11.07.2015 Views

Wave Mechanics in One Dimension - ภาควิชาฟิสิกส์

Wave Mechanics in One Dimension - ภาควิชาฟิสิกส์

Wave Mechanics in One Dimension - ภาควิชาฟิสิกส์

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-27กอนที่เราจะทําการพิสูจนที่มาของสมการ (6.63) เรามาฝกการนําสมการดังกลาวมาใชงานเสียกอนสมมุติวาเรากําลังพิจารณาระบบที่เรากําลังจะวัด 1) ตําแหนง ซึ่งแทนดวย operator ˆx และ 2)momentum ซึ่งแทนดวย operator ˆpจากสมการ (6.24) เราทราบวา [ xˆ,pˆ]= i เราฉะนั้น expectation value ของ [ xˆ,p ˆ]ก็คือ[ xˆ,pˆ][ xˆ,pˆ]= Ψ iΨ= iΨΨ= iซึ่ง absolute value ของ complex number i ก็มีคาเทากับ นั่นเอง เพราะฉะนั้น จากสมการ(6.63) จะไดวาΔxΔp≥ ___________________ สมการ (6.64)2ความสัมพันธในสมการขางตน เปนจริงในทุกๆกรณี รวมไปถึงกรณีของอนุภาคอิสระ นอกจากนี้สมการ (6.64) ยังมีชื่อที่เรียกกันทั่วไปวา Heisenberg uncerta<strong>in</strong>ty pr<strong>in</strong>cipleแบบฝกหัด 6.15 จงใหสมการ (6.63) เพื่อหาความสัมพันธระหวาง uncerta<strong>in</strong>ty ของการวัด angularmomentum ตามแนวแกน x และ ตามแนวแกน y และเปรียบเทียบกับแบบฝกหัด 3.15เฉลย ΔJ ΔJ ≥ Jˆx y z2สําหรับขั้นตอนในการพิสูจนสมการ (6.63) นั้น สรุปโดยสังเขปไดวา1. เริ่มดวย Schwarz <strong>in</strong>equality ดังที่ไดเคยวิเคราะหในแบบฝกหัด 3.17 ที่วาα α β β α β2≥ ___________________ สมการ (6.65)2. พิจารณา operator  และ ˆB ใดๆที่ใชในการวัดปริมาณทางฟสิกส จะไดวา operator ทั้งสองตองเปน Hermitian operatorDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!