space for material savings. This<br />

opens up new material savings and<br />

design potential.<br />

dbt.arch.ethz.ch<br />

Engineered<br />

Cementitious<br />

Concrete<br />

Bendable Concrete<br />

นักวิทยาศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยมิชิแกนได้คิดค้น<br />

คอนกรีตชนิดใหม่โดยผสมผสานทรายซิลิกา<br />

และเส้นใยโพลีไวนิลแอลกอฮอล์เข้ากับส่วนผสม<br />

คอนกรีตแบบดั้งเดิม พัฒนาคอนกรีตชนิดใหม่<br />

ที่แตกยากกว่า 500 เท่า อีกทั้งยังเบากว่า ทำ าให้<br />

ง่ายต่อการติดตั้งและเปลี่ยนหรือทดแทน<br />

Engineered Cementitious Concrete (ECC)<br />

เป็นคอนกรีตยืดหยุ่นที่พัฒนาโดย Victor C. Li<br />

และทีมงานที่มหาวิทยาลัยมิชิแกน คอนกรีต<br />

เสริมแรงด้วยเส้นใยขั้นสูงนี้มีพฤติกรรมคล้ายกับ<br />

วัสดุโลหะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในลักษณะที่ตอบ-<br />

สนองต่อน้ำาหนักบรรทุก รอยแตกขนาดเล็กที่ค้ำา<br />

ยันไว้ภายใต้การบีบรัดจะไม่ทำาให้โครงสร้างเสีย<br />

หายในลักษณะเดียวกับรอยแตกขนาดใหญ่ที่<br />

เกิดขึ้นในคอนกรีตเสริมเหล็กแบบดั้งเดิม<br />

ECC สามารถสร้างผลกระทบอย่างมากต่อ<br />

ความปลอดภัยของโครงสร้างของอาคารและ<br />

สะพานในบริเวณที่มีแผ่นดินไหวสูง นอกจาก<br />

นี้ยังช่วยให้คอนกรีตมีอายุการใช้งานยาวนาน<br />

ขึ้นเนื่องจากการแตกร้าวทำาให้ความชื้นที่สร้าง<br />

ความเสียหายแทรกซึมเข้าไปในโครงสร้าง<br />

และกัดกร่อนเมื่อเวลาผ่านไป ปัจจุบันมีการใช้<br />

งานทั่วโลกเช่นในอาคารที่อยู่อาศัยที่สูงที่สุด<br />

ในญี่ปุ่นในโอซาก้า เช่นเดียวกับสะพานมิฮาระ<br />

ในฮอกไกโด การใช้ ECC บนดาดฟ้า Grove<br />

Street Bridge ในรัฐมิชิแกน คาดว่าจประหยัด<br />

ต้นทุนได้ 37 เปอร์เซ็นต์ และลดการปล่อย<br />

คาร์บอนลง 39 เปอร์เซ็นต์<br />

Concrete is definitely not the first thing<br />

that comes to mind when thinking of<br />

the word ‘flexible,’ but scientists at the<br />

University of Michigan have invented a<br />

new type of concrete by incorporating<br />

silica sand and polyvinyl alcohol fibers<br />

into traditional concrete mixes, they’ve<br />

developed a new kind of concrete that’s<br />

500 times harder to crack. It’s also<br />

lighter, making it easier to install and<br />

replace.<br />

Engineered Cementitious Concrete<br />

(ECC) is a flexible developed by Victor<br />

C. Li and his colleagues at the University<br />

of Michigan. This advanced fiber-reinforced<br />

concrete behaves in some ways<br />

more like a metallic material—particularly<br />

in the way it responds to loads. The<br />

microcracks it sustains under duress<br />

do not compromise a structure in the<br />

same way that larger cracks would in<br />

traditional, steel-reinforced concrete.<br />

ECC could make a huge impact on<br />

the structural security of buildings<br />

and bridges in areas with high seismic<br />

activity. It will also help concrete last<br />

longer since cracking invites damaging<br />

moisture to infiltrate the structure and<br />

erode it over time. It is now in use today<br />

worldwide such as in Japan’s tallest<br />

residential tower in Osaka, as well as in<br />

the jointless Mihara bridge in Hokkaido.<br />

The use of ECC on the the Grove Street<br />

Bridge deck in Michigan, is estimated<br />

to have a cost savings of 37 percent<br />

and carbon emissions reduction of 39<br />

percent.<br />

lowcarbonfuture.umich.edu


154<br />

PROFESSIONAL<br />

Depth<br />

of<br />

Field<br />

Depth of Field (DOF) is a 3D visualization<br />

specialist and image creation company<br />

founded by Krittapak Kulabusaya.<br />

It focuses on 3D rendering, which is the<br />

process of creating and simulating images<br />

until the depth and details of the image<br />

have evolved to look more like a photo.<br />

The studio is known for its expertise<br />

in case studies in the areas they focus<br />

on and developing.<br />

Text: Surawit Boonjoo<br />

Photo Courtesy of Depth of Field<br />

01<br />

บรรยากาศสถานที่ทำางาน<br />

ของ DOF 1


professional<br />

DEPTH OF FIELD<br />

156 157<br />

02<br />

ทีมงาน DOF<br />

03<br />

ป้ายสำานักงาน DOF<br />

New Perspective by Design and Architectural 3D Visualization<br />

3D visualization has become another essential option for design and architecture to present<br />

a realistic view of objects, buildings, and spaces. This process enhances different sensory<br />

experiences and perceptions. They can also connect and place the virtual world in each<br />

other’s space. Depth of Field (DOF) is known as a 3D visualization specialist, an image creation<br />

company for design and architecture, due to the application of various technologies to<br />

be used as an essential aid in operations. It was founded by Ek Krittapak Kulabusaya, the<br />

managing partner who drives, discovers, and adopts new technologies that adapt as they<br />

evolve to support customers’ needs.<br />

DOF: Depth of Field<br />

‘Depth of field’ is generally a technical term in photography that means<br />

a clear distance. It was because, at the beginning of its inception, the<br />

company focused on 3D rendering, which is the process of creating and<br />

simulating various images until the depth and details of the image have<br />

evolved to look more like a photo. This is how Depth of Fields borrowed<br />

photographic jargon to determine the name of the company, which<br />

became known as DOF when abbreviated. Another meaning of ‘Depth of<br />

Fields’ might be “in-depth expertise of case studies in the areas they are<br />

always focusing on and developing.”<br />

New Perspective by Design and Architectural<br />

3D Visualization<br />

การสร้างภาพในรูปแบบสามมิติ (3D visualization) ได้เข้ามา<br />

เป็นอีกหนึ่งตัวเลือกสำาคัญในการนำาเสนอด้วยภาพสำาหรับงาน<br />

ออกแบบและสถาปัตยกรรมที่สามารถนำาเสนอมุมมองของวัตถุ<br />

อาคาร รวมถึงพื้นที่ในทัศนะเสมือนจริง ด้วยกระบวนการนี้เอง<br />

จะช่วยเสริมสร้างประสบการณ์ทางผัสสะและการรับรู้ที่แตก-<br />

ต่าง อีกทั้งยังสามารถเชื่อมต่อและจัดวางโลกจริง-โลกเสมือน<br />

ไว้ในพื้นที่ของกันและกัน Depth of Field (DOF) เป็นที่รู้จักใน<br />

สถานะบริษัทสร้างภาพสำาหรับงานออกแบบและสถาปัตยกรรม<br />

จากการปรับประยุกต์นำาเอาเทคโนโลยีแขนงต่างๆ มาใช้เป็น<br />

ตัวช่วยสำาคัญในการดำาเนินงาน โดยมี เอก กฤตภัค กุลบุศย์<br />

เป็นผู้ก่อตั้งและพาร์ทเนอร์ที่ขับเคลื่อน ค้นหา และตอบรับนำา<br />

เอาเทคโนโลยีใหม่ๆ ซึ่งปรับเปลี่ยนตามความก้าวหน้า เข้ามา<br />

รองรับความต้องการของลูกค้า<br />

DOF: Depth of Field<br />

“คำาว่า ‘Depth of Field’ เป็นคำาศัพท์เทคนิคในทางภาพถ่าย<br />

ถ้าหากแปลให้เข้าใจอย่างง่าย อาจจะเรียกว่าระยะชัด เนื่อง<br />

ด้วยในตอนต้นของการก่อตั้งบริษัทได้โฟกัสไปยังการทำางาน<br />

3D rendering ซึ่งเป็นกระบวนการสร้างและจำาลองภาพต่างๆ<br />

ขึ้นมา กระทั่งมิติของภาพได้พัฒนาจนมีลักษณะเหมือนภาพ<br />

ถ่ายมากยิ่งขึ้น นี่จึงเป็นที่มาของการหยิบยืมศัพท์แสงทาง<br />

ภาพถ่ายเข้ามากำาหนดตั้งเป็นชื่อบริษัทที่เมื่อเรียกอย่างย่อๆ<br />

ว่า DOF โดยอีกนัยหนึ่งของความหมาย ‘Depth of Field’<br />

ก็อาจกินความไปถึงประเด็นความเชี่ยวชาญเชิงลึกของกรณี<br />

ศึกษาในแง่มุมต่างๆ ที่พวกเขามักจะมุ่งเน้นและพัฒนาอยู่<br />

เสมอ”<br />

กฤตภัคจบการศึกษาระดับปริญญาตรี จากคณะสถาปัตย-<br />

กรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก่อนศึกษาต่อระดับ<br />

ปริญญาโทในสาขาคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบจากคณะ<br />

วิชาและมหาวิทยาลัยแห่งเดิม หลังจากจบการศึกษา เขาได้<br />

ทำาหน้าที่เป็นอาจารย์สอนที่คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นระยะเวลา 2 ปี โดยระหว่างนั้น<br />

ก็ได้เปิดโรงเรียนเฉพาะทาง ด้านคอมพิวเตอร์อาร์ต ในจุดนี้<br />

เองที่ทำาให้เขาได้พบปะกับกลุ่มคนที่สนใจทางด้านการสร้าง<br />

ภาพในรูปแบบสามมิติเหมือนกัน ในเวลาต่อมาเขาจึงได้เริ่ม<br />

ต้นก่อตั้งบริษัทขึ้นในปี 2005 ก่อนเดินทางไปศึกษาต่อระดับ<br />

ปริญญาโททางด้าน 3D Animation และ Visual Effects ที่<br />

ประเทศแคนาดา<br />

2<br />

3<br />

Krittapak graduated with a bachelor’s degree from the Faculty of Architecture at Chulalongkorn<br />

University before pursuing a master’s degree in computer design from the same school and<br />

university. After graduation, he served as a lecturer at the Faculty of Architecture. Chulalongkorn<br />

University for 2 years, during which he opened a specialized school to teach computer art. At<br />

this point, he met a group of people who were also interested in 3D visualization. Subsequently,<br />

he started the company in 2005 before going to Canada to pursue a master’s degree in 3D<br />

animation and visual effects.<br />

Initially, most of the colleagues at DOF were friends and alumni from the Faculty of Architecture<br />

at Chulalongkorn University, according to Krittapak. Only later team members were from<br />

other institutions, including the school and classes he taught. Currently, DOF’s visualization<br />

department is operated and driven by over 50 staff, divided into three main operational areas.<br />

The first is a 3D rendering and CGI division responsible for designing and creating 3D renderings.<br />

The next one is the photography service, when at present, in addition to the architectural<br />

photography service, there is also aerial photography work that has been developed<br />

with drones. The last one is the service using new technologies, operated by a team of<br />

programmers who take care of and develop AR (Augmented Reality) or VR (Virtual Reality)<br />

applications. Others are supporting units, including administrative, accounting, and project<br />

managers, who communicate with clients and customers.<br />

Designers and staff in each department of DOF have markedly different proportions of operator<br />

numbers. Most of the team is in charge of 3D rendering and CGI, numbering more than 25<br />

people, followed by 10 in photography. The proportion has been reduced by over half in the<br />

department responsible for new technologies that they recently opened—5 people and 10<br />

other administrative and coordination departments. However, they all work together to integrate,<br />

mix, adapt, and look for new presentations. In addition, DOF also considers and focuses on<br />

controlling the quality of work as another important part of learning and develop-ment in new<br />

technology.


professional<br />

DEPTH OF FIELD<br />

158 159<br />

04<br />

สำานักงาน DOF ขับเคลื่อน<br />

ด้วยเจ้าหน้าที่กว่า 50 คน<br />

ที่แบ่งงานออกเป็น 3 ส่วน<br />

ช่วงแรกเพื่อนร่วมงานที่ DOF ส่วนใหญ่นั้นเป็นกลุ่มเพื่อน<br />

พี่น้องจากสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

เขากล่าว แต่ในภายหลังได้มีหลากหลายสถาบันเพิ่มเติม<br />

เข้ามาอย่างต่อเนื่อง จากการเปิดการเรียนการสอนของเขา<br />

ในช่วงแรก การดำาเนินงานทางด้านการสร้างภาพของบริษัท<br />

ขับเคลื่อนด้วยเจ้าหน้าที่กว่า 50 ราย โดยแบ่งออกเป็นสาม<br />

ส่วนหลักในการดำาเนินงาน คือส่วนงาน 3D rendering/ CGI<br />

รับผิดชอบทำางานออกแบบและสร้างงานภาพจำาลองในมุมมอง<br />

สามมิติ ถัดมาคืองานถ่ายภาพ โดยในปัจจุบันนอกจากการ<br />

ถ่ายภาพอาคารโดยทั่วไปแล้ว ยังมีการทำางานในรูปแบบภาพ<br />

ถ่ายทางอากาศที่ปรับพัฒนาไปพร้อมกับเทคโนโลยีอากาศยาน<br />

ไร้คนขับหรือโดรนอีกด้วย ส่วนงานสุดท้ายนั้น เป็นงานเกี่ยว-<br />

กับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่ปฏิบัติงานโดยทีมโปรแกรมเมอร์ดูแล<br />

และจัดทำาแอพพลิเคชัน AR (Augmented Reality) หรือ VR<br />

(Virtual Reality) นอกจากนั้นแล้วยังมีส่วนเสริมที่สำาคัญ<br />

ไม่แพ้กันคือ เจ้าหน้าที่ดูแลงานด้านธุรการ บัญชี และโปรเจกต์<br />

แมเนเจอร์ที่คอยพูดคุยติดต่อกับลูกค้า<br />

นักออกแบบและเจ้าหน้าที่ในแต่ละฝ่ายของ DOF มีสัดส่วน<br />

จำานวนผู้ปฏิบัติงานที่ต่างกันอย่างเด่นชัด โดยเจ้าหน้าที่ส่วน<br />

ใหญ่จะอยู่ในส่วนรับผิดชอบทางด้าน 3D rendering/ CGI<br />

จำานวนกว่า 25 คน รองลงมาเป็นงานถ่ายภาพจำานวน 10 คน<br />

ปรับลดสัดส่วนลงอีกกว่าครึ่งในส่วนงานรับผิดชอบเกี่ยวกับ<br />

เทคโนโลยีใหม่ที่เพิ่งเปิดขึ้นไม่นาน จำานวน 5 คน และส่วน<br />

งานธุรการและประสานงานอีก 10 คน อย่างไรก็ตามทั้งหมด<br />

มักร่วมทำางานบูรณาการซึ่งกันและกันอยู่เสมอ เพื่อผสมผสาน<br />

ดัดแปลง และมองหาการนำาเสนอรูปแบบใหม่ๆ นอกจากนั้น<br />

DOF ยังคำานึงและมุ่งเน้นควบคุมคุณภาพของผลงานเป็นอีก<br />

ส่วนสำาคัญ พร้อมกับการเรียนรู้และพัฒนาทางด้านเทคโนโลยี<br />

DOPh: Depth of Philosophy<br />

กฤตภัคบอกว่าเขาจะเน้นยำ้ำกับทุกคนถึงแนวทางการทำางาน<br />

ของ DOF อยู่เสมอ นั่นคือการมุ่งเน้นดูแลคุณภาพของผลงาน<br />

ที่สร้างสรรค์ขึ้นให้มีความสมำ่ำเสมอเพื่อให้ลูกค้าเกิดความพึง-<br />

พอใจและกลับมาใช้งานบริการซำ้ำอีกครั้ง โดยวิธีการคิดเช่นนี้<br />

ก็สอดคล้องไปกับหัวใจหลักในกระบวนการทำางานของพวกเขา<br />

ซึ่งมักจะวางความต้องการของลูกค้าเป็นที่ตั้งและสร้างสรรค์<br />

ผลงานที่มีคุณภาพเพียงพอตรงตามความพึงพอใจของลูกค้า<br />

ขณะที่อีกด้านหนึ่ง DOF ก็พยายามที่จะส่งเสริมให้เหล่าทีม-<br />

งานหรือศิลปินที่ร่วมทำางานได้มีความสุข พร้อมไปกับความ<br />

ภาคภูมิใจในการสร้างผลงานงานที่มีคุณภาพ<br />

05<br />

การสร้างกิจกรรมร่วมกัน<br />

เพื่อส่งเสริมความสุขของ<br />

พนักงาน<br />

DOPh: Depth of Philosophy<br />

Krittapak said that he always emphasizes the way DOF works to focus on consistently<br />

creating quality work to meet customers’ satisfaction, which means they will return to DOF<br />

for the services again and again. This approach aligns with the core of their workflow, which<br />

always puts customers’ requirements at the center and creates quality work that meets<br />

customer satisfaction. On the other hand, Krittapak tries to encourage the staff or artists<br />

who work together to be happy and take pride in creating quality work.<br />

“In a nutshell, it’s about doing your best for your clients. At the same<br />

time, the people in the company must be the happiest. ‘Happiness’ here<br />

means happiness from work and happiness from creating quality work.<br />

Because we have approximately 30-40 illustrators in our company, you<br />

must also make them happy in creating their work to motivate them to<br />

stay with us for a long time.”<br />

Everyone in the studio has a different approach and way of working at the beginning, so finetuning<br />

and developing direction is needed. It also occurs in the work processes of various<br />

creative artists who, at first, have incompatible paths and ways of thinking. Even the software<br />

or applications used to create the simulated space differ according to an individual’s skill. At<br />

DOF, they will first look at a 3D portfolio, no matter which software they have learned or used.<br />

The team will consider the formation and visualization process as well as the quality of the<br />

work, mainly before we accept someone for the job.<br />

“พู ดโดยสรุปก็คือการทำงานให้กับลูกค้าอย่างดีที่สุด<br />

ในขณะเดียวกันคนในบริษัทก็ต้องมีความสุขมากที่สุด<br />

ด้วย โดยความสุขในที่นี้กินหมายกว้างถึงความสุขจาก<br />

การทำงานและความสุขจากการได้สร้างสรรค์ผลงาน<br />

ที่มีคุณภาพอีกด้วย เนื่องจากในบริษัทของเรามีศิลปิ น<br />

นักสร้างภาพราว 30-40 คน การจะเชิญชวนหรือสร้าง<br />

แรงขับให้บุคลากรเหล่านี้อยู่กับเราไปอย่างยาวนานก็<br />

จะต้องให้พวกเขาได้มีความสุขในการสร้างสรรค์ผล<br />

5<br />

After starting to work at the company, newly recruited visualizers will be trained to develop<br />

all the fundamental factors in terms of software, tools, and equipment, including shaping<br />

the aesthetic approaches in the same direction we do. For all newcomers who came to work<br />

at DOF in the beginning, the probationary period is a period in which everyone is primarily<br />

trained on the job and almost doesn’t do the work for the customers. Instead, they will be<br />

assigned casework and attend class. Only at the end of the three months will the company<br />

start giving out personal projects, which will be done continuously until a specific time. Then<br />

they will be assigned real work to do for customers through small projects. This reflects<br />

what DOF has always emphasized: that it is a matter of learning and practicing that is more<br />

serious and different from other practices.<br />

งานไปพร้อมๆ กัน”<br />

4<br />

แน่นอนว่าด้วยจำานวนนักสร้างภาพที่มีจำานวนมาก ย่อมมี<br />

แนวทางและวิธีการทำางานที่แตกต่างกันในตอนต้น เพื่อการ<br />

ปรับรับและพัฒนาทิศทาง รวมถึงกระบวนการทำางานของ<br />

หลากหลายของศิลปินนักสร้างสรรค์ที่แรกเริ่มต่างมีทิศทาง<br />

และวิธีคิดในการทำางานที่ยังไม่สอดคล้องเข้าหากัน หรือแม้<br />

กระทั่งโปรแกรมที่ใช้ในการสร้างพื้นที่จำาลองในตอนแรก<br />

เริ่ม ในตอนต้นทาง DOF จะเริ่มจากการดูพอร์ตโฟลิโอที่<br />

ทำา 3D ก่อนเป็นอันดับแรก โดยไม่ได้จำากัดโปรแกรมที่ได้<br />

เรียนรู้หรือใช้มาก่อนหน้า ทางทีมจะพิจารณามุมมองและ<br />

กระบวนการสร้างภาพรวมถึงคุณภาพของงานเป็นหลัก<br />

ก่อนการรับเข้าทำางาน<br />

“If you look at the 3D rendering work from a scientific point of view,<br />

we once made it look like a photograph, and most people would see it<br />

as a beautiful work of high quality. Only later do we think that was not<br />

enough because it has to be beautiful in terms of art. It has to be attractive<br />

from an artistic or photographic point of view, not only scientific.<br />

Most of the works we did later were realistic and beautiful, like works<br />

of art or photos.<br />

For architectural photography, we also focus more on the image’s composition<br />

in terms of color and tone. Is it our identity? Yes, or maybe not.<br />

It’s not easy to say, but if asked how other people see us, I think they<br />

consider us a leader in visual technology and visualization for architectural<br />

design presentations. Everyone will think of us as the first place<br />

where art and technology were perfectly combined.”


professional<br />

DEPTH OF FIELD<br />

160 161<br />

Visualization as a presentation<br />

“Our new products or services arise from two main factors. The first one is the<br />

customer. Customers always ask, What’s new? Can you do that? Can you do<br />

this? 7-8 years ago, drones were introduced to help with photography, and<br />

our clients started asking. At that time, we had just launched our architectural<br />

photography services, both aerial and ground. So we started expanding<br />

into a second division, Sky|Ground, from then on. That is the first factor. The<br />

other is the scope of our interests in new technology.”<br />

06<br />

ตัวอย่างผลงานของ<br />

DOF-CPAC Smart City<br />

Interactive 3D Website<br />

หลังจากที่เริ่มเข้ามาทำางานที่บริษัทนักสร้างภาพมือใหม่จะ<br />

ได้ฝึกฝน ปรับพื้นฐานทั้งในเรื่องของการใช้โปรแกรม<br />

เครื่องมือ และอุปกรณ์ต่างๆ รวมถึงการปรับพื้นฐานมุมมอง<br />

ทางภาพเพื่อให้มองเห็นความสวยงามไปในทิศทางเดียวกัน<br />

โดยน้องใหม่ที่เข้ามาทำางานที่ DOF ทุกคนในช่วงแรก ช่วง<br />

ของทดลองงานจะเป็นช่วงระยะเวลาที่ทุกคนๆ จะได้รับการ<br />

ฝึกฝนการทำางานเป็นหลัก และพวกเขาเกือบจะไม่ได้ทำางาน<br />

จริงที่จะส่งให้กับทางลูกค้าเลย พวกเขาจะได้รับมอบหมาย<br />

ให้ทำางานแบบเคสและเข้าห้องเรียนอย่างเดียว จนครบระยะ<br />

เวลาสามเดือน ทางบริษัทจึงจะเริ่มมอบหมายงานที่เป็น<br />

โปรเจกต์ส่วนตัวให้เข้าไปทำาไปซึ่งจะทำากันไปเรื่อยๆ กระทั่ง<br />

ถึงช่วงเวลาหนึ่งจึงจะเริ่มมอบหมายงานจริงของลูกค้าใน<br />

ลักษณะโปรเจกต์ขนาดเล็กให้ได้เริ่มลงมือจัดการ ณ จุดนี้ก็<br />

จะสะท้อนให้เห็นถึงสิ่งที่ DOF มักจะเน้นยำ้ำอยู่เสมอ นั่นคือ<br />

เรื่องของการเรียนรู้และการฝึกฝนที่อาจจะมีความจริงจังและ<br />

แตกต่างจากที่อื่นๆ<br />

“ถ้าหากนับงานในศาสตร์ที่เป็ น 3D rendering แต่<br />

ก่อนเลยอย่างงานประเภทนี้ที่เมื่อเราทำออกมาแล้ว<br />

เหมือนภาพถ่าย จะถูกมองว่าเป็ นงานที่มีความสวยงาม<br />

และมีคุณภาพที่ดี แต่ว่าในตอนหลังๆ เรามองว่า แค่นั้น<br />

ยังไม่เพียงพอเพราะว่า มันยังคงต้องมีความสวยงาม<br />

ในแง่ของศิลปะเข้ามาผสมสานอยู่ด้วย หรือว่าภาพ<br />

ถ่ายเข้าไปรวมอยู่ด้วย หลายๆ งานที่เราทำงานใน<br />

ช่วงหลังก็มีลักษณะที่สมจริงและมีความสวยงามในแง่<br />

องค์ประกอบทางด้านศิลปะ รวมถึงภาพถ่ายอีกด้วย<br />

ต่อมาสำหรับภาพถ่ายเราเองก็จะเน้นเรื่องของการจัด<br />

องค์ประกอบของภาพด้านสีสันและการเกลี่ยสีต่างๆ<br />

ถ้าหากจะเรียกว่าเป็ นอัตลักษณ์ ได้ ไหมคงตอบได้ยาก<br />

อยู่ แต่ถ้าถามว่าคนอื่นมองเราอย่างไร ผมว่าพวกเขา<br />

มองเราในแง่ผู้นำทางด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการ<br />

สร้างภาพ (visual technology) การทำภาพสำหรับ<br />

การนำเสนองานออกแบบสถาปั ตยกรรม ทุกคนก็จะ<br />

นึกถึงที่เราเป็ นที่แรกๆ ซึ ่งได้นำศิลปะกับเทคโนโลยีมา<br />

รวมเข้าไว้ด้วยกัน”<br />

Visualization as a presentation<br />

“โปรดักส์ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นของเรา เกิดขึ้นจากสองปัจจัยหลัก<br />

ปัจจัยแรกคือลูกค้า ลูกค้ามักจะถามว่ามีอะไรใหม่บ้าง? ทำา<br />

อย่างนั้นได้ไหม? ทำาอย่างนี้ได้ไหม? โดยช่วงเวลาประมาณ<br />

7-8 ปีที่แล้ว ได้เริ่มนำาโดรนเข้ามาช่วยในการถ่ายภาพ ลูกค้า<br />

ก็เริ่มถามหา และในช่วงเวลานั้นเองได้ประจวบเหมาะกับการ<br />

เปิดบริการการถ่ายภาพ ทั้งถ่ายภาพทางอากาศ และภาพ<br />

สถาปัตยกรรมระดับภาคพื้นดินในรูปแบบปกติด้วย เราจึงเริ่ม<br />

ขยายเปิดเป็นแผนกที่สอง ‘Sky|Ground’ ตั้งแต่ตอนนั้น และ<br />

อีกปัจจัยก็คือขอบเขตความสนใจทางด้านเทคโนโลยีของเรา”<br />

6 8<br />

7<br />

07-08<br />

DOF มีกระบวนการแลก<br />

เปลี่ยนการทำางานที่ฝึกฝน<br />

พนักงานใหม่ก่อนทำางาน<br />

จริงกับลูกค้า<br />

DOF provides a wide range of services on visualizations for presentations, ranging from<br />

architectural photography, short films, animation, CGI, VFX, and 360-degree virtual tours<br />

to 3D virtual tours. Even the introduction of virtual world technology such as VR (Virtual<br />

Reality) and AR (Augmented Reality) to the virtual world (Metaverse) is part of their scope<br />

of work. Presentation by visualization of a building being constructed or objects in 3D in<br />

any media is necessary for the sale or presentation of real estate companies, companies<br />

selling home appliances, designers, and architects to show a realistic image of a project or<br />

design when completed. In addition to the presentation, if we look at it in another dimension<br />

with the visualization state, the visualization process is no different from building a virtual<br />

architecture. Assembling plans and simulations in each view together allows the viewers<br />

to go beyond space and time. It brings the future into the present.<br />

“Our difference from other studios is, first of all, the scale of the<br />

project, which is large and detailed. Our customers are usually<br />

large companies. Secondly, about style and aesthetic, and thirdly,<br />

which is the most important one: we can provide a good solution<br />

to the brief, and we always understand what our clients want. We<br />

know the quality they expect, and we deliver the work that they can<br />

effectively use.”<br />

The ‘VR Innovative Media Lab’ service is the latest unit in operation since 2005, focusing<br />

on real-time interactive media and state-of-the-art display technology. This service was<br />

created in response to customer needs, technological advancements, and the availability<br />

of both technical and personnel resources. This next step has taken production to a higher<br />

level, combining real-time display technology with VR (Virtual Reality) and 3D visualization.<br />

Bangkokverse as a real-time space<br />

As the trend of the metaverse has been widely discussed lately, DOF is one of the studios<br />

that sees a unique potential in the new space that can be applied to the new possibilities<br />

that connect each area. In other words, the metaverse is a virtual space in three dimensions<br />

accessible online from anywhere in the world through one particular platform and interactions,<br />

including having or sharing experiences. Krittapak added that this is a step forward from<br />

the services DOF is already providing, whether VR (Virtual Reality), virtual tours, or real-time<br />

rendering. All of this know-how is within the framework of their existing services. So, getting<br />

involved in this new technology trend is relatively easy to cope with. It can be applied to<br />

create an intriguing new form of presentation. All these factors led to the development of a<br />

new virtual space platform, Bangkokverse, to provide more comprehensive support for the<br />

currently available services for their clients. All management systems of a metaverse will be<br />

supported by DOF and ready to operate for the project owner.


PROFESSIONAL<br />

DEPTH OF FIELD<br />

162 163<br />

09<br />

ตัวอย่างผลงาน<br />

3D Visualization<br />

7<br />

9


professional<br />

DEPTH OF FIELD<br />

164 165<br />

“We also created Bangkokverse, which is the same platform<br />

as Metaverse and will be used to present architectural and<br />

interior design, especially for real estate developers. The<br />

project can be viewed in 3D in real-time from anywhere online,<br />

either through a mobile phone or VR. What is distinctive of<br />

Bangkokverse is that anyone can enter through the avatar<br />

and interact with each other or join the conversation at the<br />

same place.”<br />

DOF ดำาเนินการสร้างภาพเพื่อการนำาเสนอไว้อย่าง<br />

หลากหลายรูปแบบนับตั้งแต่ในระดับมาตรฐานทั่วไป<br />

อย่างภาพถ่ายหรือภาพยนตร์สั้น แอนิเมชั่น CGI VFX ทัวร์<br />

เสมือนจริง 360 องศา หรือทัวร์เสมือนจริงสามมิติ กระทั่ง<br />

การนำาเทคโนโลยีโลกเสมือน อย่าง VR (Virtual Reality)<br />

AR (Augmented Reality) ไปจนถึงพื้นที่โลกเสมือน<br />

(Metaverse) มาเป็นอีกขอบเขตการทำางาน การนำาเสนอ<br />

ด้วยการสร้างภาพแบบจำาลองอาคารที่กำาลังจะดำาเนิน<br />

การก่อสร้างหรือสิ่งของในรูปแบบสามมิติไม่ว่าจะด้วยสื่อ<br />

ใดก็ตาม ล้วนเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับใช้ประกอบการเสนอ<br />

ขายหรือนำาเสนอของบริษัทอสังหาริมทรัพย์ บริษัทจัด<br />

จำาหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ในบ้าน นักออกแบบ และ/หรือ<br />

สถาปนิก เพื่อแสดงภาพเสมือนจริงในอนาคตของโครงการ<br />

หรืองานออกแบบ นอกเหนือจากหน้าที่เสนอภาพ ถ้าหาก<br />

ลองพิจารณาในอีกมิติด้วยสถานะการสร้างภาพจำาลอง<br />

กระบวนการทำาให้เป็นภาพก็จะไม่ต่างอะไรจากการสร้าง<br />

สถาปัตยกรรมจำาลองแบบเสมือนจริง ด้วยการประกอบ<br />

แปลนและภาพจำาลองในแต่ละมุมมองเข้าไว้ด้วยกัน อีกทั้ง<br />

ยังตัดข้ามเส้นเวลาย่นย่ออนาคตเข้าร่วมไว้กับปัจจุบัน<br />

“ข้อแตกต่างของเราจากผู้ประกอบการรายอื่นคือ<br />

อันดับแรก เรื่องขนาดของโปรเจกต์ที่จะมีขนาดใหญ่<br />

และรายละเอียดสูง โดยลูกค้าที่จะมาใช้บริการของเรา<br />

มักจะเป็ นกลุ่มบริษัทขนาดใหญ่ สอง เรื่องสไตล์และ<br />

ความสวยงาม สาม ซึ ่งเป็ นจุดสำคัญคือ เราสามารถ<br />

ตอบโจทย์และเข้าใจถึงสิ่งที่บริษัทหรือผู้ประกอบการ<br />

ต้องการได้อย่างดี โดยรู้ว่าคุณภาพของงานแบบไหน<br />

ที่ลูกค้าต้องการ และสามารถนำไปใช้งานได้ ในลำดับ<br />

ถัดไป”<br />

ส่วนบริการ ‘VR Innovative Media Lab’ เป็นส่วนที่เปิด<br />

ดำาเนินการล่าสุดนับตั้งแต่ปี 2005 โดยมุ่งเน้นที่สื่ออินเทอร์-<br />

10<br />

แอคทีฟแบบเรียลไทม์ ตลอดจนเทคโนโลยีการแสดงผลที่<br />

ลำ้ำสมัย ในส่วนบริการนี้ได้ถือกำาเนิดขึ้นสอดคล้องไปกับ<br />

ความต้องการของลูกค้าและการก้าวพัฒนาของเทคโนโลยี<br />

ประกอบกับความพร้อมทั้งทางด้านเทคนิคและบุคลากร โดย<br />

เป็นก้าวเดินต่อไปที่ได้ขยับปรับปรุงระดับการสร้างสรรค์<br />

ผลงานให้ไปอีกขั้นด้วยการผนวกเทคโนโลยีแสดงผลแบบ<br />

เรียลไทม์เข้ามาเสริมกับ VR (Virtual Reality) และการ<br />

ทำางานของภาพสามมิติ<br />

Bangkokverse as a real-time space<br />

จากกระแสพื้นที่โลกเสมือน (Metaverse) ได้เป็นที่กล่าวถึง<br />

อย่างกว้างขวางในช่วงที่ผ่านมา DOF ก็เป็นอีกสตูดิโอหนึ่ง<br />

ที่ได้เล็งเห็นถึงศักยภาพเฉพาะตัวของพื้นที่ที่สามารถนำามา<br />

ประยุกต์ใช้กับความเป็นไปได้ใหม่ที่เชื่อมพื้นที่แต่ละแห่ง<br />

เข้าไว้ด้วยกัน กล่าวคือพื้นที่โลกเสมือนเป็นพื้นที่เสมือนจริง<br />

ในรูปแบบสามมิติบนโลกออนไลน์ โดยผู้คนสามารถเข้าถึง<br />

จากที่ได้ก็ได้บนโลกผ่านแพลตฟอร์มหนึ่งและเข้ามาสร้าง<br />

ปฏิสัมพันธ์ รวมถึงประสบการณ์ต่างๆ ร่วมกัน กฤตภัค<br />

กล่าวเสริมว่าจริงแล้วนี้ก็เป็นการเดินต่อไปอีกก้าวจากสิ่งที่<br />

ได้ดำาเนินการอยู่ อย่าง VR (Virtual Reality) ทัวร์เสมือนจริง<br />

และ Real-time rendering จะเห็นได้ว่าส่วนต่างๆ ที่ประกอบ<br />

สร้างพื้นที่เสมือนจริงล้วนอยู่ภายใต้กรอบการบริการที่มีอยู่<br />

ของพวกเขา ดังนั้นการเข้าไปมีส่วนร่วมกับกระแสเทคโนโลยี<br />

ใหม่นี้จึงไม่ยากที่จะรับมือ ในขณะเดียวกันก็สามารถเข้ามา<br />

เสริมสร้างการนำาเสนอรูปแบบใหม่ได้อย่างน่าสนใจ ทั้งหมด<br />

จึงนำาไปสู่การพัฒนาอีกหนึ่งแพลตฟอร์มของพื้นที่โลกเสมือน<br />

ขึ้นมาใหม่ ‘Bangkokverse’ เพื่อรองรับการเข้ามาใช้พื้นที่หรือ<br />

ทำาบริการพื้นที่ของลูกค้า โดยการจัดทำาแพลตฟอร์มขึ้นมานั้น<br />

จะมีระบบการจัดการต่างๆ ทั้งหมดรองรับพร้อมดำาเนินการ<br />

ไม่ต้องให้ลูกค้ามาจัดการเองขึ้นมาใหม่ทั้งหมด<br />

10<br />

Interactive<br />

3D Hologram<br />

<strong>11</strong>-12<br />

การนำาเทคโนโลยี VR และ<br />

AR พัฒนาเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของการทำางานนำาเสนอ<br />

<strong>11</strong><br />

This virtual space will become a new medium and a new method of design presentation. It<br />

will transform the conventional way and go beyond today’s architectural design process. It<br />

pushes the boundaries of defining a three-dimensional view on a flat screen by transporting<br />

users into the real world to live as an avatar in the virtual world. This will enable them to meet<br />

in another space in a virtual format. For example, the architect or designer lives in Bangkok<br />

while the project owner is in another area. In this case, the link can be delivered to the owner.<br />

The architect or interior designer who wants to take the owner furniture shopping can then<br />

walk in and check in with the customer at the same time. Previously, we had to visit and<br />

choose from different showrooms or see each other through online platforms. But thanks to<br />

these technologies, they can create a ‘virtual showroom’ with products in 3D, which allows<br />

them to look at the furniture together. Or, if inserting VR, it will be like entering a virtual<br />

space where they can stand and look at the same chair and click to select the option in the<br />

following order: It can also enhance the perception of the actual size of the object. This will<br />

be different from looking through a two-dimensional web page. According to DOF, these<br />

newly generated spaces are not a new tool to replace the real ones, but Metaverse will be<br />

a perfect tool to fulfill the limitations of actual space, distance, or even time. Everything can<br />

be minimized to converge and be completed in one place.<br />

“In the future, there could be an AI that we just input commands<br />

into, and it will output designs and architecture with<br />

beautiful 3D renderings. We don’t need to do anything but<br />

enter commands. AI still has some limitations when working<br />

on the different layers of detail. That is to say, AI may be able<br />

to create only at the concept level. Later, the designer had to<br />

execute the details themselves. Yet, who knows, the AI might<br />

work by itself perfectly in the future.”<br />

12<br />

Develop in Depth<br />

On the company’s future expansion goals, Krittapak shared the picture of the drivetrain that<br />

corresponds to the interests of the team and the company. Each of those parts leading up<br />

to the development or growth will be related to their existing scope of services. So, if there<br />

is any expansion in the future, it would not be a new service beyond the range of services<br />

that DOF already provides. Still, it could be to increase the form of their services to be more<br />

diverse in related or similar fields, whether in design or construction work.


professional<br />

DEPTH OF FIELD<br />

166 167<br />

13<br />

360 content/<br />

Immersive Theater<br />

In ending the conversation, Krittapak emphasizes that his career goals may remain the same<br />

as those stated earlier: to focus primarily on clients. In working with DOF, the clients must be<br />

happy and satisfied with the designs they deliver, and the team must also be happy to work.<br />

“This will always remain our continuing goal, no matter how we change,<br />

reform, or expand our service.”<br />

www.facebook.com/DOFThailand<br />

“Bangkokverse ก็คือพื้นที่แพลตฟอร์มเดียวกัน<br />

“ในอนาคตอาจจะมี AI ที่สามารถป้ อนคำสั่งเข้าไป<br />

กับ Metaverse ซึ ่งจะถูกนำมาใช้นำเสนอชิ้นงานทาง<br />

แล้วสร้างสรรค์งานออกแบบและสถาปั ตยกรรม หรือ<br />

ด้านการออกแบบ และอสังหาริมทรัพย์ โดยที่ผู้ ใช้งาน<br />

ห้อง 3D rendering ออกมาได้อย่างสวยงาม โดยที่<br />

สามารถเข้าไปชมชิ้นงานบนมุมมองสามมิติในรูปแบบ<br />

เราไม่จำเป็ นต้องทำอะไรเลย นอกจากการป้ อนคำสั่ง<br />

เรียลไทม์จากที่ใดก็ได้ ในโลกผ่านทางคอมพิวเตอร์<br />

แต่อย่างไรก็ตาม AI ก็ยังคงมีข้อจำกัดบางประการใน<br />

ผ่านทางโทรศั พท์มือถือ หรือผ่านทาง VR ก็ได้ ที่พิเศษ<br />

การจัดการระดับรายละเอียด คือ AI อาจจะสามารถ<br />

ก็คือเราจะสามารถเข้าไปผ่านทางตัว avatar แล้วก็มี<br />

สร้างสรรค์แค่ในระดับคอนเซ็ปต์ ต่อมาตัวผู้ออกแบบ<br />

การโต้ตอบกับคนอื่น ไปร่วมพู ดคุยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน”<br />

จำเป็ นต้องมาปรับแต่ในส่วนของรายละเอียดด้วย<br />

อาจกล่าวได้ว่า พื้นที่โลกเสมือนจะกลายเป็นสื่อกลางที่จะ<br />

พลิกหรือเปลี่ยนโฉมการนำาเสนอทางด้านงานออกแบบและ<br />

สถาปัตยกรรมให้ไปไกลกว่าที่เป็นอยู่ ทำาลายกรอบกำาหนด<br />

มุมมองสามมิติที่แสดงบนพื้นผิวแบนราบของหน้าจอ โดย<br />

นำาตัวเราในโลกจริงเข้าไปดำารงอยู่บนรูปลักษณ์ Avatar ณ<br />

พื้นที่โลกเสมือน ซึ่งจะทำาให้สามารถไปพบปะกันบนพื้นที่<br />

จริงอีกแห่งในรูปแบบเสมือน ยกตัวอย่างเช่น นักออกแบบ<br />

อยู่อาศัยที่กรุงเทพ โดยมีลูกค้าอยู่อีกพื้นที่หนึ่ง ในกรณีนี้ก็<br />

จะสามารถจัดส่งลิงก์ให้กับลูกค้า และเดินเข้าไปตรวจแบบ<br />

ร่วมกับลูกค้าได้ในเวลาเดียวกัน หรือว่านักออกแบบภายใน<br />

ที่จะต้องการพาลูกค้าไปเลือกเฟอร์นิเจอร์ ซึ่งก่อนหน้านี้ก็<br />

ต้องไปเดินเลือกกันตามโชว์รูมต่างๆ หรือว่าจะดูกันผ่าน<br />

แพลตฟอร์มออนไลน์ แต่เนื่องด้วยเทคโนโลยีเหล่านี้ก็จะ<br />

สามารถก่อให้เกิด ‘virtual showroom’ โดยมีผลิตภัณฑ์ใน<br />

รูปแบบสามมิติ ที่เอื้อให้สามารถเข้าไปดูพร้อมกันได้ หรือ<br />

ยิ่งไปกว่านั้นถ้าหากใส่ VR ก็จะเหมือนกับไปเข้าไปยังพื้นที่<br />

เสมือน ยืนดูเก้าอี้ตัวเดียวกัน และยังสามารถกดคลิกเลือก<br />

ตัวเลือกในลำาดับถัดไป อีกทั้งเสริมสร้างการรับรู้ทางด้าน<br />

ขนาดจริงของวัตถุได้อีกด้วย ซึ่งก็จะไม่เหมือนกับที่เราดู<br />

ผ่านหน้าเว็บสองมิติอีกต่อไป ภายใต้มุมมองการทำางานของ<br />

DOF พื้นที่ที่ถูกสร้างขึ้นเหล่านี้จึงไม่ใช่พื้นที่ใหม่ซึ่งจะเข้า<br />

มาแทนที่พื้นที่จริง หากแต่เป็นพื้นที่เสมือนที่คอยเติมเต็ม<br />

ข้อจำากัดต่างๆ ของพื้นที่จริงกับระยะทางหรือแม้กระทั่งเวลา<br />

ได้อย่างสมบูรณ์แบบ โดยที่ทุกอย่างได้ถูกย่นย่อให้บรรจบ<br />

และเสร็จสรรพอยู่ภายในพื้นที่เพียงแห่งเดียว<br />

ตนเอง กระนั้นก็ตามในอนาคตต่อไป AI ก็อาจจะ<br />

จัดการทำงานออกมาได้อย่างสมบูรณ์แบบก็เป็ นไปได้”<br />

Develop in Depth<br />

สำาหรับเป้าหมายในการขยายตัวของบริษัท กฤตภัคได้กล่าว<br />

ขยายภาพการปรับเปลี่ยนขับเคลื่อนที่สอดคล้องล้อรับไปกับ<br />

รูปแบบความสนใจของทั้งทางทีมงานและบริษัท โดยในแต่<br />

ละส่วนที่นำาไปสู่การปรับพัฒนาจะมีความเกี่ยวเนื่องกับขอบ-<br />

เขตบริการที่มีอยู่ของพวกเขา ดังนั้นถ้าหากในอนาคตเกิด<br />

การขยายตัวเติบโตก็คงไม่เป็นการพลิกโฉมเปิดตัวบริการ<br />

ใหม่ที่เกินเลยไปกว่าขอบเขตการบริการต่างๆ ที่เชี่ยวชาญ<br />

แต่อาจจะเป็นการเพิ่มรูปแบบบริการของพวกเขาให้มีความ<br />

หลากหลายมากยิ่งขึ้นโดยอาจจะเป็นแขนงที่เกี่ยวเนื่อง<br />

หรือใกล้เคียงกัน ไม่ว่าจะเป็นในด้านการออกแบบ หรืองาน<br />

ก่อสร้าง<br />

แต่ในขณะเดียวกันเขาก็ตอกยำ้ำถึงเป้าหมายในการทำางาน<br />

ที่อาจจะยังคงไว้เช่นเดิมตามดังที่กล่าวไว้ในตอนต้น คือ<br />

การให้ความสำาคัญกับลูกค้าเป็นหลัก โดยที่ลูกค้าต้องมี<br />

ความสุขและความพึงพอใจกับผลงานออกแบบที่พวกเขา<br />

ได้สร้างสรรค์ และสำาหรับศิลปิน รวมถึงทีมงานก็จะต้องมี<br />

ความสุขกับการทำางานด้วยเช่นกัน<br />

“ตรงนี้ก็จะยังคงเป็ นเป้ าหมายที่จะยังยึดมั่นเอาไว้เช่น<br />

นั้นตลอดเวลาไม่ว่าเราจะปรับเปลี่ยนบริการไปในด้าน<br />

ใดก็ตาม”<br />

สุระวิทย์ บุญจู<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

โบราณคดี มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร ปั จจุบันมีความ<br />

สนใจด้านงานศิลปะ<br />

วัฒนธรรม ทั้งแบบ<br />

ประเพณีและร่วมสมัย<br />

Surawit Boonjoo<br />

Graduated from the<br />

Faculty of Archeology,<br />

Silpakorn University.<br />

His interest currently<br />

is in art and culture,<br />

both traditional and<br />

contemporary.<br />

13


168<br />

professional / studio<br />

AOMO ARCHITECTURE OF MY OWN<br />

169<br />

ทีมงาน AOMO (Architecture of My Own)<br />

ช่วยเล่าถึงที่มาที่ไปของ ‘AOM’ ได้ไหมว่า<br />

เริ่มต้นขึ ้นได้อย่างไร?<br />

หลังสำเร็จการศึกษาจากคณะสถาปัตยกรรม-<br />

ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผมก็ได้<br />

ทำงานอยู่ราว 4-5 ปี ก่อนเดินทางไปศึกษาต่อ<br />

ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากนั้นก็กลับมา<br />

ที่ประเทศไทยราวปี 2005 ผมได้ทำงานอยู่กับ<br />

บริษัทรับออกแบบสถาปัตยกรรมอยู่ราวๆ 9 ปี<br />

ก่อนมองว่างานออกแบบในสเกลใหญ่ๆ เริ่มไม่<br />

ตอบโจทย์กับแนวทางการทำงานของผมเอง<br />

ผมจึงตัดสินใจลาออก ประกอบกับในขณะนั้น<br />

มีงานเข้ามาอย่างพอดิบพอดี ผมจึง ตั้งบริษัท<br />

‘AOMO’ (Architecture of My Own) ขึ้นมา<br />

หรือถ้าจะแปลเป็นไทยก็คือบริษัทของผมเอง<br />

ซึ่งผมจะทำอะไรก็ได้ อยากทำอะไรก็ทำ โดย<br />

มีอิสระในการจัดการสิ่งต่างๆ ทั้งหมดก็จะเริ่ม<br />

ต้นขึ้นจากตรงจุดนี้ โดยในปัจจุบัน บริษัทก็เปิด<br />

ทำการมากว่า 8 ปีครึ่งแล้วครับ<br />

งานในแต่ละส่วนของบริษัทมีการแบ่งหน้าที่<br />

จัดการกันอย่างไร?<br />

บริษัทของเราประกอบไปด้วยทีมงานสถาปนิก<br />

จำนวน 6 คน นักออกแบบภายใน 3 คน เจ้า-<br />

หน้าที่ธุรการพร้อมกับทำหน้าที่เลขาอีก 1 คน<br />

รวมกับผมไปด้วยทั้งหมดก็จะเป็น <strong>11</strong> คนครับ<br />

แต่การดำเนินงานทุกส่วนก็จะเริ่มต้น ผ่านผม<br />

ทั้งหมดก่อน จากนั้นผมก็จะเริ่มวาง planning<br />

ของแต่ละโปรเจกต์ ก่อนจะเริ่มกระจายส่งงาน<br />

ไปให้น้องๆ มาช่วยกัน หรือรับผิดชอบจัดการ<br />

ร่วมถึงพัฒนา หรือในบางครั้งสำหรับโปรเจกต์<br />

ขนาดใหญ่ก็จะมี 2-3 คนเข้ามารวมกัน และจะ<br />

พยายามร่วมระดมความคิดมองหาแนวทาง และ<br />

แจกจ่ายงานกันไปให้จัดการคนละ 1-2 สกรีน<br />

ก่อนนำมา ร่วมพิจารณาด้วยกันอีกครั้งหนึ่ง โดย<br />

การมองหาข้อดี-ข้อเสีย และพยายามพลักดันให้<br />

งานของน้องๆ ที่ทำมา มีข้อเสียน้อยที่สุดหรือมี<br />

ข้อดีมากยิ่งขึ้น แล้วจึงนำไปเสนอลูกค้ าพร้อมๆ<br />

กัน โดยไม่จำกัดว่าจะต้องเป็นงานออกแบบ ของ<br />

ผม หรือของน้องๆ คนใดคนหนึ่งเท่านั้น เพราะ<br />

ทุกงานที่ส่งไปล้วนแต่เป็นงานได้รับการคัดแล้ว<br />

ว่ามีความพร้อม และดีที่สุด<br />

ช่วยเล่าและขยายความถึงแนวทางปรัชญา<br />

ในการทำงานออกแบบที่คุณพู ดว่า<br />

“สถาปั ตยกรรมที่เรียบง่าย แต่ไม่เลี่ยน”<br />

ให้ฟั งหน่อยได้ไหม?<br />

แนวทางของเราคือการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ที่ไม่ได้เน้นในเรื่องรูปทรงของอาคาร ดังนั้นการ<br />

ออกแบบรูปแบบอาคารของเราจึงจะเรียบ พอ<br />

อาคารมีความเรียบ เราจึงมองหาว่าความน่าสนใจ<br />

ของอาคาร โดยจะมองหาจากอะไรได้บ้างนั้น<br />

ก็เหลือเพียงในส่วนการจัดการ เรื่องรายละเอียด<br />

วัสดุ และมิติแสง-เงาต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นกับทรวด-<br />

ทรงของอาคาร ดังนั้นในการทำงานออกแบบของ<br />

เราจึงจะคิดอยู่เสมอว่า เราจะต้องไม่ทำอะไรที่<br />

เกินเลยไปกว่าความเป็นจริง หรือหยิบยื่นอะไร<br />

ที่ไม่จำเป็นให้กับลูกค้ า อย่างงานส่วนประกอบ<br />

การตกแต่ง เราก็มักจะไม่ใส่เลย ยกเว้นแต่ว่าถ้า<br />

หากเติมเข้าไปแล้วจะสามารถเสริมฟังก์ชัน<br />

เข้ามาได้เราจึงจะใส่เข้าไป ผมจึงมักจะกำซับกับ<br />

น้องๆ เสมอว่าให้ใช้เงินลูกค้าเหมือนกับใช้เงิน<br />

ของตนเอง ในจุดนี้เองงานออกแบบจึงนำไปสู่<br />

ความเข้าใจจริงๆ ว่าอันนี้ที่จำเป็นต้องมี และ<br />

อันไหนเป็นสิ่งที่ฟุ่มเฟือยก็จะถูกตัดออก และ<br />

AOMO<br />

Architecture<br />

of My Own<br />

Sivichai Udomvoranun<br />

ด้วยความ ‘เรียบแต่ไม่เลี่ยน’ ก็ยังง่ ายต่อการ<br />

จัดการดูแลรักษาได้มากกว่าอาคารที่ มีลูกเล่น<br />

ทางด้านรูปทรงอีกด้วย<br />

ช่วยยกตัวอย่างผลงานออกแบบที่รู้สึก<br />

ท้าทายหรือประทับใจให้เราฟั งได้ไหม?<br />

ผมนึกถึงงานออกแบบตลาดในย่านลาดกระบัง<br />

แห่งหนึ่ง เพราะเป็นอันแรกๆ เลยที่ยังคงงงอยู่ว่ า<br />

“เราจะทำงาน ออกแบบตลาดหรือ?” แต่อย่างที่<br />

ได้บอกไปแล้ว ผมก็ได้ถามกับเจ้าของโครงการ<br />

ว่าจะให้เราออกแบบตลาดจริงๆ หรือ และคุณ<br />

อยากได้อะไรจากงานออกแบบของเรา เขาก็บอก<br />

กับเราว่า เขาอยากได้ตลาดที่ดึงดูดคน เหมือน<br />

เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวมากกว่าเป็นตลาดธรรมดา<br />

โดยตลาดแห่งนี้จะเป็นตลาดขายของในรูปแบบ<br />

คล้ายๆ กับตลาดจตุจักร ความท้าทายสำหรับ<br />

โปรเจกต์นี้ก็คือ เราต้องไปทำงานกับโครงสร้าง<br />

เหล็กที่เป็นเหล็กหล่อหรือเหล็กรูปพรรณ และ<br />

เนื่องจากเราต้องการโชว์โครงสร้างหลังคาทั้งหมด<br />

ประกอบกับความต้องการของเจ้าของที่จะใช้<br />

เหล็ก ซึ่งดูแพงกว่าเหล็กรูปแบบทั่วไป จึงเกิด<br />

เป็นโปรเจกต์แรกด้วยเช่นกันที่เราทำงานร่วมกับ<br />

Siam Yamato Steel (SYS)<br />

โครงสร้างทั้งหมดจะถูกยกมาและนำมาประกอบ<br />

หน้างาน โดยที่ไม่มีการเชื่อมแม้แต่น้อย เฉพาะ<br />

นั้นความผิดพลาดจึงมีได้น้อยมาก อาจจะเพียง<br />

2 มิลลิเมตรเท่านั้น ดังนั้นทุกอย่ างจึงใช้การเชื่อม<br />

ติดด้วยนอตทุกจุด การทำงานแบบนี้จึงเป็น อะไร<br />

ที่แปลกใหม่ในการทำงานทั้งในเรื่องขนาดของ<br />

โปรเจกต์และรูปแบบ โดยจริงๆ ในต่างประเทศ<br />

ผมเคยทำมาก่อน แต่ที่ประเทศไทยยังไม่เคย<br />

เจอใครทำโปรเจกต์ขนาดเล็กแบบนี้ ทางเราได้<br />

เข้ามาช่วยเจ้าของตลาดตั้งแต่หาผู้รับเหมา ต่อ<br />

รองราคา หา subcontractor มาช่วย จนกระทั่ง<br />

ราคาออกมาถูกมาก คืออยู่ในราคาช่วงหมื่นต้นๆ<br />

ก็จะสามารถสร้างได้แล้ว อีกทั้งรูปลักษณ์ที่ออก<br />

มาก็ตอบสนองต่อสภาพอากาศ ลม ฝน และยัง<br />

มีความน่าสนใจด้านรูปทรง ด้วยเช่นกัน แม้โครง-<br />

สร้างจะเป็นรูปแบบเพิงหมาแหงนธรมดา แต่เรา<br />

ก็ไปปรับ ดัดแปลงเล็กน้อยให้ดูน่ าสนใจยิ่งขึ้น<br />

ตลาดแห่งนี้ก็ได้ผลตอบรับค่อนข้ างดีนะครับ<br />

คุณมองว่าอะไรเป็ นตัวตนหรืออัตลักษณ์<br />

ความเป็ น ‘AOMO’ ในงานออกแบบ<br />

สถาปั ตยกรรม?<br />

จริงๆ แล้ว ผมคิดว่าเราอาจไม่ได้มีอัตลักษณ์ที่<br />

ชัดเจน คือเราจะปรับเปลี่ยนการจัดการในส่วน<br />

ต่างๆ ไปตามแต่ละโปรเจกต์ หากแต่การดูแล<br />

ในส่วนรายละเอียดของอาคาร เราจะทำในรูป-<br />

แบบที่เนี้ยบกว่าปกติเล็กน้อย เนื่องจาก อาคาร<br />

ที่เราออกแบบค่อนข้างมีความเรียบ ดังนั้นหาก<br />

จะลองมองหรือพิจารณาอัตลักษณ์ของเรา อาจ<br />

จะเป็นเรื่องการทำงานหรือวิธีการคิดจัดการที่<br />

ใส่ใจกับส่วนรายละเอียดเป็นพิเศษครับ<br />

คุณได้วางแผนหรือตั้งเป้ าหมายในอนาคต<br />

สำหรับ ‘AOMO’ ไว้อย่างไรบ้างครับ?<br />

นับแต่แรกแล้วผมออกแบบบริษัทไว้ในรูปแบบ<br />

ที่คนรุ่นใหม่สามารถเข้ามาแทนที่ผมเมื่อไรก็ได้<br />

ผมอาจก็จะวางมือ หรือถอยเข้าไปแล้วให้คนรุ่น<br />

ใหม่เข้ามาดูแล แต่เมื่อมองไปตามความเป็นจริง<br />

ก็ค่อนข้างยากเพราะคนรุ่นใหม่ที่ เข้ามาแทนที่<br />

ก็จำเป็นต้องมีความคิดเห็นการทำงานที่ไปใน<br />

ทิศทางเดียวกันและสามารถทำงานตามแนวทาง<br />

ของเราต่อไปได้ ซึ่งนี่ก็จะช่วยขับเคลื่อนบริษัท<br />

ไปในทิศทางเดิมได้ด้วยแนวทางและปรัชญา<br />

รูปแบบเดิม อย่างไรก็ตาม ค่อนข้างเป็นไปได้<br />

ยากที่จะหาคนซึ่งจะเข้าใจไปกับเราได้ทั้งหมด<br />

จึงอาจต้องบอกว่าต้องคอยดูต่อไปครับ สำหรับ<br />

ในอนาคตจริงๆ ผมก็มีความต้องการที่จะสามารถ<br />

เลือกรับงานได้มากยิ่งขึ้นและเป็นงานที่เราสนใจ<br />

ดูแลจัดการ อีกทั้งยังคาดว่าจะผันบริษัทไปใน<br />

ทิศทางของ developer มากขึ้น ซึ่งก็จะเข้ามา<br />

ตอบโจทย์กับรูปแบบทิศทาง การรับงานที่เรา<br />

ต้องการจะไปให้ถึง<br />

Shopzilla Market<br />

Shopzilla Market


170<br />

professional / studio<br />

AOMO ARCHITECTURE OF MY OWN<br />

171<br />

Shopzilla Market<br />

We pay more attention to the<br />

details, materials, light, and<br />

shadows. In our design, we always<br />

keep in mind that we would not<br />

do anything beyond simplicity,<br />

add anything unnecessary, or<br />

push it too far or over the limit.<br />

I always instruct my juniors to<br />

value customers’ money as if<br />

they were using their own. With<br />

this approach, it’s also easier for<br />

the management and maintenance<br />

of the buildings.<br />

Shopzilla Market<br />

Can you tell us about the origin<br />

of ‘AOMO’ and how it started?<br />

After graduating from the Faculty of<br />

Architecture at Chulalongkorn University,<br />

I worked for 4-5 years before studying in<br />

the United States. After that, I returned to<br />

Thailand around 2005 and later worked<br />

for an architectural design company for<br />

about 9 years. Then I saw that large-scale<br />

design work did not meet my practice philosophy,<br />

so I resigned. Also, at that time,<br />

there was a fair amount of work coming<br />

in. So I set up the company ‘AOMO’<br />

(Architecture of My Own), or, that is to<br />

say, it’s my own company. With that, I<br />

can do anything and do whatever I want,<br />

with the freedom to manage everything.<br />

It all starts from there. AOMO has been<br />

operating for more than eight and a half<br />

years now.<br />

How do you divide the tasks in<br />

each part of the company?<br />

Our company consists of a team of 6<br />

architects, 3 interior designers, administrative<br />

staff, and 1 secretary, together<br />

with me, there are <strong>11</strong> people. But every<br />

aspect of the operation will begin with<br />

me. I will start planning each project and<br />

then distribute the work to the team of<br />

juniors to help each other or be responsible<br />

for managing and developing it. For<br />

larger projects, sometimes 2-3 people<br />

will be assigned to come together and<br />

try to join in brainstorming to look for<br />

design possibilities and work back and<br />

forth before bringing them together to<br />

consider together again, looking for the<br />

pros and cons. We try to assist those<br />

juniors in this process by minimizing disadvantages<br />

and increasing advantages,<br />

and then presenting them to customers at<br />

the same time, regardless of whether it is<br />

my design or any of the team members’.<br />

We consider each project delivered to the<br />

owner to be the best solution for our team.<br />

Could you elaborate on the<br />

studio’s philosophy of “simple<br />

but not bland”?<br />

Our approach is an architectural design<br />

that does not focus on form. Our design<br />

will be simple, and when the building is<br />

simple, we will try to make it interesting.<br />

We will pay attention to the details,<br />

materials, light and shadow, creating<br />

more dimensions for the building. In our<br />

design, we always keep in mind that we<br />

would not do anything beyond simplicity,<br />

add anything unnecessary, or push it<br />

too far or over the limit. For example, we<br />

don’t add any unnecessary decorative<br />

components to the design, except that<br />

we can add functions to it so that we<br />

will put them in. Therefore, I always instruct<br />

my juniors to value customers’<br />

money as if they were using their own.<br />

We can work further if the team understands<br />

this point well. This understanding<br />

is necessary. You need to realize<br />

what is superficial, and if so, it will be cut<br />

off. With this approach, it’s also easier<br />

for the management and maintenance<br />

of the buildings.<br />

Please share some examples<br />

of a design that you think is<br />

challenging or impressive.<br />

I think of a market design in the Lat<br />

Krabang area. At first, I asked myself if<br />

we would design a market. I then asked<br />

the owner if he wanted us to design a<br />

market and what he expected from our<br />

design. The owner told us he wants a<br />

market that attracts people, more like a<br />

tourist attraction than an ordinary market.<br />

It will be of the same type as the Chatuchak<br />

market. The challenge for this project<br />

is that we have to work with steel<br />

structures that are cast iron or structural<br />

steel. And because we want to show the<br />

whole roof structure combined with the<br />

owner’s desire to use steel, which looks<br />

more expensive than conventional steel,<br />

it was also the first project we worked<br />

on with Siam Yamato Steel (SYS).<br />

The entire structure was prefabricated<br />

and assembled on-site with no welding<br />

at all. Only then are there a few mistakes,<br />

and even then, they are only 2 millimeters.<br />

The structure was joined with knots at<br />

every point. For me, it is something new<br />

to work on in terms of project size and<br />

format. Even though I have worked with<br />

such a project type before abroad, in<br />

Thailand, I have never met anyone doing<br />

a small project with this approach. We<br />

have come to help the owner with finding<br />

a contractor, negotiating prices, and<br />

finding subcontractors to help until the<br />

construction cost comes out very cheap.<br />

In addition, the appearance that comes<br />

out responds to the weather, wind or rain,<br />

and has an interesting form. Although<br />

the structure is in the form of an ordinary<br />

lean-to roof, we adjusted it slightly to<br />

make it look more interesting. This market<br />

has received quite a good response.<br />

What do you see as the design<br />

identity of AOMO’s work?<br />

I don’t think we have a particular identity.<br />

We tailor management and design to<br />

each project in different ways, according<br />

to each project. But taking care of<br />

the details of the building could be<br />

something we pay attention to more<br />

than average because our buildings<br />

are pretty simple and straightforward.<br />

So, perhaps our identity is the design<br />

approach that pays special attention<br />

to details.<br />

What are your future plans or<br />

goals for AOMO?<br />

From the beginning, I designed the<br />

company in such a way that the younger<br />

members of the team could take my<br />

place at any time. I might either put my<br />

hands down or step back and let the<br />

new generation take care of it. But it is<br />

not so easy when looking at where we<br />

are now. They need to work in the same<br />

direction and can continue to work as<br />

AOMO, which will help drive the company<br />

in the same direction with the same<br />

approach and philosophy. However, it<br />

is pretty unlikely to find someone now.<br />

I may have to say that I have to keep<br />

watching. Also, in the future, I want to<br />

choose more jobs, and it is the type of<br />

project or work that we are interested<br />

in doing. It is also expected that the<br />

company will shift more in the direction<br />

of developers, which will correspond<br />

to the type of work direction we want<br />

to reach.<br />

www.aomo-architect.com


172<br />

chat<br />

KOMKRIT PANONSATIT<br />

173<br />

จากการพบปะกับประธานสถาปนิกภูมิภาคอื่นๆ ทุกท่านได้หารือกันว่าฝั ่ งบูรพา<br />

น่าจะมีศูนย์เพิ่มขึ ้นมาอีกภูมิภาคหนึ ่ง เพราะเป็ นภูมิภาคเศรษฐกิจอันดับต้นๆ ของ<br />

ประเทศ ทางผู้ ใหญ่จึงเห็นควรจัดตั้งศูนย์และแต่งตั้งคณะกรรมการขึ ้นมา นโยบาย<br />

ของเรามองเรื่องวัตถุประสงค์หลักของสมาคมเป็ นหลัก และเน้นย ้ำเรื่องของการเพิ่ม<br />

จำนวนสมาชิกสมาคมให้ ได้มากขึ ้น เพื่อสร้างความแข็งแกร่งให้กับภูมิภาคของเรา<br />

คมกฤต พานนสถิตย์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกบูรพา<br />

อาษา: ช่วยแนะนำาตัวสั้นๆ พร้อมกับเล่า<br />

จุดเริ ่มต้นของการเข้าร่วมเป็ นส่วนหนึ ่งใน<br />

คณะกรรมการสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ส่วนภูมิภาคได้ ไหม<br />

คมกฤต พานนสถิตย์: ผมเป็นสถาปนิก และเปิดสำานักงาน<br />

สถาปนิกอยู่ในเขตภาคตะวันออก โดยปกติพวกเราก็จับกลุ่ม<br />

กันมาตั้งนานแล้วในส่วนของกลุ่มสถาปนิกภูมิภาคตะวันออก<br />

และก็เพิ่งมีการจัดตั้งศูนย์กันขึ้นไปเมื่อ 2 ปีที่แล้วในช่วงโควิด<br />

นี่เอง สำาหรับตัวผมก็ได้รับการแต่งตั้งเป็นประธานกรรมา-<br />

ธิการสถาปนิกบูรพาในปี 2565 ที่ผ่านมานี้ ส่วนจุดเริ่มต้น<br />

ที่ได้เข้ามารู้จักหรือทำางานตั้งแต่แรก เริ่มจากอดีตประธาน<br />

สถาปนิกบูรพาท่านก่อนได้รวบรวมกลุ่มและชักชวนเข้ามา<br />

อย่างที่กล่าวไปข้างต้นคือเราพบปะและจับกลุ่มกันอยู่แล้ว<br />

ก่อนการจัดตั้งศูนย์ เลยทำาให้มีโอกาสได้พบปะและพูดคุย<br />

กันอยู่ตลอด ไปจนถึงมีโอกาสได้รับข่าวสารและเข้าไปร่วม<br />

งานทั้งในเขตของเราและเขตภูมิภาคอื่นๆ จนในช่วงหลังที่<br />

ได้พบกับประธานสถาปนิกภูมิภาคอื่นๆ ทุกท่านก็ได้หารือ<br />

กันว่าฝั่งบูรพาเราน่าจะมีศูนย์เพิ่มขึ้นมาอีกภูมิภาคหนึ่ง<br />

เพราะเป็นภูมิภาคเศรษฐกิจอันดับต้นๆ ของประเทศ ทาง<br />

ผู้ใหญ่จึงเห็นควรจัดตั้งศูนย์และแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมา<br />

ตอนนั้นจึงได้เสนอเรื่องไปที่ส่วนกลางกัน<br />

อาษา: ก่อนหน้านี้ที่มีการรวมตัวกันแต่ยังไม่มี<br />

การจัดตั้งศูนย์กรรมาธิการสถาปนิกบูรพาขึ ้นมา<br />

ทางส่วนภูมิภาคบูรพาได้มีกิจกรรมอะไรกันบ้าง<br />

คมกฤต พานนสถิตย์: จริงๆ แล้วก่อนหน้านี้เรารวมตัวกัน<br />

จากสภาฯ กันมากกว่า สภาฯ เค้าก็จะติดต่อกลุ่มเราเข้ามา<br />

แล้วก็มีจากทางสมาคมส่วนกลางติดต่อเข้ามาบ้างเหมือนกัน<br />

เพื่อจะมาจัดกิจกรรมสัมมนาหรือพวก Dinner Talk ต่างๆ<br />

โดยส่วนของเราเองที่จัดกันส่วนใหญ่เป็นการรวมกลุ่มศิษย์เก่า<br />

สถาปัตย์ทุกคนที่มาทำางานในแถบภาคตะวันออก ไม่ว่าจะ<br />

จบจากมหาวิทยาลัยอะไร หรือเป็นคนภูมิลำาเนาอื่นๆ เราก็<br />

จะมีการรวมตัวกันมาทำากิจกรรมร่วมกันอยู่เสมอในช่วงที่<br />

ผ่านมา<br />

อาษา: หลังจากมีการตั้งศูนย์และแต่งตั้ง<br />

คณะกรรมการอย่างเป็ นทางการ ปั จจุบัน<br />

กรรมาธิการส่วนภูมิภาคบูรพามีนโยบาย<br />

หรือวิสัยทัศน์อย่างไร<br />

คมกฤต พานนสถิตย์: นโยบายของเรา เรามองเรื่อง<br />

วัตถุประสงค์หลักของสมาคมเป็นหลัก เราก็ดำาเนินตาม<br />

วัตถุประสงค์ของทางส่วนกลางไป แล้วก็เน้นย้ำาเรื่องของ<br />

การเพิ่มจำานวนสมาชิกสมาคมให้ได้มากขึ้น เพื่อสร้างความ<br />

แข็งแกร่งให้กับส่วนภูมิภาคของเรา เนื่องจากการมีสมาชิก<br />

ที่มากขึ้น และการจัดกิจกรรมที่หลากหลายของเรานี้ จะเป็น<br />

อีกกลไกหนึ่งที่ช่วยสร้างประโยชน์ในทางตรงและทางอ้อม<br />

ให้แก่สมาชิก รวมถึงสร้างความเข้าใจเรื่องวิชาชีพของเรา<br />

ให้กับประชาชนส่วนภูมิภาคทั่วไปด้วย<br />

สำาหรับตอนนี้ สมาชิกของเราที่เริ่มต้นกันมาก็มีประมาณ<br />

200 กว่าคนแล้ว ส่วนตอนนี้ที่เรากำาลังพยายามเพิ่มจำานวน<br />

กันอยู่ก็มาแตะๆ ที่ 300 คนแล้ว ซึ่งก็เป็นจำานวนที่เพิ่มขึ้นใน<br />

ปริมาณที่น่าสนใจ เพราะภูมิภาคบูรพาของเรามีสถาบันหรือ<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และสาขาสถาปัตยกรรมหลักกัน<br />

น้อยมาก ตรงนี้ผมเลยคิดว่าถ้ามองย้อนกลับไปหากภูมิภาค<br />

ของเรามีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์กันมาก่อนแล้ว ทั้งศูนย์<br />

และคณะกรรมการของเราก็น่าจะถูกจัดตั้งขึ้นมานานแล้ว<br />

เช่นกัน แต่ด้วยที่ภูมิภาคของเราเองนั้นมีศักยภาพในด้าน<br />

การพัฒนาพื้นที่และเศรษฐกิจค่อนข้างสูง ดังนั้นจึงจำาเป็น<br />

ต้องมีศูนย์กรรมาธิการตรงนี้มาช่วยดูแลสมาชิก


174<br />

chat<br />

อาษา: จากการจัดตั้งศูนย์ตลอด 2 ปี<br />

ที่ผ่านมามีโครงการอะไรบ้าง และได้รับ<br />

ผลตอบรับอย่างไร<br />

คมกฤต พานนสถิตย์: ในปี 2565 ที่ผ่านมา ซึ่งเป็นปีแรก<br />

ของบูรพาที่เราได้มีโอกาสจัดงานอาษาบูรพา ที่ห้างสรรพสินค้า<br />

Central Festival Pattaya Beach แล้วก็ได้รับการตอบรับ<br />

ทั้งจากสมาชิก เพื่อนร่วมวิชาชีพ ซัพพลายเออร์ และบุคคล<br />

ทั่วไป ให้ความสนใจเข้ามาร่วมงานเป็นอย่างดีมากๆ และการ<br />

จัดกิจกรรมในครั้งนี้ก็เป็นการเริ่มต้นจัดงานใหญ่ของส่วนภูมิ-<br />

ภาคบูรพาที่ถือว่าประสบความสำาเร็จมากเลยทีเดียวเพราะว่า<br />

แต่เดิมมีสถาปนิกหลายๆ ท่าน รวมถึงสมาชิกสมาคมหลาย<br />

ท่าน ก็ไม่ทราบว่าส่วนภูมิภาคของเรานั้นมีศูนย์กรรมาธิการ<br />

อยู่ด้วย การจัดงานในครั้งนี้จึงเหมือนเป็นการประชาสัมพันธ์<br />

ที่ดี รวมถึงสถาปนิกส่วนใหญ่ที่ได้รับทราบข่าวสารก็รู้สึก<br />

ภาคภูมิใจขึ้นด้วยว่าหลังจากนี้คงจะมีกิจกรรมจากทาง<br />

กรรมาธิการที่จะเปิดพื้นที่ให้พวกเค้าได้แสดงศักยภาพ หรือ<br />

คอยซัพพอร์ตในด้านต่างๆ ทั้งด้านวิชาการหรือกิจกรรมอื่นๆ<br />

ที่เราจะจัดขึ้นให้กับสมาชิกในอนาคต ในปี 2565 ถือเป็นปี<br />

แห่งการเริ่มต้นของบูรพาที่ท้าทายมาก เพราะเราก็ได้รู้จัก<br />

สถาปนิกเพิ่มขึ้นมากมาย และมีความแน่นแฟ้นขึ้นมากๆ<br />

อาษา: เร็วๆ นี้ รวมถึงในอนาคต ทาง<br />

กรรมาธิการสถาปนิกบูรพากำาลังจะมี<br />

โครงการหรือกิจกรรมที่น่าสนใจอะไรอีกบ้าง<br />

คมกฤต พานนสถิตย์: นอกจากเราจะมีงานใหญ่อย่างงาน<br />

สถาปนิกบูรพาแล้ว เราก็ยังมีโครงการจัดกิจกรรม workshop<br />

ให้นักศึกษาลงพื้นที่เพื่อจัดประกวดแบบ สร้างการมีส่วนร่วม<br />

ระหว่างชุมชน และสัญจรไปในแต่ละจังหวัดส่วนภูมิภาคของ<br />

พวกเรา รวมถึงยังมีโครงการเยี่ยมชมสถาปัตยกรรม โดยจะ<br />

พาสมาชิกของเราไปเยี่ยมชมสถาปัตยกรรมในจังหวัดต่างๆ<br />

ที่มีความน่าสนใจ แต่อาจยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก ก็ถือเป็น<br />

การเปิดโลกให้กับสถาปนิกส่วนภูมิภาคเราด้วย ส่วนเรื่อง<br />

ของกิจกรรมวิชาการ เราก็จะมีการคัดเลือกสถาปนิกจากทั้ง<br />

ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคอื่น ไปจนถึงต่างประเทศ มาให้ความรู้<br />

แก่สมาชิกของเรา<br />

สำาหรับงานสถาปนิกบูรพา ประจำาปี 2566 ปีนี้ เราก็จะไป<br />

จัดกันในช่วงเดือนตุลาคม แต่ตลอดระยะเวลาก่อนที่จะจัด<br />

งานสถาปนิกบูพาขึ้น เราก็จะมีกิจกรรมแทรกเข้ามาตลอดปี<br />

แน่นอน ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้ก็จะถูกนำาไปจัดแสดงให้ได้รับชม<br />

กันว่าพวกเรามีกิจกรรมอะไรกันบ้างหรือทำาอะไรกันบ้าง<br />

ในงานสถาปนิกบูรพาด้วย ซึ่งก็หวังว่าทุกท่านจะประทับใจ<br />

ในทุกกิจกรรมของพวกเรา รวมถึงประทับใจงานใหญ่ของ<br />

พวกเราที่จะจัดขึ้นสิ้นปีนี้<br />

อาษา: ปั จจุบันทางกรรมาธิการสถาปนิกบูรพา<br />

ประชาสัมพันธ์ข่าวสารไปยังสมาชิกทุกท่าน<br />

ผ่านช่องทางใด<br />

คมกฤต พานนสถิตย์: ตอนนี้เราก็มีแฟนเพจใน Facebook<br />

แล้วก็เว็บไซต์ของสมาคม หรือส่วนกลาง และมีกลุ่มสมาชิก<br />

ในแอพพลิเคชั่น Line ที่เราจะประชาสัมพันธ์ข่าวสารกันอยู่<br />

ตลอด ทั้งข่าวสารจากส่วนกลาง จากส่วนของเรา รวมถึง<br />

ข่าวสารในวงการที่น่าสนใจอื่นๆ เราก็นำามาแบ่งปันและพูด<br />

คุยกันในกลุ่ม<br />

อาษา: สิ่งที่กรรมาธิการสถาปนิกบูรพา<br />

คาดหวังหรืออยากให้เกิดขึ ้นกับเครือข่าย<br />

วิชาชีพสถาปนิก และสมาชิกสมาคมฯ คืออะไร<br />

ช่วยทิ ้งท้าย<br />

คมกฤต พานนสถิตย์: ส่วนตัวมองว่าคำาว่า ‘สมาชิกสมาคม’<br />

กับคำาว่า ‘วิชาชีพสถาปนิก’ ตอนนี้เหมือนจะเป็นคำ าที่แยกกัน<br />

อยู่ เพราะคนที่ประกอบวิชาชีพสถาปนิกอยู่หลายท่านก็อาจ<br />

ไม่ใช่สมาชิกสมาคมก็ได้ มันทำาให้การจัดการของสมาคมดู<br />

ยากนิดหน่อยในการที่จะรวบรวมสมาชิก ซึ่งในอนาคตผมหวัง<br />

เป็นอย่างยิ่งเลยว่าคำาสองคำานี้จะเป็นเรื่องเดียวกันที่ผู้ประกอบ<br />

วิชาชีพสถาปนิกทุกๆ ท่าน จะให้ความสำาคัญกับการเป็น<br />

สมาชิกสมาคมสถาปนิกด้วย เหมือนกันสมาคมวิชาชีพอื่นๆ<br />

เช่น เรียนจบมาก็เป็นสมาชิกสมาคมแล้ว ซึ่งประโยชน์ทั้งหมด<br />

ก็จะตกอยู่ที่ตัวสถาปนิกแต่ละท่านทั้งสิ้นเลย<br />

ขณะนี้ คาว่า ‘สมาชิกสมาคม’ กับคาว่า ‘วิชาชีพสถาปนิก’<br />

เหมือนจะเป็ นคาที่แยกกันอยู่ ในอนาคตผมหวังเป็ น<br />

อย่างยิ ่งว่าคาสองคานี้จะเป็ นเรื่องเดียวกัน ที่ผู้ประกอบ<br />

วิชาชีพสถาปนิกทุกๆ ท่าน จะให้ความสาคัญกับการ<br />

เป็ นสมาชิกสมาคมสถาปนิกด้วย เหมือนกันสมาคม<br />

วิชาชีพอื่นๆ


176<br />

the last page<br />

Photo Courtesy of Weerapon Singnoi<br />

หอเก็บน้ำ เป็นสถาปัตยกรรมคอนกรีตที่น่าสนใจอีกประเภท<br />

หนึ่ง ทำหน้าที่ทั้งประโยชน์ในการใช้สอยและอวดความสวย<br />

งามของโครงสร้างขนาดใหญ่ รวมถึงกลายเป็นแลนด์มาร์ค<br />

ของย่านนั้นโดยไม่รู้ตัว<br />

ประโยชน์ใช้สอย<br />

ทำหน้าที่กักเก็บน้ำไว้บนที่สูงๆ เพืออาศัยแรงโน้มถ่วงของ<br />

โลกเป็นแรงดันขับเคลื่อนน้ำไปยังท่อประปา ท่อลำเลียงน้ำ<br />

ยิ่งสูงแรงดันยิ่งมาก แต่แน่นอนว่าสิ่งที่ตามมาคือน้ำหนัก<br />

มหาศาลของมวลน้ำ<br />

โครงสร้าง<br />

เมื่อต้องแบกรับน้ำหนักปริมาณมหาศาล การออกแบบ<br />

โครงสร้างทางวิศวกรรมจึงสำคัญมาก เพื่อพยุงอาคารขนาด<br />

ใหญ่นี้ให้คงตัวอยู่ได้ เราจึงเห็นการออกแบบที่แตกต่างกันไป<br />

ทั้งขนาด สัดส่วน บันไดทางขึ้น รูปทรง และวัสดุ เกิดความ<br />

สวยงามเฉพาะตัว<br />

จุดหมายตา<br />

เมื่อยิ่งสังเกตเห็นง่าย หอเก็บน้ำจึงกลายเป็นจุดหมายตา<br />

ไปโดยปริยาย และบางครั้งเราก็ใช้มันบอกเส้นทาง<br />

Water towers are another interesting type of concrete<br />

architecture. It serves both the utility and the<br />

beauty of a large-scale structure. Such a building<br />

type has become an unrecognizably prominent<br />

landmark in the neighborhood.<br />

Utility<br />

To store water at a high level, and through gravity,<br />

the pressure propels water to the pipe. The higher<br />

the water transport pipe is, the higher the pressure.<br />

But, definitely, the consequence is the enormous<br />

weight of the water mass.<br />

Structure<br />

To bear a huge amount of weight, the structural<br />

engineering design is therefore critical to supporting<br />

the stability of this large building. There are different<br />

designs with various sizes, proportions, staircases,<br />

forms, and materials, resulting in its unique beauty.<br />

Landmark<br />

When it’s easier to notice, a water tower is therefore<br />

a landmark of the place where, occasionally, we use<br />

it to give directions.<br />

วีระพล สิงห์น้อย<br />

ช่างภาพสถาปั ตยกรรม<br />

ผู้ก่อตั้งโครงการ foto_<br />

momo (Fotograpgh of<br />

the Modern Movement)<br />

เพื่อรวบรวมผลงานภาพ<br />

ถ่ายอาคารยุคสมัยใหม่ที่<br />

กำาลังเลือนหายในปั จจุบัน<br />

Weerapon Singnoi<br />

An architecture photographer<br />

and the founder<br />

of foto_momo (Fotograph<br />

of the Modern<br />

Movement), the project<br />

that aims to collect<br />

photos of fading Modernist<br />

buildings.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!