11.07.2015 Views

Wave Mechanics in One Dimension - ภาควิชาฟิสิกส์

Wave Mechanics in One Dimension - ภาควิชาฟิสิกส์

Wave Mechanics in One Dimension - ภาควิชาฟิสิกส์

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-2และในเมื่ออิเล็กตรอนดังกลาวสามารถที่จะอยู ณ ตําแหนงใดๆก็ไดภายในกลอง เราจึงให basisstate เปนเซตของตําแหนงตางๆ ซึ่งเขียนไดโดยสัญลักษณให x แทนสถานะของอิเล็กตรอนที่อยู ณ ตําแหนง x ใดๆ ___________ สมการ (6.2)จะเห็นวา เซตของ basis state ขางตนเปนคาที่ตอเนื่อง และมีจํานวนสมาชิกของเซตเปน <strong>in</strong>f<strong>in</strong>ityดวยเหตุนี้เอง เมื่อเราเขียนสถานะ Ψ ของระบบ ใหอยูในรูปของ l<strong>in</strong>ear superposition ของ basisstate x จึงมีความจําเปนจะตองเขียนอยูในลักษณะของ <strong>in</strong>tegral ดังตอไปนี้Ψ =∫ dxψ( x)x ____________________ สมการ (6.3)โดยนัยยะสําคัญแลว สมการขางตนมิไดตางจากสมการ (2.22) หากแต summation ∑ ไดถูกเปลี่ยนใหอยูในรูปของ <strong>in</strong>tegral ∫ dx ในขณะเดียวกัน เซตของสัมประสิทธิ์ c i ที่ปรากฏในสมการ(2.22) ซึ่งเปนคาเฉพาะที่ผูกติดอยูกับ basis state φ i นั้นๆ ก็ไดถูกเปลี่ยนใหเปนฟงชันก ψ ( x)ซึ่งเปนฟงชันกของ x เพราะเปนสัมประสิทธิ์ที่ผูกติดกับ basis state x นั่นเองและในทํานองเดียวกันที่เราสามารถตีความไดวา c i ก็คือ probability amplitude ที่ระบบจะอยูในสถานะ φ ในระบบที่มีความตอเนื่องเชนนี้ ก็สามารถเขียนไดวาiNi= 1ψ () x = x Ψ ___________________________ สมการ (6.4)สมการ (6.4) นี้เองคือคํานิยามของ wave function ที่นักศึกษาไดคุนเคยมาเปนอยางดีในเนื้อหาของquantum mechanics เบื้องตน โดยที่ความหมายของ wave function ดังกลาวนั้น เกี่ยวของกับความนาจะเปนที่จะพบอนุภาค2ψ ( x)dx = ความนาจะเปนที่จะพบอนุภาคอยูภายในบริเวณ x → x+dxนอกจากนี้ในบทที่ 2 เรายังไดกลาวถึงการที่เขียน operator ใหอยูในรูปของ ket-bra ซึ่งปรากฏในสมการ 2.23 ดังตอไปนี้Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-3N N= ∑∑ ij i j เมื่อ { i }i= 1 j=1Oˆo φ φφ คือ basis set _____________ สมการ (2.23)และในทํานองเดียวกันกับสมการ (6.3) เราสามารถเขียน operator ใหอยูในรูปOˆ dxdxo ′ ( x, x′ ) x x′= ∫∫ ____________________ สมการ (6.5)จากสมการขางตนจะพบวา double summation ไดถูกเปลี่ยนใหเปน double <strong>in</strong>tegral และสัมประสิทธิ์ o ij ไดถูกเปลี่ยนใหเปนฟงชันก oxx′ ( , ) และจากแบบฝกหัด 2.5 เราสามารถเขียนoxx′ ( , ) ซึ่งเปนฟงชันกของ x และ x′ ไดวาoxx ( , ′)xOx ˆ ′= ____________________ สมการ (6.6)แบบฝกหัด 6.1 จงใช identity operator ในบทที่ 2 เพื่อแสดงใหเห็นวาˆ1 dx x x= ∫ ____________________ สมการ (6.7)แบบฝกหัด 6.2 กําหนดให ΨΨ = 1 จงใช identity operator ในสมการ (6.7) และ คํานิยามของwave function ในสมการ (6.3) เพื่อพิสูจนวา21 = dxψ ∗ ( x) ψ( x) = dx ψ( x)∫ ∫ ____________________ สมการ (6.8)คุณสมบัติทางคณิตศาสตรที่สําคัญอีกอันหนึ่ง ที่เกี่ยวของกับการใช { x } เปนเซตของ basis state คือx′ x δ ( x′x)= − ____________________ สมการ (6.9)เมื่อ คือ δ ( x′ − x)Dirac delta function โดยที่สมการ (6.9) ขางตนสามารถพิสูจนไดโดยงายโดยการพิจารณา สถานะ bra ΨΨ =∫ dx′ ψ ∗ ( x′ ) x′____________________ สมการ (6.10)ใหสังเกตการเปลี่ยนรูปของฟงชันก ψ ( x)ในสมการ (6.3) มาเปน complex conjugate ของตัวมันเองในสมการ (6.10) นอกจากนี้เราทราบวา Ψ Ψ = 1 เพราะฉะนั้นแลวDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-5∗ ∗โดยใชเอกลักษณ Ψ x = x Ψ = ψ ( x)และเขียน Ψ ใหอยูในรูป l<strong>in</strong>ear superpositionของ basis state Ψ =∫ dxψ′ ( x′ ) x′จะไดวาสมการขางตนแปรสภาพเปนOˆdxdx′ ∗ψ ( x) ψ( x′ ) x Oˆx′= ∫∫ ____________________ สมการ (6.12)สมการ (6.12) มีความสําคัญมากในการคํานวณ expectation value ของระบบที่มี basis state เปนปริมาณที่ตอเนื่องอาทิเชน { x } ดังจะไดยกตัวอยางการนํามาใชงานในแบบฝกหัด 6.4แบบฝกหัด 6.4 พิจารณา operator ที่ใชวัดตําแหนงของอนุภาค และใชสัญลักษณวา ˆx ดวยเหตุนี้เมื่อ operator ดังกลาวกระทํากับสถานะ x ก็ยอมตองดึงเอา eigenvalue ซึ่งแสดงถึงตําแหนงในขณะนั้น กลาวอีกนัยหนึ่งคือˆx x = x x ____________________ สมการ (6.13)จงใชคํานิยามของ operator ขางตนผนวกกับ 1) การคํานวณ expectation value ในสมการ (6.9) และ2) เอกลักษณทางคณิตศาสตรในสมการ (6.12) เพื่อพิสูจนวา expectation valueˆ∗x = ∫ dxψ( x) xψ( x)____________________ สมการ (6.14)เมื่อนักศึกษาลองมองยอนไปถึงเนื้อหาของ quantum mechanics เบื้องตน ในประเด็นที่เกี่ยวของกับการคํานวณ expectation value ของ operator ใดๆ จะพบวา รูปแบบของสมการที่เขียนจะมีความคลายคลึงกับที่แสดงในสมการ (6.14) มากกวาที่แสดงในสมการ (6.12)ทั้งนี้ก็เพราะวา quantum mechanics เบื้องตนเนนการใช wave function เปนหลักในการคํานวณหากแตเนื้อหาที่เรากําลังวิเคราะหอยูนี้ มีตนตอมาจาก matrix mechanics ซึ่งมีขอบเขตของการประยุกตใชงานกวางขวางกวา wave mechanics อยูมากทีเดียว ขอเสียของ matrix mechanics ก็คือรูปแบบของสมการที่นักศึกษาจําเปนตองทําความเขาใจ คอนขางจะซับซอนกวา ดังจะเห็นไดจากวิธีการคํานวณ expectation value ในสมการ (6.12) เปนตน6.2 Generator of Translationในแบบฝกหัด 6.4 เราไดเห็นตัวอยางของ operator ˆx ซึ่งทําหนาที่ในการวัดตําแหนงของอนุภาคและมีคุณสมบัติในทางคณิตศาสตรคือ ˆx x = x x มี Section 6.2 เราจะมาทําความรูจัก operatorอีกชนิดหนึ่งซึ่งทําหนาที่ในการเลื่อนตําแหนงของอนุภาคเปนระยะทาง a ดวยคุณสมบัติของoperator ดังกลาวที่เราตองการนี้ สามารถเขียนใหอยูในรูปของสมการทางคณิตศาสตรไดวาDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-6translation operator Ta ˆ( ) x= x+ a ____________________ สมการ (6.15)ในสมการ (6.15) เราเรียก operator Ta ˆ( ) วา translation operator ซึ่งมีผลให basis state xเปลี่ยนไปเปนสถานะ x + a หรืออีกนัยหนึ่ง เลื่อนไปขางหนาตามแกน x เปนระยะทางเทากับ aนั่นเองโดยทั่วไปแลว อนุภาคหรือระบบที่เราตองการศึกษา มิไดมีตําแหนงที่แนนอนอยู ณ ที่ใดที่หนึ่งหากแตเปน l<strong>in</strong>ear superposition ของตําแหนงตางๆที่เปนไปได โดยมีฟงชันก ψ ( x)เปน probabilityamplitude ที่อนุภาคจะอยู ณ ตําแหนงตางๆเหลานั้น หรืออีกนัยหนึ่ง Ψ =∫ dxψ( x)x และก็เปนที่นาสนใจวา translation operator Ta ˆ( ) จะมีผลอยางไรกับระบบที่อยูในสถานะดังกลาว ทั้งนี้เมื่อพิจารณา( ψ )Ta ˆ( ) Ψ = Ta ˆ( ) dx ( x)x=∫∫dxψ( x) Tˆ( a)xTa ˆ( ) Ψ = dxψ( x ) x+aและเมื่อเราทําการเปลี่ยนตัวแปรของการ <strong>in</strong>tegrate โดยนิยามให x′ ≡ x+ a จะทําให <strong>in</strong>tegral ในสมการขางตนเปลี่ยนรูปดังตอไปนี้∫Ta ˆ( ) Ψ = dxψ′ ( x′ −a)x′∫อยางไรก็ตาม ตัวแปร x′ เปนเพียงตัวแปรของการ <strong>in</strong>tegrate ที่เราจะใชสัญลักษณตัวอื่นแทนไดโดยไมผิดกติกาแตอยางใด เพราะฉะนั้นเราอาจจะเขียนไดวาTa ˆ( ) Ψ = dxψ( x−a)x∫ เมื่อ Ψ =∫ dxψ( x)x __________ สมการ (6.16)ทั้งสมการ (6.16) และภาพ 6.1 แสดงใหเห็นถึงผลของ translation operator ตอสถานะของระบบ ถาเราบงบอกสถานะของระบบดวย probability amplitude ที่อนุภาคจะอยู ณ ตําแหนงตางๆ ซึ่งแทนดวยฟงชันก ψ ( x)จะพบวา ผลของ operator Ta ˆ( ) ก็คือการทําใหฟงชันกดังกลาวเลื่อนไปขางหนาตามแนวแกน x เปนระยะทางเทากับ aDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-7Ψ =∫dx ψ( x )x10.5− 20 2 4−0.5−1Ta ˆ( ) Ψ =dx ψ( x −a )x∫ภาพ 6.1 แสดงผลของ translation operator ตอสถานะของระบบ ถาเราบงบอกสถานะของระบบดวย probability amplitude ที่อนุภาคจะอยูณ ตําแหนงตางๆ ซึ่งแทนดวยฟงชันก ψ ( x)จะพบวา ผลของ operator Ta ˆ( ) ก็คือการทําใหฟงชันกดังกลาวเลื่อนไปขางหนาตามแนวแกน xเปนระยะทางเทากับ aแบบฝกหัด 6.5 จงใชสมบัติของ translation operator ในสมการ (6.15) และเอกลักษณของ Diracdelta function เพื่อพิสูจนวาx Ta ˆ( ) Ψ = ψ ( x− a)__________ สมการ (6.17)แบบฝกหัด 6.6 จงใชสมบัติการ normalization ของสถานะ Ψ =∫ dxψ( x)x ในการพิสูจนวาtranslation operator มีสมบัติเปน unitary operator กลาวคือˆ †T ( a) Tˆ( a ) = 1 ________________ สมการ (6.18)อยางไรก็ตาม แทนที่เราจะสนใจ translation operator ที่สามารถเลื่อนสถานะของระบบเปนระยะทางa เราอาจจะพิจารณาเฉพาะการเลื่อนอนุภาคเปนระยะทางสั้นๆ Δ x หรือที่เรียกวา <strong>in</strong>f<strong>in</strong>itesimaltranslationและในทํานองเดียวกันกับ <strong>in</strong>f<strong>in</strong>itesimal rotation operator ในบทที่ 2 หรือ <strong>in</strong>f<strong>in</strong>itesimal timeevolution operator ในบทที่ 4 เราสามารถเขียน <strong>in</strong>f<strong>in</strong>itesimal translation ใหอยูในรูปของˆ iT( Δ x) = 1− pˆxΔxเมื่อ p ˆ x คือ generator of translation __________ สมการ (6.19)สาเหตุที่เรียก operator p ˆ x นี้วาเปน generator of translation ก็เพราะวามันทําหนาที่ในการกําหนดคุณลักษณะการเปลี่ยนแปลงไปของสถานะที่ operator T ˆ( Δ x)กําลังกระทําอยู นอกจากนี้ ดวยเอกลักษณทางคณิตศาสตรที่ไดกลาวถึงแลวในบทที่ 2 เราสามารถเขียนDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-8i p ˆxaTa ˆ( ) e −= ________________ สมการ (6.20)generator of translation operator p ˆ x มีสมบัติทางคณิตศาสตรที่สําคัญอยู 3 ขอที่สําคัญ ซึ่งจะไดกลาวถึงโดยละเอียดในลําดับตอไปนี้1. p ˆ x เปน Hermitian operator สมบัติขอนี้พิสูจนไดจากคํานิยามของ <strong>in</strong>f<strong>in</strong>itesimal translationoperator ˆiT( Δ x) = 1− pˆxΔxจากคุณสมบัติในสมการ (6.18) ที่วาˆ†1 = T ( Δx) Tˆ( Δx)⎛ i ⎞ ⎛ i ⎞= ⎜1− pˆxΔx⎟ ⎜1− pˆxΔx⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎛ iˆ†⎞⎛ i ⎞= ⎜1+ pxΔx⎟⎜1− pˆxΔx⎟⎝ ⎠⎝ ⎠†และเมื่อกระจายเทอมทางขวามือของสมการจะไดi i 11= 1− pˆxΔ x+ pˆxΔ x+ pˆxpˆxΔx† † ( ) 2เนื่องจากเรากําลังพิจารณา <strong>in</strong>f<strong>in</strong>itesimal operator ซึ่งก็หมายถึงวา Δx→ 0 ทําใหสามารถตัดเทอมที่ 4 ทางขวามือของสมการออกได เพราะมีคาเล็กมากเมื่อเทียบกับเทอมอื่นๆ ดังนั้นแลวˆ†pxpˆx= _____________________ สมการ (6.21)ซึ่งสมการ ก็มีความหมายวา p ˆ x เปน Hermitian operator นั่นเอง2. [ xˆ pˆ] = i คุณสมบัติทางคณิตศาสตรขอนี้มีที่มาจากการพิจารณา commutation ระหวาง, x<strong>in</strong>f<strong>in</strong>itesimal translation operator ˆˆx ในสมการ (6.13) กลาวคือiT( Δ x) = 1− pˆxΔxในสมการ (6.19) และ position operatorDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-9⎡ˆ ˆiix, T( x) ⎤⎛ ⎞ ⎛ ⎞xˆ 1 pˆxx 1 pˆxx xˆ⎣Δ⎦= ⎜ − Δ ⎟−⎜ − Δ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠= xˆi i − xp ˆˆxΔ x − x ˆ + p ˆxx ˆΔxi=− Δx( xp ˆˆx−pˆ xxˆ)สมการขางตนสามารถลดรูปลงไปไดอีก ถาเราเขียน xp ˆˆx− ใหอยูในรูป [ xˆ p ˆ ] ดังนั้นpˆ xxˆ, x⎡ˆ, ˆ ix T( x) ⎤⎣Δ⎦=− Δx x, px[ ˆ ˆ ]_____________________ สมการ (6.22)นอกจากนี้ ถาเราพิจารณาผลของ operator ⎡xˆ, Tˆ( Δ x) ⎤ = xT ˆ ˆ( Δx) −Tˆ( Δx)xˆ⎣ ⎦ที่กระทํากับสถานะΨ =∫ dxψ( x)x ใดๆ จะไดวา( )⎡xT ˆ, ˆ( x) ⎤ ˆ ˆ( ) ˆ( ) ˆ⎣Δ⎦Ψ = xT Δx −T Δxx ∫ dxψ( x)x= xT ˆ ˆ( Δx) dxψ( x) x −Tˆ( Δx) xˆdxψ( x)x∫และเมื่อใชสมบัติของ Tdx ˆ( ) ในสมการ (6.16) และ สมบัติของ ˆx ในสมการ (6.13) เทอมขางตนแปรสภาพเปน∫⎡xT ˆ, ˆ( x) ⎤ ˆ ( ) ˆ⎣Δ⎦Ψ = x∫dxψx−Δx x −T( Δx) ∫dxψ( xxx )= dxψ( x −Δx) x x − dxψ( x −Δx)( x −Δx)x∫∫=Δx dxψ( x−Δx)xฟงชันก ψ ( x −Δ x)ที่ปรากฏเปน <strong>in</strong>tegrand ในสมการขางตน สามารถกระจายใหอยูในรูปของ1 ∂ψ2 1 ∂ ψ−Δ = −Δ + Δ −1! ∂x2! 2∂xTaylor expansion ψ ( x x) ψ ( x)x ( x)∫2 แตเนื่องจาก Δx→ 0เราจึงสามารถประมาณ ψ ( x −Δx) ≅ ψ ( x)โดยมิไดมี error มากมายนัก เพราะฉะนั้นแลว สมการขางตนลดรูปเหลือเพียง⎡xT ˆ, ˆ( x) ⎤⎣Δ⎦Ψ =Δ x∫dxψ( x)x =ΔxΨDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-10เนื่องจากสถานะ Ψ ที่เรานํามาพิจารณาเปนสถานะทั่วๆไป และไมเฉพาะเจาะจงวาเปนกรณีใดเปนพิเศษ สมการขางตนจึงเปนจริงในทุกๆกรณี และสรุปไดวา⎡xˆ, Tˆ( x)⎤⎣Δ⎦=Δx_____________________ สมการ (6.23)ในทายที่สุด เมื่อเปรียบเทียบสมการ (6.23) และสมการ (6.22) จะไดความสัมพันธ[ xˆ pˆ] = i _____________________ สมการ (6.24), x ∂3. x pˆ x Ψ = ( x)i ∂x ψในแบบฝกหัด 6.5 เราไดคุนเคยกับสมบัติทางคณิตศาสตรของoperator Taในลักษณะเดียวกันนี้มาแลว ˆ( )ในคราวนี้เรามาวิเคราะหในกรณีของ generator oftranslation operator p ˆ x กันบาง พิจารณาT ˆ( Δx) Ψ = dxψ′ ( x′ −Δx)x′จะเห็นวาเราสามารถกระจายฟงชันกใหอยูในรูปของอนุกรม Taylor∂ψ ( x′ −Δx) ≅ψ( x′ ) −Δx ψ( x′)∂x′∫เพราะฉะนั้นแลว สมการขางตนแปรสภาพเปน∂T ˆ( Δ x) Ψ = ∫ dx ′ ψ ( x ′ ) x ′ −Δ x ∫ dx ′ ψ ( x ′ ) x ′∂x′และเมื่อนําสถานะ bra x เขามาประกบทั้งสองขางของสมการ จะไดวา∂xTˆ( Δx ) Ψ = ∫dx′ ψ ( x′ ) xx′ −Δx∫dx′ ψ ( x′ ) xx′∂x′∂= ∫dx′ ψ( x′ ) δ( x −x′ ) −Δx∫dx′ ψ( x′ ) δ( x −x′)∂x′ใหสังเกตการณใช Dirac delta function ซึ่งเปนเอกลักษณทางคณิตศาสตรในสมการ (6.9) และอาศัยคุณสมบัติของ Dirac delta function ที่วา δ ( x − x′ ) = δ ( x′− x)ทําให∂x T ˆ( x) ψ ( x) x ψ ( x)xΔ Ψ = −Δ ∂_____________________ สมการ (6.25)Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-11นอกจากนี้ เรายังสามารถวิเคราะหเทอม xT ˆ( Δx)Ψ โดยการเขียน T ˆ( Δ x)ใหอยูในรูปของˆ iT( Δ x) = 1− pˆxΔxซึ่งจะไดวาเพราะฉะนั้นแลวˆixT( Δx) Ψ = x1− pˆxΔxΨi= x Ψ − Δx x pˆx ΨˆixT( Δx) Ψ = ψ ( x) − Δx x pˆx Ψ________________ สมการ (6.26)ทั้งนี้เมื่อพิจารณาทางขวามือของสมการ (6.25) และสมการ (6.26) แลวพบวาi∂Δx x pˆ x Ψ =Δx ( x)x ψ ∂หรืออีกนัยหนึ่ง ∂x pˆ x Ψ = ( x)i x ψ ∂________________ สมการ (6.27)นอกจากนี้ สมการขางตน ยังสามารถเขียนใหอยูในรูป ∂pˆ x Ψ = ∫ dx ( x)xi ∂x ψเมื่อ Ψ =∫ dxψ( x)x ___________ สมการ (6.28)แบบฝกหัด 6.7 สมมุติใหระบบทางฟสิกสอยูในสถานะ Ψ =∫ dxψ′ ( x′ ) x′จงพิสูจนวาexpectation value ของ generator of translation operator p ˆ x มีคาเทากับ6.3 Momentum Operatorˆ∗ ∂Ψ pxΨ = ∫ dxψ( x) ψ( x)i ∂x________________ สมการ (6.29)คุณสมบัติทางคณิตศาสตรทั้ง 3 ขอที่เราไดกลาวมาขางตนนั้น มีความสําคัญตอการตีความหมายของ operator p ˆ x ในทางฟสิกสเปนอยางยิ่ง ประการแรกก็คือ คํานิยามในสมการ (6.19) บังคับใหoperator p ˆ x มีหนวยเปนJoule ⋅secmซึ่งเปนหนวยของ momentumDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-12ประการที่สอง p ˆ x เปน Hermitian operator ดังที่ไดอธิบายในบทที่ 3 Section 3.6 ซึ่งมีความหมายวา p ˆ x จะตองมี eigenvalue เปนจํานวนจริง และสามารถที่จะเปน operator ที่ใชวัดobservable ในทางฟสิกสไดและประการที่สาม p ˆ x มีคุณสมบัติดังในสมการ (6.27) ซึ่งนักศึกษาคงสามารถจดจํารูปแบบทางคณิตศาสตรของ momentum operator ในเนื้อหาของ quantum mechanics เบื้องตนไดวา มีความคลายคลึงกับสมการ (6.27)ดวยเหตุผลทั้ง 3 ประการนี้เองเราสรุปไดวานอกจาก p ˆ x จะมีหนาที่เปน generator of translation operator ที่เปนตัวควบคุมใหอนุภาคเลื่อนไปขางหนาตามแนวแกน x แลว operator p ˆ x ยังเปนที่รูจักกันดีในเชื่อที่วา momentum operator อีกดวยในเนื้อหาของ quantum mechanics เบื้องตนที่ใช Schröd<strong>in</strong>ger equation เปนหลัก นักศึกษามักจะคุนเคยกับ wave function ψ ( x)และ momentum operator ที่เขียนอยูในรูป pˆ x∂x≡i ∂อยางไรก็ตาม รูปแบบของ momentum operator ดังกลาวเมื่ออยูภายใตบริบทของเนื้อหา matrix mechanics ที่เรากําลังศึกษาอยูนี้ เปนเพียงรูปแบบของ momentum operator ที่แสดงออกมาภายใต basis set { x }นักศึกษาตองไมลืมวา operator ตางๆนั้น จะแสดงออกมาวามีรูปแบบทางคณิตศาสตรอยางไร ลวนแลวแตผูกติดอยูกับ basis state ที่กําลังใชอยู ไมวาจะเปน operator ในสมการ (2.23) หรือ matrix ในสมการ (2.63) หรือ แมกระทั่ง momentum operator ในสมการ (6.27)เพราะฉะนั้น แทนที่เราจะใชตําแหนงของอนุภาค { x } เปน basis state เราอาจจะพิจารณาระบบที่กําลังสนใจ ในแงของ momentum ที่มันมีอยู หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง พิจารณาระบบโดยใชmomentum ตามแนวแกน x เปน basis state ซึ่งในที่นี้ เราจะใชสัญลักษณ { }state ดังกลาวp แทนเซตของ basisและเมื่อเราใช momentum operator ˆ x p เขามากระทํากับกับสถานะ p ก็จะมีผลเทากับการวัดmomentum ของสถานะนั้นๆ และดึงเอาคา eigenvalue ดังกลาวออกมา ซึ่งก็คือDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-13pˆ x p = p p _____________________ สมการ (6.30)นอกจากนี้ เรายังสามารถที่จะเขียนสถานะของระบบ Ψ ใหอยูในรูป l<strong>in</strong>ear superposition ของbasis state { p } เหลานี้ไดวาΨ =∫ dpϕ( p)p ____________________ สมการ (6.31)โดยทั่วไปแลว สถานะ Ψ ดังในสมการ (6.31) นั้น เราเรียกเซตของ momentum basis state{ p } วา "momentum space" ในขณะที่สมการ (6.3) เปนการเขียน Ψ ใหอยูในรูปของ "positionspace"จะสังเกตวาในสมการ (6.31) ขางตนนั้น เราใชฟงชันก ϕ ( p)แทน probability amplitude ที่จะพบอนุภาคหรือระบบที่เรากําลังสนใจ อยูในสภาวะที่มี momentum ตางๆกัน หรือในรูปของ bra-ketก็คือϕ ( p)= p Ψ ____________________ สมการ (6.32)และจาก probability amplitude ดังกลาว โดยคํานิยามของความนาจะเปนแลวdp2( p)ϕ คือ probability ที่อนุภาคจะมี momentum อยูในชวง p → ( p+dp)แบบฝกหัด 6.8 ในทํานองเดียวกันกับสมการ (6.9) จงพิสูจนวาp′ p δ ( p′p)= − ____________________ สมการ (6.33)คุณสมบัติของ momentum basis state ในสมการ (6.33) และการเขียน Ψ ในสมการ (6.31) จะทําใหเราสามารถเขียนรูปแบบทางคณิตศาสตรของ momentum operator ดังที่ปรากฏภายใต momentumspace กลาวคือ( ∫′ ϕ( ′)ˆx′ )( ′ ϕ( ′)′ ′ )p pˆΨ = p dp p p px=∫∫p dp p p p( )= dp′ ϕ( p′ ) δ p − p′Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-14และเมื่อเราใชเอกลักษณทางคณิตศาสตรของ Dirac delta function ที่วา δ ( p − p′ ) = δ ( p′− p)และ ∫ dx f ( x ) δ ( x − x 0) = f ( x 0)จะไดวาp pˆ x ϕ( p)Ψ = ____________________ สมการ (6.34)มาถึงขั้นนี้ นักศึกษาตองสังเกตใหเห็นความแตกตางอยางชัดเจนระหวางสมการ (6.27) ซึ่งดูเหมือนวาmomentum operator p ˆ x เมื่ออยูภายใต position space อยูมีรูปแบบทางคณิตศาสตรเปน differential ∂operator ซึ่งกระทําอยูกับฟงชันก ψ ( x)i ∂ xในขณะที่สมการ (6.34) บงบอกวา momentum operator p ˆ x เมื่ออยูในบริบทของ momentum spaceแลว จะมีรูปแบบทางคณิตศาสตรเปนเพียง identity operator (ตัวเลข 1) ซึ่งคูณอยูกับฟงชันก ϕ ( p)ความแตกตางดังกลาว เปนหลักฐานชิ้นสําคัญซึ่งจะทําใหเราตระหนักวา operator ตางๆที่ไดเคยศึกษามาใน quantum mechanics เบื้องตนซึ่งใช Schröd<strong>in</strong>ger equation เปนหลักนั้น แทจริงแลวเปนการเขียน operator ที่แสดงออกมาภายใตกรอบของ position space เทานั้นเองในคราวนี้เราจะมากลาวถึงเอกลักษณทางคณิตศาสตรสําคัญอีกอันหนึ่ง ซึ่งจะถูกนํามาประยุกตใชงานในอนาคต นั่นก็คือ เราจะพิสูจนวาx p=1e2πipx____________________ สมการ (6.35)พิจารณาจะไดวาx pˆ x p = p x p นอกจากนี้ ถาพิจารณาสมการ (6.27) และกําหนดให Ψ = p ∂x pˆ x p = x pi ∂xเพราะฉะนั้นแลวp x p ∂=i ∂xx p____________________ สมการ (6.36)เนื่องจาก x p มีสถานะภาพเปนฟงชันก ทําใหสมการ (6.36) ก็มีสถานะภาพเปน differentialequation ธรรมดา ซึ่งมีผลเฉลยของสมการคือx pipx= Neเมื่อ N คือคาคงที่ ____________________ สมการ (6.37)Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-15โดยที่เราสามารถคํานวณคาคงที่ N ไดจากการพิจารณาสถานะ p ซึ่งก็ไมตางจากสถานะทั่วๆไปที่เราสามารถเขียนอยูในรูปของ l<strong>in</strong>ear superposition ใน position spacep = ∫ dx( x p ) x เมื่อ คือ x p probability amplitudeและเมื่อนํา bra p′ เขามาประกบทั้งสองขางของสมการ จะไดวา p′ p = ∫ dx x p p′xแตจากสมการ (6.33) p′ p = δ ( p′− p)เพราะฉะนั้นδ ( p′ − p)= dx x p p′x=∫∫2= Ndx x p∫∗x p′i( p−′dxe)p xDirac delta function ที่ปรากฏอยูทางซายมือของสมการขางตน มีรูปแบบทางคณิตศาสตรที่เปนไปไดอยูหลายรูปแบบ ยกตัวอยางเชนfunction ดังกลาวนี้δ ( x)+∞1 + ikxdke2π−∞= ∫ และเมื่อใชคํานิยามของ Dirac delta12π∫⎛ x ⎞ ( ′ − ) 2d e N dxe( − ′=)⎜ ⎟∫⎝⎠i p p x i p p xดวยเหตุนี้เอง ทําใหN =ดังแสดงในสมการ (6.35)12πและเมื่อผนวกกับสมการ (6.37) ก็จะไดความสัมพันธ x pการนําเอกลักษณทางคณิตศาสตรในสมการ (6.35) มาประยุกตใชงานนั้น ก็ไดแกการเปลี่ยนจากprobability amplitude ซึ่งแตเดิมอยูใน position space ψ ( x)ใหกลายมาเปน momentum spaceϕ ( p)โดยสมมุติวาเราทราบขอมูลของอนุภาค และ probability amplitude ที่มันจะอยู ณ ตําแหนงตางๆกันคือΨ =∫dxψ( x)xDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-16เมื่อนําสถานะ bra p เขามาประกบทั้งสองขางของสมการจะไดวา ψ ( )p dx x p xΨ =∫ทั้งนี้โดยคํานิยามแลว ทางซายมือของสมการก็คือ ϕ ( p)= p Ψ ในขณะที่ทางขวามือของสมการก็คือ12π∫dxψ( x)e−ipxเพราะฉะนั้นแลว1ϕ( p) = dxψ( x)e2π∫−ipx____________________ สมการ (6.38)และในทํานองเดียวกัน เราสามารถพิสูจนไดวา1ψ ( x) = dpϕ( p)e2π∫+ ipx____________________ สมการ (6.39)แบบฝกหัด 6.9 พิจารณาระบบที่อิเล็กตรอนถูกขังอยูในบอพลังงานศักยสูงเปนอนันตดังในภาพ(1.2) ของบทที่ 1 สมมุติวา probability amplitude ที่จะพบอิเล็กตรอน ณ ตําแหนงตางๆภายในกลอง30คือ ψ ( x) = xd ( − x)เมื่อ 0 ≤ x ≤ d5da) จงหา probability amplitude ϕ ( p)และ plot graphb) เมื่อวิเคราะหอิเล็กตรอนที่อยูในสถานะดังกลาว มีความนาจะเปนเทาใดที่จะพบวามันมีmomentum อยูในชวง p → ( p+ dp)พรอมทั้ง plot graph2 152 2 2 2เฉลย ϕ( p) = ⎡8 + 2 k d + ( k d −4)2cos( kd) −8dk s<strong>in</strong>( kd)⎤ เมื่อนิยาม6 5π k d⎣⎦pk ≡ นอกจากนี้ เนื่องจากความสัมพันธทางคณิตศาสตรระหวาง ψ ( x)และ ϕ ( p)ดังในสมการ (6.38)และ (6.39) ที่มีลักษณะของเหมือนกันกับ Fourier transform เราเรียกฟงชันก ψ ( x)และ ϕ ( p)วาเปน Fourier transform pair (ฟงชันกที่เปน Fourier transform ของกันและกัน) ระหวาง positionspace และ momentum space6.4 Free Particles และ Gaussian <strong>Wave</strong> Packetเพื่อมิใหเนื้อหาที่เกี่ยวของกับ momentum operator และกลไกทางคณิตศาสตรที่ไดกลาวมาขางตนเปนเพียงนามธรรมที่เลื่อนลอยจนเกินไป เรามาศึกษาตัวอยางที่เปนรูปธรรม ซึ่งก็คือ อนุภาคที่เคลื่อนที่อยางอิสระตามแนวแกน x หรือที่เรียกวา free particlesDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-17อนุภาควางอยู ณ จุดกําเนิดΨ =∫dx ψ( x )xx = 0−x2 2a2ψ( x)=Neระบบจริงที่กําลังศึกษา model ของ quantum mechanicsภาพ 6.2 แสดงถึง model อีกแบบหนึ่งของ quantum mechanics ที่ใชแทนอนุภาคที่วางอยู ณ จุดกําเนิด คําวา "วาง ณ จุด x=0" นั้น ในความเปนจริงแลว เปนไปไมไดที่อนุภาคจะมีตําแหนงที่แนนอน 100% อยู ณ จุดใดจุดหนึ่งพิจารณาอนุภาคที่วางอยู ณ จุดกําเนิดดังในภาพ 6.2 ในมุมมองของ quantum mechanics คําวา "วางณ จุด x=0" นั้น ในความเปนจริงแลว เปนไปไมไดที่อนุภาคจะมีตําแหนงที่แนนอน 100% อยู ณ จุดใดจุดหนึ่ง เพราะฉะนั้น เราใหสถานะ Ψ ของอนุภาคเปน l<strong>in</strong>ear superposition ของตําแหนงตางๆที่เปนไปได Ψ =∫ dxψ( x)x โดยมีฟงชันก ψ ( x)แสดงถึง probability amplitude ที่จะพบอนุภาค ณ ตําแหนงนั้นๆmodel อันหนึ่งที่เปนไปไดก็คือ การกําหนดใหψ ( x)−x22a2Ne= ____________________ สมการ (6.40)เมื่อ N และ a คือคาคงที่ ซึ่งเราจะทําการคํานวณและตีความในลําดับตอไป รูปแบบของฟงชันกในสมการ (6.40) จัดอยูในกลุมของฟงชันกที่เรียกวา Gaussian function ดังแสดงในภาพ 6.2ขอควรระวัง probability amplitude ในสมการ (6.40) มิไดเปนขอกําหนดตายตัวที่ quantummechanics ใชในการอธิบายอนุภาคอิสระ ขึ้นอยูกับความเหมาะสมกับระบบทางฟสิกสที่กําลังพิจารณา ยกตัวอยางเชน บางครั้งเรา model อนุภาคอิสระที่กําลังเคลื่อนที่ดวยความเร็วสูงโดยใชikxprobability amplitude ψ ( x)∼ eเราสามารถคํานวณคาคงที่ N ไดจากเงื่อนไข normalization ที่วาDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-18∗1 = dxψ( x) ψ( x)∫+∞2 −= dx N e∫−∞( x a) 2อาศัยสมบัติของ Gaussian function+∞−x2∫ dx e = π ผนวกกับสมการขางตน จะไดวา−∞N =1π aเพราะฉะนั้นแลว probability amplitude ของอนุภาคอิสระซึ่งอยูในรูปของ Gaussian function ก็คือψ ( x)1 −x2e2a2π a= ____________________ สมการ (6.41)และเพื่อที่จะเขาใจความหมายของคาคงที่ a เราลองคํานวณ uncerta<strong>in</strong>ty ในการวัดตําแหนงของอนุภาคดังกลาว จาก Section 2.4 ในบทที่ 2 uncerta<strong>in</strong>ty ของ operator ˆx คํานวณไดจาก2 2Δ x = xˆ− xˆ____________________ สมการ (6.42)เราเริ่มขั้นตอนในการคํานวณดวยการวิเคราะห expectation value ˆx ซึ่งจากสมการ (6.12) เราบอกไดวาˆ∗x = dxdx′ ψ ( x) ψ( x′ ) x xˆx′=∫∫∫∫dxdx′ ∗ψ ( x) ψ( x′ ) x′ x x′จากนั้น ใชสมการ (6.9) เพื่อชวยในการ <strong>in</strong>tegrate ทําใหในทายที่สุดDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-19ˆ∗x = dxdx′ ψ ( x) ψ( x′ ) x′ δ( x −x′)∫∫+∞∗= dxψ( x) xψ( x)∫−∞และเมื่อนําเอาคํานิยามของ probability amplitude ในสมการ (6.41) เขามา <strong>in</strong>tegrate+∞1 2 2ˆ−xax = dx xe = 0∫ ________________ สมการ (6.43)−∞π a2 2x aผลลัพธของ <strong>in</strong>tegration เปนศูนยก็เพราะวา e − เปนฟงชันกคู ในขณะที่ x เปนฟงชันกคี่และเมื่อทําการ <strong>in</strong>tegrate ตลอดชวง ( −∞ , +∞ ) จึงไดผลลัพธเปนศูนยโดยอัตโนมัติแบบฝกหัด 6.10 จงใชกลไกของการคํานวณ expectation value ในสมการ (6.12) เพื่อพิสูจนวา+∞ˆ2 ∗ 2x dxψ( x) x ψ( x)ขั้นตอนตอไปคือการคํานวณ 2 ˆx ซึ่งจากสมการ (6.44) จะไดวา= ∫ ________________ สมการ (6.44)−∞+∞2 2 22 1ˆ2 −x a ax = dx x e =π a2−∞∫ ________________ สมการ (6.45)เทคนิคของการ <strong>in</strong>tegrate ในสมการขางตน มิไดมีอะไรซับซอนไปกวาการเปดตาราง <strong>in</strong>tegrationแบบตางๆ ที่ปรากฏอยูในหนังสือ mathematical physics ซึ่งมีอยูโดยทั่วไปในทายที่สุด เราสามารถคํานวณ uncerta<strong>in</strong>ty ของตําแหนงของอนุภาคไดจาก สมการ (6.45) และสมการ (6.43) ซึ่งก็คือa2 2Δ x= xˆ− xˆ= ________________ สมการ (6.46)2นอกจากเราจะมองสถานะของอนุภาคดังกลาวใน position space เรายังสามารถเปลี่ยน probabilityamplitude ψ ( x)ใหอยูในรูปของ ϕ ( p)ใน momentum space ซึ่งทําไดโดยอาศัยสมการ (6.38)Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-20ϕ+∞1 1 −x 22a 2−ipx( p)= dx e e2π∫−∞ π a<strong>in</strong>tegral ขางตนสามารถคํานวณไดโดยการเปลี่ยนตัวแปร นิยามให<strong>in</strong>tegral แปรรูปเปนx ipaη ≡ +2a2 ซึ่งจะทําใหϕ2 2 2+∞1 1 −p a 2−η2( p) = 2ae ∫ dηe2π π a−∞ πและจะไดวาϕ( p)=aπ− p2a222e________________ สมการ (6.47)ฟงชันก ϕ ( p)ขางตน แสดงถึง probability amplitude ที่อนุภาคจะมี momentum ตางๆกัน และนั้นก็หมายถึง เมื่อเราตองการที่จะอธิบายสถานะของระบบใหอยูในรูปแบบของ momentum basis stateจะทําไดโดย⎛ a − p2a222 ⎞Ψ = ∫ dp ⎜e pπ⎟⎝ ⎠________________ สมการ (6.48)สถานะที่แสดงดังในสมการ (6.48) มีความสะดวกในการคํานวณ expectation value ของ momentumซึ่งแทนดวยสัญลักษณ ˆp และ การคํานวณ uncerta<strong>in</strong>ty ในการวัด momentum ซึ่งแทนดวยสัญลักษณ Δ pexpectation value ˆp สามารถคํานวณไดโดยใชสมการ (6.12) ซึ่งถึงแมตัวสมการจะเขียนอยูในรูปx เปนหลัก รูปแบบของสมการนั้นเปนจริงในทุกๆของ operator ที่ใช position basis state { }basis state รวมไปถึง momentum basis state { }p ดวยDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-21ˆ∗p = dpdp′ ϕ ( p) ϕ( p′ ) p pˆp′∫∫+∞a= ∫ dp pe π−∞− p2a22และเมื่อใชเหตุผลที่เกี่ยวของกับฟงชันกคูและฟงชันกคี่ของ <strong>in</strong>tegrand ขางตน เราสรุปไดวา+∞a 2 2 2ˆ− p a p = ∫ dp pe = 0 π−∞________________ สมการ (6.49)2แบบฝกหัด 6.11 จงคํานวณ expectation value ˆp ในทํานองเดียวกับที่เราไดวิเคราะห ˆx 22เพียงแตวาในกรณีนี้เปน operator ˆp และ momentum basis state { p } และพิสูจนวา+∞2 a 22 2 2ˆ− p a p ∫ dp p e π−∞= =222a________________ สมการ (6.50)แบบฝกหัด 6.12 จงหา expectation value ˆp โดยเริ่มจากการเขียนสถานะของระบบอยูในรูปของposition basis1 −x 22a2dx e xΨ =∫ แทนที่จะเปน momentum basis ดังในสมการπ a(6.48) นักศึกษาอาจจะตองใชสมการ (6.119) เขาชวยในการวิเคราะห2จากสมการ (6.49) และ (6.50) ซึ่งบอก expectation value ˆp และ ˆp ตามลําดับ เราบอกไดวาuncerta<strong>in</strong>ty ของการวัด momentum ของอนุภาคที่เราใช model ของ Gaussian wave packet คือ2 2Δ p= pˆ− pˆ= ________________ สมการ (6.51)2aคุณสมบัติตางๆของ Gaussian wave packet ดังกลาว ไดสรุปอยูในภาพ 6.3 ซึ่งแสดง model ของอนุภาคอิสระที่อธิบายดวย quantum mechanics และแสดงในสองลักษณะคือ 1) position spaceψ ( x)และ 2) momentum space ϕ ( p)ซึ่งทั้งสองมุมมองสามารถเปลี่ยนแปลงไปมาไดโดยใชtransformation equation ที่มีลักษณะคลายกันกับ Fourier transformDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-22position spacemomentum space⎛1 −x 2 2a2 ⎞Ψ = ∫dx ⎜e xπ a ⎟⎝⎠x⎛a−p 2 a2 22 ⎞Ψ = ∫ dp ⎜e pπ⎟⎝ ⎠ψ ( x)1+ipxϕ( p)1π aΔ x=ψ( x ) = ∫dp ϕ( p )e2πa212π∫−ipxdx ψ( x ) e =ϕ( p)aπΔ p= 2aภาพ 6.3 แสดง model ของอนุภาคอิสระที่อธิบายดวย quantum mechanics และแสดงในสองลักษณะคือ 1) position space ψ ( x)และ 2) momentum space ϕ ( p)1) ใน position space อนุภาคมี expectation value ของตําแหนง x ˆ = 0 ซึ่งหมายถึงวาโดยเฉลี่ยaแลวมันอยู ณ ตําแหนง x = 0 ในขณะที่ความไมแนนอนของตําแหนงดังกลาว Δ x = ซึ่งแปรผันตรงกับคาคงที่ a2) ใน momentum space อนุภาคมี expectation value ของ momentum operator p ˆ = 0 ซึ่งหมายถึงวาโดยเฉลี่ยแลวมันหยุดนิ่ง และจะสังเกตวาความไมแนนอนของ momentum ดังกลาวΔ p = ซึ่งแปรผกผันกับคาคงที่ a นั่นหมายถึงถาเราบอกตําแหนงของอนุภาคไดแมนยํา จะ2aสงผลใหความคลาดเคลื่อนของการวัด momentum มีคาสูงขึ้นในกรณีของตัวอยางที่เรากําลังวิเคราะหอยูนี้ ความสัมพันธของ uncerta<strong>in</strong>ty ทั้งสองคือ2pΔΔ x p= ในกรณีของ Gaussian wave packet ________________ สมการ (6.52)2Time Evolution of Gaussian <strong>Wave</strong> Packetmodel ของ quantum mechanics ที่ใชในการอธิบายพฤติกรรมของอนุภาค ดังที่ไดสรุปในภาพ 6.3นั้น อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไดเมื่อเวลาผานไป ในคราวนี้ เราจะมาศึกษาพฤติกรรมของอนุภาคในDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-23แงมุมตางๆกัน ไมวาจะเปนตําแหนง, ความไมแนนอนของการวัด position และ วัด momentum, และสถานะของอนุภาค เมื่อเวลาเปลี่ยนแปลงไปกลไกที่สําคัญในการวิเคราะหหาสถานะของระบบเมื่อเวลา t ใดๆนั้น ก็คือ time evolution operatorดังที่ไดกลาวมาแลวในบทที่ 4 ซึ่งอยูในรูปของUt ˆ ()iHt ˆe −= ___________________________ สมการ (6.53)โดยที่ Ĥ คือ Hamiltonian operator และในระบบของอนุภาคอิสระที่เรากําลังศึกษาอยูนี้ พลังงานรวมของระบบมาจากพลังงานจลนของการเคลื่อนที่ ซึ่งก็คือHˆˆ2p2m= _____________________________ สมการ (6.54)ทั้งนี้ เนื่องจาก Hamiltonian ของระบบเปนฟงชันกของ momentum operator จึงเปนการเหมาะสมที่เราจะเริ่มดวยการเขียนสถานะของอนุภาค Ψ ใหอยูในรูปของ momentum space เพราะฉะนั้นแลว สถานะของระบบ ณ เวลาใดๆ ก็คือiHt ˆ−Ψ (t) = e Ψ (t = 0)iHt ˆ− ⎛ a − p2a222 ⎞= e ∫ dp ⎜e pπ⎟⎝ ⎠ipˆ 2t⎛ a p2a222 −− ⎞Ψ (t) = dp e e 2m∫ ⎜pπ⎟⎝ ⎠−การที่จะวิเคราะหสมการขางตน เราจะตองทําการลดรูปเทอม e 2mp ใหไดเสียกอน ซึ่งขั้นตอนก็ไมตางจากที่เราเคยไดฝกใน Section 2.5.2 ของบทที่ 2 โดยเริ่มการการ expand operatorˆ2ip texp( )2mipˆ 2t− ใหอยูในรูปของอนุกรม Taylor จากนั้นนําพจนตางๆเขามากระทํากับสถานะ pDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-24ipˆ 2t ip2t−−ซึ่งจะไดวา e 2mp = e 2mp ทั้งนี้ใหสังเกตวาทางซายมือของสมการปรากฏเปนoperator ˆp ในขณะที่ทางขวามือของสมการปรากฏเปน eigenvalue p ดังนั้น⎛ a −p 2a222−ip 2t 2m⎞Ψ (t) = ∫ dp ⎜e pπ⎟⎝ ⎠________________ สมการ (6.55)สมการ (6.55) แสดงใหเห็นวา probability amplitude ของอนุภาคใน momentum space เปนฟงชันกของทั้ง momentum p และ ของเวลา t ซึ่งก็คือϕ( pt , ) =aπ−p 2a222−ip 2t 2me________________ สมการ (6.56)และจากขอมูลในสมการ (6.55) และ สมการ (6.56) เราสามารถคํานวณปริมาณตางๆที่เกี่ยวของอาทิmomentum เฉลี่ย และ ความไมแนนอนของการวัด momentum วาเปลี่ยนแปลงกับเวลาอยางไร ซึ่งจะไดวาp = 0 ณ เวลาใดๆ ________________ สมการ (6.57)Δ p = ณ เวลาใดๆ ________________ สมการ (6.58)2aเปนที่นาสังเกตวา สมบัติตางๆของระบบที่เกี่ยวของกับ momentum space มิไดเปลี่ยนแปลงไปกับเวลาแตอยางใด และในกรณีของ position space เราสามารถใช Fourier transform ดังในสมการ(6.39) เพื่อที่จะหา probability amplitude ψ ( x, t)1 aψ ( xt , ) = dp e2π∫ π−p 2a22 2− ip2t 2m+ipx และเมื่อทําการเปลี่ยนตัวแปร2a it ixη ≡ p + −222m2a it2+222mทําใหเราสรุปไดวาDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-25⎛ 2⎞1 x 1ψ ( xt , ) = exp⎜⎟− ⋅2 2π ( a i t ma) 2a+ ⎜ 1+( it ma ) ⎟⎝⎠________ สมการ (6.59)และสงผลใหx ˆ = 0 ณ เวลาใดๆ ___________________ สมการ (6.60)22a tΔ x = 1+ ___________________ สมการ (6.61)2 2 4maแบบฝกหัด 6.13 จงพิสูจนสมการ (6.59) , (6.60) , และ (6.61)สมการ (6.59) และ สมการ (6.61) แสดงใหเห็นวา เมื่อเวลาผานไป ถึงแมวาโดยเฉลี่ยแลวตําแหนงของอนุภาคจะหยุดนิ่งอยูที่จุดกําเนิด แตความไมแนนอนของตําแหนงดังกลาว กลับเพิ่มขึ้นกับเวลาและเมื่อรอจนกระทั่วเวลาลวงเลยไปมากพอสมควร เราแทบจะบอกไมไดเลยวา อนุภาคอยูที่ใด2แบบฝกหัด 6.14 a) จง plot graph ของ probability density ψ ( x, t)ณ เวลาตางๆกัน b) เวลา tผานไปเทาใด ระบบจึงจะมี uncerta<strong>in</strong>ty ของตําแหนง Δ x เพิ่มขึ้นเปน สองเทาของ Δ x ในเวลาเริ่มตนเฉลยT =23ma___________________ สมการ (6.62)แตทวาในความเปนจริงที่เราเห็นในธรรมชาติ ยกตัวอยางเชนเมื่อเรามองไปที่มะมวงลูกงามที่อยูบนตน กลับมาพรุงนี้เชามะมวงก็ยังคงอยูที่ตนเดิมไมหนีไปไหน ความเปนจริงที่สังเกตเห็นไดนี้ขัดกันอยางสิ้นเชิงหรือไม กับสมการ (6.61) ที่บอกวา ความไมแนนอนของตําแหนงจะเพิ่มขึ้นเมื่อเวลาผานไปในกรณีของมะมวง สมมุติใหมีมวล m= 30gและมีความแมนยําในการบอกตําแหนงอยูในชวงa = 0.1cm จากแบบฝกหัด 6.14 เราจะตองรอถึงมะมวงมี uncerta<strong>in</strong>ty ของตําแหนงเพิ่มขึ้นเปนสองเทาT =23ma19∼ 10ป จนกวาเราจะเห็นลูกDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-2622t2 4maปจจัยสําคัญในการกําหนดคุณสมบัติการเพิ่มขึ้นของ Δ x = 1+ นี้ ขึ้นอยูกับมวลและขนาดของอนุภาคเปนสําคัญ ยกตัวอยางเชน พิจารณาอะตอมของ hydrogen ซึ่งมีมวลประมาณ−27m ≅ 1.67× 10 kg และจินตนาการวาเราสามารถเห็นมันดวยกลอง electron microscope ซึ่งบอกตําแหนงดวยระยะความคลาดเคลื่อนที่ a = 1A ในกรณีเชนนี้a2T23ma= ∼−1310ซึ่งจะเห็นวาอนุภาคอิสระซึ่งมีขนาดเล็กมากๆ มีความคลาดเคลื่อนของการวัดตําแหนงอยูมากทีเดียวขอควรระวัง สมการ (6.61) เปนการวิเคราะหที่จํากัดอยูแตเพียงอนุภาคอิสระที่ไมไดตกอยูภายใตแรงยึดเหนี่ยวใดๆ ในกรณีของอะตอมที่ถูกยึดใหติดอยูกับวัตถุดวยพันธะเคมี จะมีพฤติกรรมที่แตกตางกันออกไป6.5 Heisenberg Uncerta<strong>in</strong>ty Pr<strong>in</strong>cipleวินาทีจากการวิเคราะหกรณีตัวอยางของอนุภาคอิสระ ที่ใช Gaussian wave packet เปน model นั้น เราไดสังเกตเห็นความสัมพันธของ Δ x และ Δ p ดังในสมการ (6.52) ซึ่งแสดงใหเห็นถึงขอจํากัดในมุมมองของ quantum mechanics ที่ไมอาจจะวัด position และ momentum ของอนุภาคใหแมนยําพรอมๆกันไดและใน Section 6.5 นี้ เราจะมาศึกษากฎเกณฑของ quantum mechanics ที่มีขอบเขตการประยุกตใชงานกวางมากขึ้น ซึ่งมิไดจํากัดอยูแตเพียง operator ˆx และ ˆp ดังในตัวอยางของ Gaussian wavepacketพิจารณาการวัดปริมาณทางฟสิกสที่แทนดวย operator  และ ˆB จะไดวา ความสัมพันธระหวางuncerta<strong>in</strong>ty ในการวัดของปริมาณทั้งสองก็คือ⎡ Aˆ , Bˆ⎤⎣ ⎦ΔAΔB≥ ___________________ สมการ (6.63)2โดยที่ ⎡Aˆ , Bˆ⎤⎣ ⎦ มีความหมายวา expectation value ของ operator ⎡ A ˆ,B ˆ⎤ ≡ AB ˆ ˆ − BA ˆˆ⎣ ⎦และเครื่องหมาย ที่ปรากฏอยูทางขวามือของสมการ (6.63) ก็คือ absolute value นั่นเองDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-27กอนที่เราจะทําการพิสูจนที่มาของสมการ (6.63) เรามาฝกการนําสมการดังกลาวมาใชงานเสียกอนสมมุติวาเรากําลังพิจารณาระบบที่เรากําลังจะวัด 1) ตําแหนง ซึ่งแทนดวย operator ˆx และ 2)momentum ซึ่งแทนดวย operator ˆpจากสมการ (6.24) เราทราบวา [ xˆ,pˆ]= i เราฉะนั้น expectation value ของ [ xˆ,p ˆ]ก็คือ[ xˆ,pˆ][ xˆ,pˆ]= Ψ iΨ= iΨΨ= iซึ่ง absolute value ของ complex number i ก็มีคาเทากับ นั่นเอง เพราะฉะนั้น จากสมการ(6.63) จะไดวาΔxΔp≥ ___________________ สมการ (6.64)2ความสัมพันธในสมการขางตน เปนจริงในทุกๆกรณี รวมไปถึงกรณีของอนุภาคอิสระ นอกจากนี้สมการ (6.64) ยังมีชื่อที่เรียกกันทั่วไปวา Heisenberg uncerta<strong>in</strong>ty pr<strong>in</strong>cipleแบบฝกหัด 6.15 จงใหสมการ (6.63) เพื่อหาความสัมพันธระหวาง uncerta<strong>in</strong>ty ของการวัด angularmomentum ตามแนวแกน x และ ตามแนวแกน y และเปรียบเทียบกับแบบฝกหัด 3.15เฉลย ΔJ ΔJ ≥ Jˆx y z2สําหรับขั้นตอนในการพิสูจนสมการ (6.63) นั้น สรุปโดยสังเขปไดวา1. เริ่มดวย Schwarz <strong>in</strong>equality ดังที่ไดเคยวิเคราะหในแบบฝกหัด 3.17 ที่วาα α β β α β2≥ ___________________ สมการ (6.65)2. พิจารณา operator  และ ˆB ใดๆที่ใชในการวัดปริมาณทางฟสิกส จะไดวา operator ทั้งสองตองเปน Hermitian operatorDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-283. ถาเรากําหนดให α = ( A ˆ − Aˆ) Ψ และ ( B ˆ Bˆ)( AˆAˆ) ( A)( BˆBˆ) ( B)β = − Ψ จะไดวา2 2αα = Ψ − Ψ = Δ ___________________ สมการ (6.66)2 2β β = Ψ − Ψ = Δ ___________________ สมการ (6.67)เพราะฉะนั้น ทางซายมือของ Schwarz <strong>in</strong>equality มีคาเทากับ ( ΔAΔ B) 2 ในขณะที่ทางขวามืออยูในรูปของซึ่งจําเปนจะตองจัดรูปเสียใหม( A ˆ A ˆ)( B ˆ B ˆ)α β = Ψ − − Ψ ___________________ สมการ (6.68)4. พิจารณา operatorÔ ใดๆ เราสามารถพลิกแพลงไดวาOˆทั้งนี้ถากําหนดให Oˆ ( Aˆ Aˆ )( Bˆ Bˆ)ˆ ˆ† ˆ ˆ†O+ O O−O2 2= + ___________________ สมการ (6.69)= − − แลวจะมีผลใหˆ ˆ†O O AB ˆ ˆ BA ˆˆ ⎡Aˆ,Bˆ⎤− = − = ⎣ ⎦______________ สมการ (6.70)ˆ ˆ†O O AB ˆ ˆ BA ˆˆ 2 Aˆ Bˆ 2Aˆ Bˆ AˆBˆ+ = + − − + ______________ สมการ (6.71)5. ดังนั้นสมการ (6.68) แปรรูปเปนα β = Ψ OˆΨˆ ˆ† ˆ ˆ†O+ O O−O= Ψ + Ψ2 21 ˆ ˆ†1= Ψ ˆ ˆ( O+ O ) Ψ + Ψ ⎡A,B⎤Ψ2 2 ⎣ ⎦______________ สมการ (6.72)Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-29†แบบฝกหัด 6.16 จงพิสูจนวา a) operator O ˆ + Oˆในสมการ (6.71) เปน Hermitian operatorเพราะฉะนั้นแลว expectation value ˆ ˆ†O+ O†เปนจํานวนจริงเสมอ b) operator Oˆ− Oˆในสมการ (6.70) มี expectation value เปนจํานวนจินตภาพเสมอ6. เพราะวา ˆ ˆ†O+ O†เปนจํานวนจริง และ O ˆ − Oˆเปนจํานวนจินตภาพ จากสมการ (6.72) เราบอกไดวา†และเปนธรรมดาที่ ( )( )2 22 1 ˆ ˆ†1α β = Ψ O+ O Ψ + Ψ ⎡Aˆ,Bˆ⎤ Ψ4 4 ⎣ ⎦2 2 21 ˆ ˆ 1 ˆ 1Ψ O+ O Ψ + Ψ ⎡A, Bˆ⎤ ⎡Aˆ,Bˆ⎤4 4 ⎣ ⎦Ψ ≥ Ψ Ψ4 ⎣ ⎦เพราะวาทั้งสองเทอมในทางซายมือของอสมการลวนเปนบวกทั้งคู เพราะฉะนั้นแลว2 1α β ≥ Ψ ⎡ABˆ,ˆ ⎤ Ψ42⎣ ⎦______________ สมการ (6.73)7. เมื่อรวมสมการ (6.73), สมการ (6.66), สมการ (6.67) ,และ อสมการ (6.65) เขาดวยกัน จะไดวา2 2 1Δ Δ ≥ α β ≥ Ψ ⎡Aˆ , Bˆ⎤ Ψ4 ⎣ ⎦( A B)2หรืออีกนัยหนึ่ง ( A B)2 1Δ Δ ≥ Ψ ⎡Aˆ , Bˆ⎤ Ψ42⎣ ⎦ซึ่งลดรูปใหงายลงไดในทายที่สุดก็คือ1ΔAΔB≥⎡Aˆ , Bˆ⎤2 ⎣ ⎦เพียงสั้นๆ 7 ขั้นตอน เราก็สามารถพิสูจนสมการ (6.63) ไดสําเร็จ6.6 Schröd<strong>in</strong>ger EquationDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-30การศึกษา quantum mechanics คงจะขาดความสมบูรณ ถาเราไมไดกลาวถึง Schröd<strong>in</strong>ger equationถึงแมวาจะกระทั่งบัดนี้ เราพยายามที่หลีกเลี่ยงการให wave function เขามาวิเคราะหปรากฏการณทางฟสิกสก็ตามใน Section 4.1.2 ของบทที่ 4 เราไดกลาวถึงสมการ Schröd<strong>in</strong>ger ไปบางแลว ซึ่งสมการดังกลาวเขียนอยูในรูปแบบของสถานะ ket ไดวา∂i Ψ () t = HˆΨ () t∂t ______________ สมการ (6.74)และเพื่อแสดงใหเห็นวา matrix mechanics ดังในสมการ (6.74) นั้นมีขอบเขตการประยุกตกวางขวางกวา Schröd<strong>in</strong>ger equation ที่ศึกษาคุนเคยใน quantum mechanics เบื้องตน เราจะมาศึกษาSchröd<strong>in</strong>ger equation ที่สามารถเขียนออกมาใน 2 รูปแบบดวยกัน คือ 1) position space และ 2)momentum spaceSchröd<strong>in</strong>ger Equation <strong>in</strong> Position Spaceใน position space เราสามารถนิยาม พลังงานรวมของระบบ หรือ Hamiltonian operator ที่ปรากฏในทางขวาของสมการ (6.74) ใหอยูในรูปของHˆˆ2p= + V( xˆ) ______________ สมการ (6.75)2mทั้งนี้เพื่อความสะดวกในการอธิบายความ เราจํากัดการวิเคราะหแตเฉพาะใน 1 มิติ ตามแกน x จากสมการ (6.75) จะเห็นวาˆ2p2m ก็คือ k<strong>in</strong>etic energy operator หรือ operator ที่ใชวัดพลังงานจลนของระบบ และ V( x ˆ)ก็คือ potential energy operator ซึ่งเปนตัวแทนของพลังงานศักยที่ระบบอยูภายใตอิทธิพล ยกตัวอยางเชน ในกรณีของอนุภาคอิสระที่เราศึกษาใน Section ที่ผานมา V( x ˆ) = 0 หรือในกรณีที่อะตอมโดนยึดติดอยูกับอะตอมอื่นๆดวยพันธะเคมี เราอาจจะ model พลังงานศักยนี้ไดวาV( xˆ)12ˆ2= kx โดยที่ k เปนตัวเลขที่แสดงถึงความแข็งแรงของพันธะเคมีดังกลาวใน position space เราเขียนสถานะของระบบ Ψ () t ใหอยูในรูปของDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-31Ψ () t =∫ dxψ( x,)t x ______________ สมการ (6.76)จะเห็นวา probability amplitude ψ ( x, t)ในสมการ (6.76) นั้น เปนฟงชันกของทั้งตําแหนง และเวลา ที่เปนเชนนี้ก็เพราะ Schröd<strong>in</strong>ger equation ที่ปรากฏในสมการ (6.74) นั้นมีสวนที่เปลี่ยนแปลงไปกับเวลาดวย ดวยสถานะดังสมการ (6.76) ทําใหสมการ (6.74) เปลี่ยนรูปเปน∫∂dxi ( x, t) x dx ( x, t)Hˆxt ψ =∂∫ ψ ______________ สมการ (6.77)และเมื่อนําสถานะ bra x′ เขามาประกบทั้งสองขางของสมการขางตน จะไดวา∫∫∂dxiψ( x, t) x′ x = dxψ( x, t)x′Hˆx∂t∫∂pˆdxiψ( x, t) δ( x′ − x) = dxψ( x, t) x′+ V ( xˆ) x∂t∫2m∂pˆiψ( x′ , t) = dxψ( x, t) x′ x + dxψ( x, t) x′V( xˆ) x∂t∫2m∫22______________ สมการ (6.78)ในการคํานวณขางตน ทางซายมือของสมการ เราใชคุณสมบัติของ Dirac delta function ในขณะที่ทางขวาประกอบดวยสองเทอมดวยกัน เทอมแรก จากสมการ (6.28) เราพิสูจนโดยงายวา2 2 2pˆ ∂x′ x =− ( x x)2m 2m 2x δ ′ −∂x′ V( xˆ) x V( x) δ ( x′x)และเทอมที่สอง จากสมการ (6.9) เราบอกไดทันทีวา= − และเมื่อผนวกกันเอกลักษณทางคณิตศาสตรที่เกี่ยวของกับการ<strong>in</strong>tegrate Dirac delta function แลว จะทําใหสมการ (6.78) ลดรูปไดเปน2∂pˆiψ( x′ , t) = dxψ( x, t) x′ x + dxψ( x, t) x′V( xˆ) x∂t∫2m∫2 2∂ ∂iψ( x′ , t) =− ψ( x′ , t) + V( x′ ) ψ( x′, t)∂ t 2m 2∂x′และในทายที่สุด เพื่อความสะดวก เราสามารถที่จะเปลี่ยนตัวแปรจากเดิม x′ ใหเปน x ซึ่งก็จะได2 2∂ ∂i ψ( x, t) =− ψ( x, t) + V( x) ψ( x, t)∂t 2m 2∂x ______________ สมการ (6.79)Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-32สมการ (6.79) ก็คือ Schröd<strong>in</strong>ger equation ใน position space ซึ่งเปนตนกําเนิดสําคัญของ quantummechanics เบื้องตนที่นักศึกษาคุนเคยเปนอยางดี และโดยปรกติแลว การที่จะไดมาซึ่งผลเฉลยψ ( x, t)ก็ทําไดโดยการแกสมการอนุพันธอันดับสองของสมการดังกลาวนอกจากนี้ ψ ( x, t)ยังอาจจะหาไดโดยการใชความสัมพันธiE t− n() t cne εnnΨ =∑ดังที่ปรากฏใน Section 4.6 ของบทที่ 4 ซึ่งถาเราใชคํานิยาม Ψ () t =∫ dxψ( x,)t x และนําสถานะ bra x′ เขาประกบทั้งสองขางของสมการขางตน จะพิสูจนไดวาเมื่อ ψ ( ) เปน eigen function ของสมการn xiE t− nψ ( x, t) cne ψ n( x)n= ∑ ______________ สมการ (6.80)2 2 ∂− ( ) ( ) ( ) ( )2 2 n x V x n x En n xm x ψ + ψ =∂ψ______________ สมการ (6.81)ในบางครั้งเราเรียกสมการ (6.81) นี้วา time <strong>in</strong>dependent Schröd<strong>in</strong>ger equation ดวยเหตุที่วาเปนสมการอนุพันธที่ไมขึ้นกับเวลา และสําหรับการคํานวณหา wave function ψ ( x, t)ของระบบก็จะกระทําเปนขั้นตอนโดยสังเขปคือ1. กําหนดพฤติกรรมของระบบโดยการนิยาม V( x )2. กําหนดสถานะเริ่มตน ณ เวลา t=0 ของระบบ ซึ่งแทนดวย probability amplitude ψ ( xt , = 0)3. แกสมการ time <strong>in</strong>dependent Schröd<strong>in</strong>ger equation เพื่อหาเซตของ eigen function { ψ n( x )}และeigen energy { E n}∗4. คํานวณสัมประสิทธิ์ cn= ∫ dxψn( x) ψ( x, t = 0)iE t− n5. ψ ( x, t) = cne ∑ ψ n( x)nDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-33Schröd<strong>in</strong>ger Equation <strong>in</strong> Momentum Spaceในการสรางสมการ Schröd<strong>in</strong>ger ใน momentum space เราจําเปนตองเริ่มดวยการศึกษาเอกลักษณทางคณิตศาสตร pxΨ ˆ กันเสียกอน พิจารณาpxˆΨ = pxˆ1ˆ Ψ= dx p xˆx x Ψ=∫∫dx p x xψ( x)______________ สมการ (6.82)ในสมการขางตน เราใช identity operator ที่เขียนอยูในรูปของ ˆ1 = ∫ dx x x ใหเปนประโยชนนอกจากนี้ เทอม p x x ยังสามารถเขียนใหอยูในรูปของ(6.35) เปนตัวอางอิง แตx1e2π−ipxโดยใชสมการ1 −ipx 1 ∂x e = ie2π2π∂p−ipx______________ สมการ (6.83)และเมื่อแทนสมการ (6.83) เขาไปในสมการ (6.82) จะไดวา1 ∂ˆ−ipxp x Ψ = dxi e ψ ( x)2π∫ ∂p∂ 1 −ipx= idxe ψ ( x)∂p2π∫ ϕ( p)เพราะฉะนั้นแลว∂p xˆ Ψ = i ( p)∂p ϕ ______________ สมการ (6.84)สมการ (6.84) แทบจะเรียกไดวามีความสัมพันธควบคูไปกับสมการ (6.27) เลยทีเดียว และในขณะนี้เราก็พรอมที่จะ derive สมการ Schröd<strong>in</strong>ger ใน momentum spaceDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-34เริ่มดวย Schröd<strong>in</strong>ger equation ในสมการ (6.74) ถาเรานําสถานะ bra p เขาประกบทั้งสองขางของสมการจะไดวา∂ip Ψ () t = p HˆΨ()t∂tˆ2p= Ψ + ˆ Ψ∂iϕ( p, t) p ( t) p V( x) ( t)∂t2m______________ สมการ (6.85)ทางขวามือของสมการขางตนนั้นมีอยูสองเทอมที่จะตองขยายความ เทอมแรกนั้น เนื่องจาก ˆp เปนHermitian operator ทําให2†2⎛ pˆ⎞ ⎛ pˆ⎞=⎜2m⎟ ⎜2m⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠เพราะฉะนั้น2 ⎧ 2† ⎫pˆ⎪ ⎛ pˆ⎞ ⎪p Ψ () t = ⎨ p Ψ()t2m⎜⎬2m⎟⎪ ⎝ ⎠ ⎪⎩ ⎭22 2p= p Ψ()t2mpˆpp Ψ () t = ( p)2m2m ϕ______________ สมการ (6.86)สวนเทอมที่สองในสมการ (6.85) นั้นมีความซับซอนมากขึ้น ประการแรกก็คือ operator V( x ˆ)สามารถเขียนใหอยูในรูปของ Taylor series ( ˆ)ˆnV x = ∑ a x ดังนั้นnn∑p V( xˆ) Ψ ( t) = a p xˆΨ( t)nnnและจากสมการ (6.84) จะไดวา⎛ ∂ ⎞p V( xˆ) Ψ ( t) = an⎜i ⎟ ϕ( p, t)⎝ ∂p⎠nn∑ ______________ สมการ (6.87)Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-35โดยที่⎛⎜i⎝∂ ⎞⎟∂p⎠n มีความหมายวา อนุพันธอันดับ n ถึงแมรูปแบบของ p V x ˆ(6.87) นั้นจะตีความในเชิงคณิตศาสตรไดชัดเจน บางครั้นเรานิยมเขียนยอๆวาnn⎛ ∂ ⎞∂an⎜i ⎟ ϕ( p, t) = V( i ) ϕ( p, t)⎝ ∂p⎠∂p∑ เพราะฉะนั้นแลว( ) ( t)Ψ ดังสมการ∂p V( xˆ) Ψ ( t) = V( i ) ( p, t)∂p ϕ ______________ สมการ (6.88)และในทายทีสุด เมื่อรวบรวมเทอมในสมการ (6.86) และ สมการ (6.88) จะทําให2∂ p∂i ϕ( p, t) = ϕ( p, t) + V( i ) ϕ( p, t)∂t 2m ∂p ______________ สมการ (6.89)สมการขางตนเปน Schröd<strong>in</strong>ger equation ใน momentum spaceOperator <strong>in</strong> Position Space and Expectation Valueที่ผานมาเราพยายามที่เขียน eigenstate ใหอยูในรูปของ ket และเขียน operator ใหอยูในรูปของ ketbraโดยพยายามหลีกเลี่ยงที่จะใชรูปแบบสัญลักษณของ wave function ถาไมจําเปน ทั้งนี้ก็เพื่อประโยชนที่ตองการฝกใหนักศึกษาไดคุนเคยกับระเบียบวิธีทาง quantum mechanics ที่ใช ket และmatrix เปนหลัก และไมยึดติดกับ Schröd<strong>in</strong>ger wave function จนเกินไปมาถึงขั้นนี้ เมื่อเรามีความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับ ket และ matrix เปนที่นาพอใจแลว ก็ถึงเวลาที่เราจะสละทิ้งรูปแบบเปลือกนอกของสัญลักษณทาง quantum mechanics ไมวาจะเปน a) wave functionหรือเปน b) สถานะ ket ทั้งสอง ยอมมีความหมายเหมือนกัน และเปนเพียงเปลือกที่หุมไวดวยสาระของ quantum mechanics อันเดียวกัน ผูเชี่ยวชาญยอมสามารถเลือกใชเครื่องมือทั้งสอง ไดอยางคลองแคลว และสลับสับเปลี่ยนระหวางสองยุทธวิธีตามความเหมาะสมoperator ที่เราคุนเคย ซึ่งเขียนอยูในรูปแบบภาษาของ wave function ก็คือ operator ที่เขียนอยูในรูปของ position space อาทิเชน momentum operator ตามแนวแกน x คือ pˆ xHamiltonian operator2ˆ 2 H =− ∇ + V( r)2m ∂≡i ∂xหรือDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-36operator ในลักษณะดังกลาวนี้ จะสามารถกระทําไดแตเฉพาะกับ wave function ใน position spaceเพียงเทานั้น อาทิเชนmomentum operator pˆ ψ( x) = ψ( x)Hamiltonian operatorx ∂i ∂x2ˆ 2 Hψ( r) =− ∇ ψ( r) + V( r) ψ( r)2mเมื่อเปนเชนนี้ก็หลีกเลี่ยงไมไดที่บางครั้งจะเกิดความสับสนในการใชสัญลักษณ วา operator Ô ที่เรากําลังกลาวถึงนั้น เปน operator ใน position space หรือ เปน operator ที่เขียนขึ้นในรูปทั่วไปอยางในสมการ (6.5) กันแน จึงตองอาศัยประสบการณของนักศึกษาเอง ที่จะสามารถแยกแยะทั้ง 2 กรณีออกจากกัน โดยอาศัยบริบทของเนื้อหาแวดลอม เปนตัวตัดสินอนึ่ง การเขียน operator ใน position space นั้นคอนขางงายตอการคํานวณ expectation value หรือคํานวณ probability amplitude กําหนดให ψ ( r ) คือ wave function ที่ใชแทนสถานะของระบบจะไดวา expectation value ของ operator Ô ก็คือ3expectation value ˆO = d r ( ) ˆ∫ ψ r Oψ( r) <strong>in</strong> position space ______ สมการ (6.90)หรือ ในกรณีของ matrix element ระหวางสถานะ φ( r ) และ ( r )ตรงไปตรงมาใน position space กลาวคือψ ก็สามารถคํานวณไดอยาง3 ∗ φψ ≡ ∫ d r φ ( r) ψ( r)<strong>in</strong> position space ______ สมการ (6.91)นักศึกษาจะเห็นวา สมการ (6.90) นั้นคอนจะงายกวาสมการ (6.12) อยูมากทีเดียว ทั้งๆที่มีความหมายเดียวกัน ที่แตกตางกันก็เพราะวา operator Ô ในสมการ (6.90) นั้นมีขอจํากัดก็คือจะตองเขียนขึ้นใน position space เพียงเทานั้นขอจํากัดดังกลาวนี้ไมกอใหเกิดปญหามากนัก เพราะสถานการณตางๆโดยทั่วไปในทาง quantummechanics นั้น จะใช position space เปนหลักDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-37แบบฝกหัด 6.17 สมมุติวาอนุภาคมวล m ใน 1 มิติอยูในสถานะที่อธิบายดวย wave functionψ14⎛mω⎞ −mωx2( x)e 2 = ⎜ ⎟⎝ π ⎠a) จงคํานวณหา expectation value ของ พลังงานจลน12 m x2b) จงคํานวณหา expectation value ของ operator ω ˆc) จงแสดงใหเห็นวา ψψ = 1d) จงแสดงใหเห็นวา 0 φψ = เมื่อ6.7 Square Well Potential2 2 ∂−2m ∂x 2⎡ 34 ⎛mω⎞⎤φ( x)= ⎢ ⎜ ⎟ ⎥⎢π⎝ ⎣⎠ ⎥⎦14xe−mωx2 2 เมื่อเราไดศึกษาการเขียนสมการ Schröd<strong>in</strong>ger ทั้งสองรูปแบบคือ <strong>in</strong> position space ในสมการ (6.79)และ <strong>in</strong> momentum space ในสมการ (6.89) มาแลว ก็มีความจําเปนที่เราจะตองยกตัวอยางการนํามาใชงาน ซึ่งก็คือการศึกษา quantum well ของสารประกอบ GaAs และ GaAlAsโครงสรางของ quantum wellmodel ในการศึกษาV ( x)x2aบอพลังงานศักยGaAlAs2aGaAsภาพ 6.4 แสดงชั้นของสาร GaAs ซึ่งโดยประกบอยูระหวาง GaAlAsxโครงสรางของ quantum well อีกแบบหนึ่งก็คือการนําสารกึ่งตัวนํามาประกอบกันเปนชั้นๆยกตัวอยางเชนในภาพ 6.4 แสดงชั้นของสาร GaAs ซึ่งโดยประกบอยูระหวาง GaAlAs ในการศึกษาหรือทํานายคุณสมบัติของกระแสอิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ผานโครงสรางลักษณะดังกลาวนี้เราสามารถใช model ทาง quantum mechanics อยางงาย เพื่อวิเคราะหสมบัติพื้นฐานอยางหยาบๆดวยการมองวาอิเล็กตรอนนั้น ตกอยูภายใตอิทธิพลของบอพลังงานศักยคาหนึ่ง ซึ่งมีความกวางของบอเทากับความหนาของชั้น GaAsDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-38บอพลังงานศักยดังกลาว เรียกกันทั่วไปวา F<strong>in</strong>ite Square Well ในขั้นแรกนี้ F<strong>in</strong>ite Square Well เปนบอพลังงานศักย ซึ่งมีความสูงเทากับ V 0 และความกวาง 2a ดังจะเห็นในภาพที่ 6.5 โดยที่ขอบบอทั้งสองขาง ไดถูกวางไวใหมีความสมมาตร ในทั้งดานขวาและดานซายของแกน x ทั้งนี้ก็เพื่อใหงายตอการวิเคราะหในเชิงคณิตศาสตรในลําดับตอไปV 0− x− a+ a+ xϕI(x)ϕII(x)ϕ III(x)ภาพ 6.5 F<strong>in</strong>ite Square Well ซึ่งเปนลักษณะของบอพลังงานศักยที่มีความสูง V 0 และความกวางของบอ 2aจากภาพที่ 6.5 เราสามารถที่แบง F<strong>in</strong>ite Square Well ตามแนวแกน x ออกเปน 3 สวนดวยกันจากนั้น เขียนสมการ Schröd<strong>in</strong>ger ในแตละสวนตามลําดับไดดังตอไปนี้⎛ 1 2 ⎞⎜−∇ + V0⎟ϕI(x)= EϕI(x)⎝ 2 ⎠1 2− ∇ ϕII(x)= EϕII(x)2⎛ 1 2 ⎞⎜−∇ + V0⎟ϕIII(x)= EϕIII(x)⎝ 2 ⎠; − ∞ < x < −a; − a < x < + a; + a < x < +∞___________ สมการ (6.92)ซึ่งถาเรามุงที่จะวิเคราะห แตเฉพาะในกรณีที่อิเล็กตรอนถูกจํากัดอยูแตภายในบอ กลาวคือ พลังงานของอิเล็กตรอน E < V0จะได wave function ในทั้ง 3 สวนดังนี้φ ( x) = AIφ ( x) = B cos(k ⋅x)IIφ ( x) = AIIIQx ⋅+ e+−Qx⋅+ eφ ( x) = A eIφ ( x) = B s<strong>in</strong>(k ⋅ x)IIφ ( x) =−AeIIIQx ⋅−−−Qx⋅−___________ สมการ (6.93)Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-39+ 2V และ2 2k Q =0E2k2= ___________ สมการ (6.94)แบบฝกหัด 6.18 จงพิสูจนหาความสัมพันธระหวาง k และ Q ในสมการ (6.94)รูปแบบของ wave function ในสมการ (6.93) นั้น ลวนแลวแตเปนคําตอบของ Schröd<strong>in</strong>gerEquation ในสมการ (6.92) โดยสามารถจําแนกออกเปนสองประเภทคือ ฟงชันกคู และฟงชันกคี่ตามที่เห็นไดจากเทอม cos( kx ) และ เทอม s<strong>in</strong>( kx ) ในสมการที่ (6.93) นั่นเองจะสังเกตวาสมการในขางตนนั้น มีตัวแปรหรือคาคงที่ ซึ่งยังไมทราบคาอยูจํานวนหนึ่งคือ A ±, B±, k และ Q การที่เราจะทราบคาที่แทจริงของตัวแปรเหลานี้ จําเปนเปนตองอาศัยคุณลักษณะอื่นๆของ wave function เขามาพิจารณารวมกันดวยกลาวคือ ถาเราพิจารณาตําแหนง x =− a และ x = + a ซึ่งตําแหนงทั้งสองนี้เปนรอยตอของϕI(x), ϕII(x),และ ϕIII(x)จะไดวา คาของฟงชันก และ 1 st derivative ของฟงชันก จะตองเทากันดวยเหตุที่ wave function มีความตอเนื่อง ไมขาดตอนในบริเวณรอยตอเหลานี้ϕ ( a)= ϕ ( a)IIdϕII(x)dxaIIIdϕIII(x)=dxa___________________ สมการ (6.95)ถาเรานําขอจํากัดในขางตนมาพิจารณากับ wave function ในสมการ (6.93) โดยแยกพิจารณาสําหรับฟงชันกคูและฟงชันกคี่เปนกรณีๆไป จะไดวา−Qa⋅B+ cos(ka) = A+e−Qa⋅-kB+ s<strong>in</strong>(ka) =−QA+eEven solution−Qa⋅B−s<strong>in</strong>(ka)=−A−e−Qa⋅kB−cos(ka)= QA−eOdd solution________ สมการ (6.96)จาก สมการ (6.96) และ สมการ (6.94) เราสามารถสรุปความสัมพันธระหวาง k และ Q ดังตอไปนี้k tan(ka)= Q2 2k + Q = 2VEven solution0- k cot(ka)= Q2 2k + Q = 2VOdd solution0________ สมการ (6.97)Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-40จะมีเซตของคา { kQ , } เพียงจํานวนหนึ่งเทานั้น ที่จะทําใหสมการ (6.97) เปนจริง โดยที่เราสามารถหาคําตอบไดโดยการวิเคราะหกราฟ ดังแสดงในภาพ (6.6) ยกตัวอยางเชน ในกรณีของฟงชันกคู2 2จุดตัดของวงกลม k + Q = 2V0ซึ่งมีรัศมี 2V0กับกราฟ Q = k tan(ka)เปนจุดของ { kQ , }ที่ทําให สมการ (6.97) เปนจริงแบบฝกหัด 6.19 จงพิสูจนวา ในกรณี ของ F<strong>in</strong>ite Square Well ซึ่งมีความกวาง 2a และความสูง V 02V a0จะมีจํานวน bound state ( E < V0) ซึ่งเปนฟงชันกคูเทากับ 1+ floor( ) และเปนฟงชันกคี่2V a120เทากับ 1+floor( − )πหมายเหตุ ฟงชันก ( )floor x คือจํานวนเต็มที่มากที่สุด ซึ่งนอยกวาจํานวนจริง xπQ22k +Q=2V0Q = k tan(ka)Q =−k cot(ka)kภาพ 6.6 แสดงการวิเคราะหกราฟเพื่อที่จะหาเซต { kQ , } ที่ทําใหสมการ (6.97) เปนจริงยกตัวอยางเชน ในกรณีของฟงชันกคู จุดตัด2 2ของวงกลมสีแดง k + Q = 2V0และ กราฟสีน้ําเงิน Q = k tan(ka)มาถึงจุดนี้ เราสามารถที่จะคํานวณคา { kQ , } ที่เปนไปไดของระบบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง คา k นั้นมีความสัมพันธกับระดับพลังงานตามสมการ (6.94) นอกเหนือจากนี้ คาของ B±ยังสามารถเขียนใหอยูในรูปของ A±, k, Q, และ a โดยใชสมการ (6.96)Qae − ⋅Qae − ⋅B+ = A+B−A−cos(ka)s<strong>in</strong>(ka)Even solutionOdd solution=− ________ สมการ (6.98)ซึ่งถานํา B±ที่ไดในขางตน เขาไปแทนคาในสมการ (6.93) ก็จะได wave function ดังนี้Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-41Qx ⋅I( x) = A+e-Q⋅aeII( x) = A+cos(k ⋅x)cos(k a)φφφ−Qx⋅III( x) = A+eEven solutionQx ⋅I( x) = A−e−Qa⋅eII( x) = − A−s<strong>in</strong>(k ⋅x)s<strong>in</strong>(k a)φφφ−Qx⋅III ( x) =−A−eOdd solution______ สมการ (6.99)การที่เราจะได wave function ที่ครบถวนสมบูรณนั้น จําเปนตองหาคาของ A±ในสมการ (6.99)เสียกอน ซึ่งคาของ A±นั้น ไดมาจาก Normalization condition กลาวคือ ความเปนไปไดที่จะพบอิเล็กตรอน ณ ตําแหนงใดๆ ควรจะมีผลรวมเปน 1 เสมอ หรืออีกนัยหนึ่ง− a+ a+∞2 2 2φI ( x) dx + φII( x) dx + φIII( x) dx = 1-∞ -a+ a∫ ∫ ∫ ________________ สมการ (6.100)การที่ผลบวกของ Integral ทั้ง 3 เทอม มีคาเปน 1 จะทําใหสามารถหาคาของ A±ไดดังนี้QA+=kcos(k ae )2 22V cos (k a)+ k Qa0QA−=ks<strong>in</strong>(k ae )2 22V s<strong>in</strong> (k a)+ k Qa0Q⋅aQ⋅a________________ สมการ (6.101)แบบฝกหัด 6.20 จงพิสูจนหาคา A±ในสมการ (6.101)ในที่สุด เราก็ได wave function ที่ครบถวนสมบูรณ ดังจะเห็นใน สมการ (6.99) และ สมการ (6.101)ยกตัวอยางเชน ถาเรากําหนดให a = 2 Bohr และ Vo = 1 Hartrees จากการวิเคราะหกราฟที่มีลักษณะคลายๆกับ ภาพ 6.6 เราจะมีคําตอบที่เปน bound state อยูสองคําตอบ ซึ่งมีพลังงานE=0.166 Hartrees และ E=0.623 Hartrees ดังที่เห็นในภาพ 6.7Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-42210−1− 50 5x-axis (Bohr)Ground State ฟงชันสคูk = 0.576Q = 1.292A + = 3.237E = 0.166 HartreesExcited State ฟงชันสคี่k = 1.116Q = 0.869A - = 2.526E = 0.623 Hartreesภาพ 6.7 แสดง wave function ของบอพลังงานศักยที่มีความกวาง 2 Bohr และความสูง Vo= 1Hartrees คา {k,Q} ไดมาจากเทคนิคการวิเคราะหกราฟดังที่อธิบายในภาพ 6.6เราสามารถที่จะตรวจสอบความถูกตองของ wave function ในสมการ (6.99) และ สมการ (6.101) ไดโดยสมมุติให V0→ ∞ ซึ่งจะเปนระบบแบบ Inf<strong>in</strong>ite Square Well ดังที่ไดกลาวไวแลว ในกรณีนี้จะไดวา จุดตัดของกราฟ ดังในภาพที่ 6.6 จะอยูที่Q → ∞⎛ 1 ⎞ka= ⎜n+ ⎟π; n = 0,1,2, …⎝ 2 ⎠2⎛ 1 ⎞ πE = ⎜n+ ⎟2⎝ 2 ⎠ 2aEven solution2Q → ∞ka= nπ; n = 1,2, …22 πE = n22aOdd solutionทําให wave function ในสมการที่ (6.99) ลดรูปลงมาเหลือเพียงϕ ( x)= 0I1ϕII( x)= cos(k ⋅ x)aϕIII(x)= 0Even solutionϕ ( x)= 0I1ϕII( x)= s<strong>in</strong>(k ⋅ x)aϕIII(x)= 0Odd solutionซึ่งก็เปน wave function ของระบบ <strong>in</strong>f<strong>in</strong>ite square well นั่นเอง6.8 Scatter<strong>in</strong>g <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong>Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-43Section ที่ผานมา เราไดศึกษาระดับพลังงานและ wave function ของระบบที่ถูกขังอยูในบอพลังงานศักย ซึ่งเปน model ที่เราใชในการศึกษาพฤติกรรมของอิเล็กตรอนที่อยูภายในชั้นของ quantum wellในคราวนี้เราจะมาศึกษาระบบที่พลังงานศักยมีลักษณะเปนเหมือนกําแพง เรียกวา "potential barrier"หรือ กําแพงศักย ซึ่งกําแพงดังกลาวเปน model ในการศึกษาการทดลองที่เรียกวา scatter<strong>in</strong>gexperiment<strong>in</strong>cident beamreflected beamtransmitted beamภาพ 6.8 ในเมื่อเราจํากัดการกระเจิงใหอยูแตเพียง 1 มิติ ทิศทางในการ scattered จึงมีไดเพียง 2 ทิศคือ 1) ยอนกลับ หรือที่เรียกวา reflected beam และ 2) ทะลุผาน หรือที่เรียกวา transmitted beamใน scatter<strong>in</strong>g experiment อนุภาคที่มีพลังงานสูงจะถูกยิงเขาสูเปาหมาย เมื่อเขาใกลก็จะมี<strong>in</strong>teraction กับสิ่งที่กําลังกีดขวาง และอนุภาคก็จะเกิดการ "กระเจิง" หรือ "scattered" ไปในทิศทางตางๆกัน เพื่อใหงายตอการศึกษา เรามาวิเคราะหการทดลองดังกลาวโดยใช model แบบงายๆใน 1มิติ และในเมื่อเราจํากัดการกระเจิงใหอยูแตเพียง 1 มิติ ทิศทางในการ scattered จึงมีไดเพียง 2 ทิศคือ 1) ยอนกลับ หรือที่เรียกวา reflected beam และ 2) ทะลุผาน หรือที่เรียกวา transmitted beamขอควรระวัง นักศึกษาตองไมลืมวาภาพ 6.8 เปนกราฟที่แสดงความนาจะเปนที่จะพบอนุภาค ซึ่งแทที่จริงแลว เมื่ออนุภาคพุงเขามามี <strong>in</strong>teraction กับกําแพงศักยแลว จะปรากฏวามันทะลุผานหรือสะทอนกลับนั้น เปนเรื่องของความนาจะเปน ภาพ 6.8 มิไดหมายความวาอนุภาคพุงชนกําแพงแลวแตกออกเปนสองเสี่ยง ซึ่งสวนหนึ่งทะลุผานและอีกสวนที่เหลือสะทอนกลับPla<strong>in</strong>-<strong>Wave</strong> Model of Particle Beamแตทวา ใน scatter<strong>in</strong>g experiment ทั่วๆไปแลว เรามิไดใชอนุภาคเพียงอนุภาคเดียวในการทดลองแตเปนลักษณะของ particle beam หรือ ลําของอนุภาคจํานวนมากที่พุงเขาสูเปาหมาย ยกตัวอยางDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-44เชนในกรณีของ particle beam พุงผานพื้นที่วางซึ่งไมมีกําแพงศักยกั้นอยู หรือ V( r ) = 0เขียนสมการ Time-Independent Schröd<strong>in</strong>ger ไดวาเราสามารถ2− 2 ( r ) E ( r )2∇ = m ψ ψในสมการขางตน เราเขียนใหอยูในรูปของ 3 มิติ ซึ่งมีคําตอบของสมการคือψ ( r)=1Ve ik ⋅rและ 2 kE =2m________________ สมการ (6.102)จะเห็นวา normalization constant ของ probability amplitude ขางตน ก็คือ 1 V ซึ่งหมายถึง "หนึ่งสวน square root ของปริมาตรของระบบที่เรากําลังพิจารณา" เทคนิคการเขียนฟงชันกในลักษณะนี้มีประโยชนทําใหฟงชันก ψ ( r ) มีสมบัติการ normalization เปนหนึ่ง กลาวคือ∫∫ 3 ∗ 3 1 −ik ⋅ r 1 + ik ⋅r∫d rψ( r) ψ( r)= d r e eV V1 3= d rV∫3 ∗ d rψ( r) ψ( r) = 1สวน vector k ในสมการ (6.102) นั้นเรียกวา wave vector และมีความสัมพันธกับ momentum ของparticle beam ที่เรากําลังกลาวถึง ซึ่งก็คือp = k ________________ สมการ (6.103)แบบฝกหัด 6.21 จงแสดงใหเห็นวา probability amplitude ในสมการ (6.102) เปน eigenstate ของmomentum operator ใน 3 มิติ ∂ ∂ ∂ x pˆx Ψ = ψ( r) y pˆy Ψ = ψ( r) z pˆzΨ = ψ( r)i ∂x i ∂y i ∂zและพิสูจนใหเห็นวา eigenvalue ของ momentum operator ดังกลาวก็คือ k นั่นเองDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-45นักศึกษาจะเขาใจวารูปแบบทางคณิตศาสตรของ probability amplitude (หรือ wave function) ในสมการ (6.102) นั้น มีสมบัติที่เหมาะสมที่จะใชเปน model ของ particle beam ไดเปนอยางดี ดวยการพิจารณา time evolution ของฟงชันก ψ ( r ) ดังกลาวนี้ ซึ่งในทํานองเดียวกันกับสมการ (6.80)จะไดวาψ ( rt , ) =1Ve ikr( ⋅ −ωt)เมื่อ2ω= 2km________________ สมการ (6.104)เมื่อ plot graph ของ ψ ( rt , ) ใน 1 มิติ จะเห็นวามีลักษณะเปนคลื่นที่กําลังเคลื่อนที่ดังภาพ 6.9 โดยที่k เปนตัวกําหนดทิศทางการเคลื่อนที่ดังกลาวprobability amplitudeprobabilityψ( x, t ) ∼exp( ikx −i ωt)2ψ ( xt, )=คาคงที่xxภาพ 6.9 แสดง model ที่ใชแทนระบบของ particle beam จะสังเกตวา probability amplitudeเคลื่อนที่จากซายไปขวาตามแกน x (ในกรณีที่ k เปนบวก) ในทางตรงกันขาม ความนาจะเปนที่จะพบอนุภาคที่ประกอบกันขึ้นเปน particle beam มีคาคงที่ตลอดแนวแกน xภาพ 6.9 แสดง model ที่ใชแทนระบบของ particle beam จะสังเกตวา1) probability amplitude เคลื่อนที่จากซายไปขวาตามแกน x (ในกรณีที่ k เปนบวก) ซึ่งลักษณะทางคณิตศาสตรเชนนี้ก็เหมือนกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่ประกอบกันขึ้นเปน particle beam2) ในทางตรงกันขาม ความนาจะเปนที่จะพบอนุภาคเหลานี้ มีคาคงที่ตลอดแนวแกน x ซึ่งเปนลักษณะของ particle beam ที่โดยเฉลี่ยแลว พอจะอนุโลมไดวามีลักษะเปนเนื้อเดียวกันโดยตลอดทั้งbeam เพราะฉะนั้น ความนาจะเปนที่จะพบอนุภาคจึงเปนคาคงที่ตลอดแนวแกน xDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-46อยางไรก็ตาม สถานะของระบบดังในสมการ (6.104) เปนเพียงอีกสถานะหนึ่งที่เปนไปได ในความเปนจริงแลว particle beam อาจจะประกอบดวยอนุภาคที่มี momentum คาตางๆกัน หรือมีทิศทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคแตกตางกัน ยกตัวอยางเชนแสงที่สองจากดวงอาทิตยมีความถี่ตางๆกัน ซึ่งหมายถึงมี momentum แตกตางกัน หรือแสงที่ปรากฏอยูภายในหองมีที่มาจากหนาตางหลายๆบานซึ่งหมายถึงมีวามันมีทิศทางตางๆกันนั่นก็หมายถึงในเมื่อเราพิจารณา particle beam ที่ซับซอนเหมือนจริงมากขึ้น สถานะของระบบอาจจะอยูในรูปของ l<strong>in</strong>ear superposition ของสถานะพื้นฐานดังในสมการ (6.102) ดังจะไดยกตัวอยางการคํานวณในทาง quantum mechanics ที่เกี่ยวของกันการ scatter<strong>in</strong>gScatter<strong>in</strong>g from Potential BarrierAe+ ikx−ikx+ BeikxCe +<strong>in</strong>cident + reflectedtransmitted or tunneledภาพ 6.10 แสดง model อยางงายใน 1 มิติของ <strong>in</strong>teraction ระหวางอนุภาคที่ถูกเรงใหมีความเร็วสูงกับ targetภาพ 6.10 แสดง model อยางงายใน 1 มิติของ <strong>in</strong>teraction ระหวางอนุภาคที่ถูกเรงใหมีความเร็วสูงกับtarget ซึ่งเราแทน <strong>in</strong>teraction ดังกลาวดวย potential barrier ที่มีความสูงเทากับ V 0 และเขียนใหอยูในรูปของฟงชันกไดวา⎧ 0


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-47และสมมุติใหอนุภาคมีพลังงาน E


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-48− ikd + ikd − qd + qdAe + Be = Fe + Ge− ikd + ikd − qd + qdikAe − ikBe = qFe −qGeqd −qd ikdFe + Ge = Ceqd −qd ikdqFe − qGe = ikCeและเพื่อใหจํานวนตัวแปรลดลง เราหารทุกๆสมการดวย A และจัดรูปเสียใหมจะไดวา+ ikd − qd + qd −ikdbe − fe − ge =−e+ ikd − qd + qd −ikd−ikbe − qfe + qge =−ikeikd qd −qd− ce + fe + ge = 0ikd qd −qd− ikce + qfe − qge = 0B C F GA A A Aทั้งนี้เรานิยาม b≡ , c≡ , f ≡ , g ≡ เพื่อความกระชับในการเขียนสมการ และสมการขางตนมีคําตอบผลเฉลยคือ−ikd −qd − ikd + qd −2ikdb= fe + ge −e−2ikd−4ikqec =( q−ik) e − ( q+ik)e( q+ik)ef =2q( q−ik)eg =2q2 + 2qd2 −2qdikd −qdikd + qdcc________________ สมการ (6.108)ซึ่งเมื่อนําผลเฉลยดังกลาวแทนเขาไปใน probability amplitude ในสมการ (6.106) จะไดลักษณะดังภาพ 6.10 จะสังเกตเห็นวา ถึงแมพลังงานของระบบ จะมีคานอยกวา potential barrier ก็ตามอนุภาคยังมีความนาจะเปนที่จะทะลุผานกําแพงศักยออกไปได ปรากฏการณเชนนี้เรียกวา "tunnel<strong>in</strong>g"tunnel<strong>in</strong>g เปนหนึ่งในปรากฏการณที่เกิดขึ้นจริง แตขัดแยงกับ classical mechanics โดยสิ้นเชิงนักศึกษาคงเคยปนจักรยานใหเร็วที่สุด จากนั้นปลอยใหมันวิ่งขึ้นเนินดวยอาศัยพลังงานจลนของตัวจักรยานเอง แนนอนวาถาพลังงานจลนที่เราใสเขาไปในจักรยานดวยการปนนั้น มีคานอยกวาพลังงานศักยที่เกิดจากความสูงของเนิน เรายอมขามเนินไปไมได กลาวคือ ความนาจะเปนที่จะพบจักรยาน ณ อีกฟากหนึ่งของเนินเปนศูนยDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-49แตในระบบขนาดเล็กๆเชน atom หรือ molecule ปรากฏการณ tunnel<strong>in</strong>g เกิดขึ้นไดทั่วไป และยังเปนที่มาของสิ่งประดิษฐที่เรียกวา "Scann<strong>in</strong>g Tunnel<strong>in</strong>g Microscope" หรือ STM อีกดวยจากการวิเคราะหปรากฏการณ tunnel<strong>in</strong>g ดังกลาว เราสามารถนิยาม transmission coefficient วาเปนอัตราสวนของ particle beam ที่ทะลุออกไป ตอ <strong>in</strong>cident beam ไดวาtransmission coefficientTCA2= ________________ สมการ (6.109)และในทํานองเดียวกัน reflection coefficient ก็เปนอัตราสวนที่ particle beam จะสะทอนกลับภายหลังจากมี <strong>in</strong>teraction กับ potential barrier แลวreflection coefficientRBA2= ________________ สมการ (6.110)ขอควรระวัง อยางไรก็ตาม transmission coefficient และ reflection coefficient ดังในสมการขางตนมีความหมายแคบๆที่มีขอบเขตการใชงานจํากัดอยูแตเฉพาะในการวิเคราะห potential barrier เทานั้นคํานิยามของ coefficient ทั้งสองซึ้งใชเปนมาตรฐานสากลจําเปนจะตองนําความรูเรื่อง probabilitycurrent เขามารวมอธิบาย ซึ่งเราจะกลาวถึงโดยละเอียดอีกครั้งในเนื้อหาของบท Scatter<strong>in</strong>gดังตัวอยางของ potential barrier ขางตน เมื่อรวมรวมเอาสมการ (6.109) , (6.108) , และ (6.107) เขาดวยกัน เราบอกไดวาT1=2V021+s<strong>in</strong>h (2 qd)4 EV ( 0 − E)เมื่อq =( − E)2mV02__________ สมการ (6.111)แบบฝกหัด 6.22 จงพิสูจนสมการ (6.111)2 2 2⎣⎦2 + 2qd2 −2qd2 2บอกใบ : ( q −ik) e − ( q + ik) e = ⎡2( q + k )s<strong>in</strong>h(2 qd) ⎤ + [ 4qk]Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-50แบบฝกหัด 6.23 จงวิเคราะหหา probability amplitude ในทํานองเดียวกันกับสมการ (6.108) แตเปนในกรณีที่ E > V0และพิสูจนใหเห็นวา ในกรณีดังกลาวนี้12mT =เมื่อ( E-V0)q =__________ สมการ (6.112)2V021+s<strong>in</strong> (2 qd)4 EE ( −V0)transmission coefficient as a function of beam energy2T 10.80.6T1=2V1 + 0⎨4 EE −V ⎪⎩s<strong>in</strong> (2 qd )E V2⎪⎧ s<strong>in</strong>h (2 qd )E


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-51และเมื่อกลาวถึง classical mechanics หรือ Newtonian mechanics แลวนั้น หัวใจสําคัญของทฤษฏีดังกลาวตั้งอยูบนพื้นฐานของกฎขอที่สองของ Newton ซึ่งกลาววาdpF = = ma ใน Newtonian mechanics __________ สมการ (6.113)dtในมุมมองของ Newtonian mechanics กฎดังกลาวเปน axiom ที่กําหนดขึ้นโดยไมมีตรรกะรองรับ แตดวยอาศัยผลการทดลองจํานวนมหาศาลที่พิสูจนเปนประจักพยานแลววา กฎดังกลาวถูกตอง และใน Section 6.9 นี้เราจะมากลาวถึงศักยภาพอีกอันหนึ่งของ quantum mechanics ที่สามารถ "derive"กฎขอสองของ Newtonกอนอื่นเรามาพิจารณา Hermitian operator  ใดๆ และมาวิเคราะหวา เมื่อนํา operator ดังกลาวมาตรวจวัดสถานะของระบบ expectation value ที่ไดจะเปลี่ยนแปลงกับเวลาอยางไรบางddtˆ dA = Ψ() t AˆΨ () tdtและเมื่ออาศัยกฎลูกโซจะไดวาd ˆ ⎛ d ⎞() ˆ () () ˆ⎛ d ⎞ ∂A = t A t t A () t () t Aˆ⎜ Ψ ⎟ Ψ + Ψ ⎜ Ψ ⎟+ Ψ Ψ()tdt ⎝dt ⎠ ⎝dt ⎠ ∂tเมื่อนํา Schröd<strong>in</strong>ger equation ดังในสมการ (6.74) เขามาเปลี่ยนรูปพจนที่อยูในวงเล็บ จะทําใหd ˆ ⎛ i ˆ ⎞() ˆ () () ˆ⎛ i ˆ ⎞ ∂A = () () ˆ⎜ Ψ t H⎟A Ψ t − Ψ t A⎜ H Ψ t ⎟+ Ψ t A Ψ()tdt ⎝⎠ ⎝⎠ ∂ti() ˆˆ it HA () t () t AH ˆ ˆ∂= Ψ Ψ − Ψ Ψ () t + Ψ() t AˆΨ()t∂td ˆ iA () t HA ˆˆ AH ˆ ˆ∂= Ψ − Ψ () t + Ψ() t AˆΨ()tdt ∂tเราสามารถลดรูปสมการขางตนใหกระชับขึ้นอีกโดยใชคํานิยามของ commutatorHA ˆˆ − AH ˆ ˆ = ⎡ H ˆ, A ˆ⎤⎣ ⎦เพราะฉะนั้นแลวDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-52ddtˆ i() ˆ , ˆ ∂A = Ψ t ⎡H A⎤Ψ () t + Ψ() t AˆΨ()t ⎣ ⎦ ∂t__________ สมการ (6.114)สมการขางตนอธิบายความเปลี่ยนแปลงตามเวลาของ expectation value ของ operator ใดๆ ซึ่งมีประโยชนมากในการวิเคราะหวาระบบที่เรากําลังพิจารณาอยูนั้น มี ตําแหนง, momentum, หรือปริมาณทางฟสิกสอื่นๆ เปนฟงชันกอยางไรกับเวลาที่ผานไปยกตัวอยางเชน พิจารณา momentum operator p ˆ x จากสมการ (6.114) จะไดวาddti ˆ∂pˆx = Ψ() t ⎡H, pˆx⎤Ψ () t + Ψ() t pˆxΨ()t ⎣ ⎦∂t= 0__________ สมการ (6.115)เนื่องจาก momentum operator p ˆ x ไมสวนที่ขึ้นกับเวลา ดังนั้นเทอมที่สองจึงเปนศูนย นอกจากนี้Hamiltonian ใน 1 มิติคือHˆˆ2p= + V( xˆ) เพราะฉะนั้นแลว2m⎡ ˆ2ˆ p ⎤⎡H, pˆx⎤ , pˆ⎣ ⎦= ⎢ x⎥+⎢⎣2m⎥⎦⎡ ⎤ˆn= ⎢∑anx, pˆx⎥⎢⎣n ⎥⎦=∑nˆna ⎡n x , pˆ⎣[ V( xˆ),pˆ]x⎤⎦xโดยที่ในสมการขางตน เราเขียน operator ของพลังงานศักย V( x ) ใหอยูในรูปของ Taylor expansionV xˆ = ∑ a xˆ2นอกจากนี้ จากแบบฝกหัด 6.23 เราบอกไดวา( ) nn∑⎡Hˆ , pˆx⎤ = i annxˆ⎣ ⎦n−1a xˆ⎡Hˆ , pˆx⎤∂i V( xˆ⎣ ⎦= )∂xn∂= i∂x∑nnnDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-531แบบฝกหัด 6.25 จงหาพิสูจนวา ⎡ˆn, ˆ ˆnx p ⎤ = i nx − โดยเริ่มจากสมการ (6.24)ดวยเหตุนี้เอง สมการ (6.115) จึงลดรูปเหลือเพียง⎣x⎦ddtpˆ xdVdx= − __________ สมการ (6.116)นอกจากนี้ อีกตัวอยางหนึ่งของการนําเอาสมการ (6.114) มาใชวิเคราะหก็คือ expectation valueของตําแหนงของอนุภาค หรือddti ˆ∂xˆ = Ψ() t ⎡H, xˆ⎤Ψ () t + Ψ() t xˆΨ()t ⎣ ⎦∂t= 0แบบฝกหัด 6.26 จงหาพิสูจนวาซึ่งจากการสมการ (6.117) ทําให⎡ ˆ iH xˆ⎤ =− pˆ⎣ ⎦ m, x__________ สมการ (6.117)ddtx ˆˆp x= __________ สมการ (6.118)mสมการ (6.116) และสมการ (6.118) ดูผิวเผินคงเปนเพียงเอกลักษณทางคณิตศาสตรอีกอันหนึ่งที่ไมมีประโยชนใชงานที่เปนรูปธรรมมากนัก แทจริงแลว ทั้งสองสมการมีความสําคัญและยังมีชื่อเฉพาะวา Ehrenfest Theoremเราจะเห็นความสําคัญของ Ehrenfest Theorem ดวยการวิเคราะหตอยอดจากสมการทางคณิตศาสตรd ⎛ d ⎞≡ ⎜ ⎟dt ⎝dt⎠ทั้งสองอีกสักนิด ถาเรานิยามความเรงวา a xˆแลวจากสมการ (6.118) จะได1 da=mdtdma = pˆdtxpˆxDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-54และจากสมการ (6.116) ถาเรานิยามแรงที่กระทํากับอนุภาควา F ≡ − V( xˆ) จะนําไปสูความสัมพันธที่เปนรากฐานของความรูทางกลศาสตรของมนุษยในยุคกอนป 1926 นั่นก็คือddx6.10 บทสรุปF = maในบทที่ 6 เราใชกลไกของ matrix mechanics เพื่อศึกษาระบบที่มี basis state เปนสถานะที่ตอเนื่องอาทิเชน position และ momentum ซึ่งเริ่มดวยการใช position เปน basis stateΨ =∫dxψ( x)xในลักษณะเชนนี้ bra-ket ของสองสถานะใดๆ สามารถเขียนใหอยูในรูปของ <strong>in</strong>tegral ไดวาΦΨ =∫ dxϕ( x) ψ( x)∗จากนั้นเราก็ไดทําความรูจักกับ operator ที่เกี่ยวของ นั่นก็คือ translation operator Ta ˆ( ) ซึ่งมีผลใหbasis state x เปลี่ยนไปเปนสถานะ x + a และแทนที่จะเลื่อนสถานะตามแนวแกน x เปนระยะทาง a เราสามารถที่จะพิจารณาการเลื่อนเปนระยะ <strong>in</strong>f<strong>in</strong>itesimal translation Δ x โดยที่ˆ iT( Δ x) = 1− pˆxΔxเมื่อ p ˆ x คือ generator of translationทั้งนี้ นอกจาก p ˆ x จะเปน generator of translation มันก็ยังเปน momentum operator ซึ่งมีคุณสมบัติทางคณิตศาสตรที่สําคัญคือและ[ xˆ pˆ], x= i ∂x pˆ x Ψ = ( x)i ∂x ψDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-55นอกจากการใช position เปน basis state แลวนั้น ยังสามารถใช momentum เปน basis stateกลาวคือΨ =∫dpϕ( p)pในกรณีดังกลาว เราเรียก ϕ ( p)= p Ψ วาเปน probability amplitude ใน momentum space ซึ่งแตกตางจากเดิม ψ ( x)= x Ψ ซึ่งเปน probability amplitude ใน position space โดยที่ basis stateในทั้งสอง space มีความสัมพันธกันก็คือx p=1e2πipxซึ่งเมื่อเขียนอยูในรูปของ probability amplitude ψ ( x)และ ϕ ( p)จะมีความเกี่ยวโยงทางคณิตศาสตรคือ1ϕ( p) = dxψ( x)e2π∫−ipxและ1ψ ( x) = dpϕ( p)e2π∫+ ipxทั้งนี้เราไดยกตัวอยางของการใช quantum mechanics มาวิเคราะหอนุภาคอิสระ ซึ่งเราใช Gaussianwave packet เปน model ในการศึกษา และดวยการพิจารณาความไมแนนอนของการบอกตําแหนงและ momentum ของอนุภาคในอุดมคตินี้เอง นําไปสูความสัมพันธที่เรียกวา HeisenbergUncerta<strong>in</strong>ty Pr<strong>in</strong>ciple ที่วาΔxΔp≥ 2หากแตกฎดังกลาวมิไดจํากัดอยูแตเพียง position และ momentum เทานั้น สําหรับ operator ใดๆที่สามารถใชในการวัดปริมาณทางฟสิกส จะไดวาΔAΔB≥⎡ Aˆ , Bˆ⎤⎣ ⎦2Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-56และเมื่อมีเครื่องมือทางคณิตศาสตรที่พรอม เราก็ไดกลาวถึง Schröd<strong>in</strong>ger equation ซึ่งจริงๆแลวสามารถเขียนใหอยูในรูปของ position space2 2 ∂2∂iψ( x, t) =− ψ( x, t) + V( x) ψ( x, t)∂t 2m ∂xและ ของ momentum space2∂ p ∂i ϕ( p, t) = ϕ( p, t) + V( i ) ϕ( p, t)∂t 2m ∂pเพื่อยกตัวอยางการนํา Schröd<strong>in</strong>ger equation มาใชงาน เราวิเคราะหระบบที่เรียกวา square wellpotential และ scatter<strong>in</strong>g ใน 1 มิติ ซึ่งปรากฏการณที่สําคัญของการศึกษาในครั้งนี้ ก็คือ tunnel<strong>in</strong>g ที่หมายถึงการที่ particle beam สามารถทะลุผานกําแพงศักยออกมาได ถึงแมวาพลังงานจลนของมันจะมีคานอยกวากําแพงศักยก็ตามและในทายที่สุด เรากลาวถึง Ehrenfest theorem ที่เปนทฤษฏีที่แสดงใหเห็นวา Newtonian mechanicsแทที่จริงแลว เปน subset ของ quantum mechanics เทานั้นเอง6.11 ปญหาทายบทแบบฝกหัด 6.27 จงคํานวณหา transmission coefficient และ reflection coefficient ในกรณีของกําแพงศักยที่นิยามดวย⎧ 0 x < 0V( x)= ⎨⎩V0x≥0เฉลย ถา E < V0แลว R= 1 T = 0 ถา E > V0แบบฝกหัด 6.28 จงพิสูจนสมการ (6.39)T =4ε( 1+ε ) 2เมื่อ ε ≡ 1−V 0Eแบบฝกหัด 6.29 จงพิสูจนวา ∂x pˆ x x′ = ( x x)i x δ − ′∂________________ สมการ (6.119)Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-57แบบฝกหัด 6.30 จงพิสูจนสมการ (6.57) และ สมการ (6.58)แบบฝกหัด 6.31 เริ่มจาก probability amplitude ใน momentum space ของ Gaussian wave packetϕ( p)=ฟงชันกae πψ ( x)− p2a2221 −x2e2a2π a= จริงจงพิสูจนวา Fourier transform ในสมการ (6.39) ทําใหเกิดเปนแบบฝกหัด 6.32 จงคํานวณหา transmission coefficient และ reflection coefficient ในกรณีของ"บอศักย"ที่นิยามดวยเฉลย ถา E V0>2V0⎧ 0 x + d1T =21+s<strong>in</strong> (2 qd)4 EE ( + V )0เมื่อq =( )2mE+ V02Dr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009


Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-58This page is <strong>in</strong>tentionally left blankDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!