11.07.2015 Views

Wave Mechanics in One Dimension - ภาควิชาฟิสิกส์

Wave Mechanics in One Dimension - ภาควิชาฟิสิกส์

Wave Mechanics in One Dimension - ภาควิชาฟิสิกส์

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Quantum <strong>Mechanics</strong> ระดับบัณฑิตศึกษา 6 <strong>Wave</strong> <strong>Mechanics</strong> <strong>in</strong> <strong>One</strong> <strong>Dimension</strong> 6-43Section ที่ผานมา เราไดศึกษาระดับพลังงานและ wave function ของระบบที่ถูกขังอยูในบอพลังงานศักย ซึ่งเปน model ที่เราใชในการศึกษาพฤติกรรมของอิเล็กตรอนที่อยูภายในชั้นของ quantum wellในคราวนี้เราจะมาศึกษาระบบที่พลังงานศักยมีลักษณะเปนเหมือนกําแพง เรียกวา "potential barrier"หรือ กําแพงศักย ซึ่งกําแพงดังกลาวเปน model ในการศึกษาการทดลองที่เรียกวา scatter<strong>in</strong>gexperiment<strong>in</strong>cident beamreflected beamtransmitted beamภาพ 6.8 ในเมื่อเราจํากัดการกระเจิงใหอยูแตเพียง 1 มิติ ทิศทางในการ scattered จึงมีไดเพียง 2 ทิศคือ 1) ยอนกลับ หรือที่เรียกวา reflected beam และ 2) ทะลุผาน หรือที่เรียกวา transmitted beamใน scatter<strong>in</strong>g experiment อนุภาคที่มีพลังงานสูงจะถูกยิงเขาสูเปาหมาย เมื่อเขาใกลก็จะมี<strong>in</strong>teraction กับสิ่งที่กําลังกีดขวาง และอนุภาคก็จะเกิดการ "กระเจิง" หรือ "scattered" ไปในทิศทางตางๆกัน เพื่อใหงายตอการศึกษา เรามาวิเคราะหการทดลองดังกลาวโดยใช model แบบงายๆใน 1มิติ และในเมื่อเราจํากัดการกระเจิงใหอยูแตเพียง 1 มิติ ทิศทางในการ scattered จึงมีไดเพียง 2 ทิศคือ 1) ยอนกลับ หรือที่เรียกวา reflected beam และ 2) ทะลุผาน หรือที่เรียกวา transmitted beamขอควรระวัง นักศึกษาตองไมลืมวาภาพ 6.8 เปนกราฟที่แสดงความนาจะเปนที่จะพบอนุภาค ซึ่งแทที่จริงแลว เมื่ออนุภาคพุงเขามามี <strong>in</strong>teraction กับกําแพงศักยแลว จะปรากฏวามันทะลุผานหรือสะทอนกลับนั้น เปนเรื่องของความนาจะเปน ภาพ 6.8 มิไดหมายความวาอนุภาคพุงชนกําแพงแลวแตกออกเปนสองเสี่ยง ซึ่งสวนหนึ่งทะลุผานและอีกสวนที่เหลือสะทอนกลับPla<strong>in</strong>-<strong>Wave</strong> Model of Particle Beamแตทวา ใน scatter<strong>in</strong>g experiment ทั่วๆไปแลว เรามิไดใชอนุภาคเพียงอนุภาคเดียวในการทดลองแตเปนลักษณะของ particle beam หรือ ลําของอนุภาคจํานวนมากที่พุงเขาสูเปาหมาย ยกตัวอยางDr. Teepanis Chachiyo ภาควิชาฟสิกส มหาวิทยาลัยขอนแกน teepanis@kku.ac.th Draft Oct 2009

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!