23.12.2014 Views

HR Scorecard - กระทรวงสาธารณสุข

HR Scorecard - กระทรวงสาธารณสุข

HR Scorecard - กระทรวงสาธารณสุข

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

แผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>)<br />

ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

ระยะ 4 ปี (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โดย<br />

คณะท างานจัดท าแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

(<strong>HR</strong> scorecard)<br />

ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

ธันวาคม 2555<br />

TD&FA 05-56


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

บทสรุปผูบริหาร<br />

(Executive Summary)<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีภารกิจหลักในการปกปอง และคุมครองสุขภาพของ<br />

ประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ ที่มีคุณภาพและปลอดภัย มีการสงเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่<br />

ถูกตองดวยขอมูลทางวิชาการที่มีหลักฐาน เชื่อถือได และมีความเหมาะสม เพื่อใหประชาชนไดบริโภค<br />

ผลิตภัณฑสุขภาพที่ปลอดภัยและสมประโยชน ดังวิสัยทัศนของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา คือ<br />

“องคกรที่เปนเลิศดานการคุมครอง และสงเสริมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และ<br />

สมประโยชน มุงสูสังคมสุขภาพดี” และพันธกิจเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตรการคุมครองผูบริโภคดาน<br />

ผลิตภัณฑสุขภาพ ประกอบดวย<br />

(1) กํากับ ดูแล สงเสริมใหมีการนําเสนอผลิตภัณฑสุขภาพที่ปลอดภัย ไดมาตรฐาน<br />

(2) สงเสริมความรู ความเขาใจในการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพไดอยางปลอดภัยและสม<br />

ประโยชน เพื่อสุขภาพที่ดี<br />

(3) พัฒนาการบริหารจัดการวิชาการ และบุคลากร เพื่อความเปนเลิศดานการคุมครองผูบริโภค<br />

ดานผลิตภัณฑสุขภาพ<br />

เพื่อใหบรรลุวิสัยทัศน พันธกิจดังกลาว สํานักงานฯ จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ตองพัฒนาทรัพยากร<br />

บุคคล ซึ่งถือเปนกลไกที่สําคัญในการขับเคลื่อนใหการปฏิบัติงานเกิดประสิทธิภาพ และบรรลุประสิทธิผล<br />

สูงสุด ประกอบกับพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 34 บัญญัติไววา<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคลเปนไปเพื่อผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจภาครัฐ ความมีประสิทธิภาพ และความคุมคา<br />

โดยใหขาราชการปฏิบัติราชการอยางมีคุณภาพ คุณธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมาตรา 42 บัญญัติวา<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคลตองคํานึงถึงระบบคุณธรรม การที่องคการจะกระทําภารกิจหลักใหบรรลุ<br />

วัตถุประสงคและมีประสิทธิ์ภาพนั้น หนวยงานจําเปนจะตองมีบุคลากรที่มีคุณภาพในปริมาณที่เหมาะสมกับ<br />

งาน ดังนั้นเพื่อใหสอดคลองตามแนวทางดังกลาว สํานักงานฯ จึงจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากร-<br />

บุคคล ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556-2559) ขึ้น ภายใตวิสัยทัศนการบริหารทรัพยากรบุคคลที่วา “บุคลากรเปนคน<br />

ดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรู และพัฒนางานอยางตอเนื่อง” โดยกําหนดประเด็นยุทธศาสตรดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล 7 ขอ ดังนี้<br />

(1) พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและวัฒนธรรมใหสอดคลองกับวิสัยทัศนและเปาหมาย<br />

ขององคกร<br />

(2) การบริหารทรัพยากรบุคคลที่สอดคลองกับเปาหมาย พันธกิจ และวิสัยทัศนองคกร<br />

(3) การรักษาผูมีสมรรถนะสูงไวในระบบ<br />

(4) การเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล<br />

(5) พัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของเจาหนาที่<br />

(6) การบริหารทรัพยากรบุคคล มีความโปรงใส และพรอมตรวจสอบ<br />

(7) การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางาน<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ทั้งนี้ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาไดกําหนดเปาประสงค พรอมตัวชี้วัด/เปาหมายของ<br />

เปาประสงคดังกลาว ตลอดจนการกําหนดแผนงาน/โครงการ เพื่อรองรับแผนกลยุทธฯ ระยะ 4 ป<br />

(พ.ศ. 2556-2559) โดยมุงหวังใหการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานฯ มีการพัฒนาอยางสอดคลอง<br />

ตอเนื่อง พรอมผลักดันยุทธศาสตรของสํานักงานใหบรรลุผลสัมฤทธิ์ และรองรับกับการเปลี่ยนแปลงทั้ง<br />

ปจจัยภายในและภายนอกองคกร จํานวนทั้งสิ้น รวม 28 รายการ อันไดแก<br />

1. การจัดทําและทบทวนแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา<br />

2. โครงการวางแผนและบริหารกําลังคน<br />

3. โครงการทบทวนคําบรรยายลักษณะงาน (Job Description: JD)<br />

4. โครงการขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (High Performance and Potential System :<br />

HiPPS) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

5. โครงการจัดทําเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career path)<br />

6. โครงการวางแผนสืบทอดตําแหนง (Succession Plan) ในตําแหนงสําคัญของสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา<br />

7. โครงการพัฒนาภาวะผูนํา<br />

8. แผนงานการบริหารมาตรฐานงานดานบุคคลใหระบบงานมีความรวดเร็ว<br />

9. โครงการพัฒนาความรูและทักษะดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

10. โครงการพัฒนาและจัดทําหลักเกณฑประกันคุณภาพการฝกอบรมและการประเมิน<br />

ประสิทธิผลความคุมคาการฝกอบรม<br />

11. โครงการการจัดทํา SOP ของกระบวนการที่สําคัญและ/หรือมีความเสี่ยงตอการถูกฟองรอง<br />

ของงานบริหารทรัพยากรบุคคลตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

12. โครงการพัฒนาและทบทวน Competency<br />

13. โครงการจัดทํา Training and Development Road Map<br />

14. โครงการพัฒนาบุคลากร ตามแผน Individual Development Plan : IDP<br />

15. โครงการพัฒนาความรูดานการบริหารการเปลี่ยนแปลง<br />

16. โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลดานการบริหารทรัพยากรบุคคล (ตาม DPIS)<br />

17. โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศดานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

18. โครงการประเมินประสิทธิผลและความคุมคาของการฝกอบรมโดยการติดตามและ<br />

ประเมินผลผูผานการอบรมหลังฝกอบรม 3 เดือน<br />

19. โครงการสํารวจความตองการ/ความพึงพอใจของหัวหนากลุมงาน และผูปฏิบัติงานที่มีตอ<br />

งานบริหารทรัพยากรบุคคลดาน Human Resource Management<br />

20. โครงการสงเสริมและพัฒนาการจัดการความรู<br />

21. โครงการพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน<br />

(Performance Management System : PMS)<br />

22. กิจกรรมการจัดทําแผนปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐพรอมทั้งกํากับติดตาม<br />

23. กิจกรรมสงเสริมคานิยม "PROTECT" และวัฒนธรรมองคกร<br />

24. โครงการการจัดทํา SOP ของกระบวนการที่สําคัญและ/หรือมีความเสี่ยงตอการถูกฟองรอง<br />

ของงานบริหารทรัพยากรบุคคลตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

25. การจัดทําระบบการรับฟงขอคิดเห็น และระบบการจัดการขอรองเรียนดานการบริหาร-<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

26. การประกาศประชาสัมพันธเกณฑ ระเบียบ ขอบังคับดานการบริหารบุคคลที่ครอบคลุม<br />

สะดวกและเขาถึงงาย<br />

27. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสรางความผาสุก ความพึงพอใจของบุคลากรในสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

คํานํา<br />

บทสรุปผูบริหาร<br />

สารบัญ<br />

บทที่ 1 บทนํา<br />

หลักการและเหตุผล 1<br />

บทที่ 2 ทิศทางองคกร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556–2559 ของสํานักงานคณะกรรมการ-<br />

อาหารและยา<br />

2.1 วิสัยทัศน<br />

2.2 พันธกิจเพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร<br />

2.3 คานิยมสรางสรรคสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

2.4 เปาประสงค<br />

2.5 ผลการดําเนินงานที่คาดหวัง<br />

บทที่ 3 วิสัยทัศน และประเด็นยุทธศาสตรดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

3.1 วิสัยทัศนดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

3.2 การกําหนดประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค ตัวชี้วัด/เปาหมาย แผนงาน/ กิจกรรม<br />

และผูรับผิดชอบ<br />

3.3 เปาประสงคเชิงกลยุทธและแผนที่ยุทธศาสตรการบริหารทรัพยากรบุคคล ปงบประมาณ<br />

พ.ศ. 2556-2559 ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

บทที่ 4 การวิเคราะหสภาพการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

4.1 การวิเคราะหสถานภาพการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

4.2 โครงสรางของหนวยงานที่รับผิดชอบงานทรัพยากรบุคคล<br />

4.3 การประเมินสภาพองคกรดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

บทที่ 5 ขั้นตอนการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา<br />

5.1 การจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ตามกรอบมาตรฐานความสําเร็จ<br />

ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>)<br />

5.2 ขั้นตอนการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการ-<br />

อาหารและยา<br />

บทที่ 6 แนวทางการติดตามและประเมินผล<br />

6.1 การกํากับติดตามการดําเนินงาน<br />

6.2 การประเมินผล<br />

สารบัญ<br />

บทที่ 7 รายละเอียดแผน<br />

7.1 แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ระยะ 4 ป (พ.ศ.2556-2559)<br />

7.2 แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556<br />

7.3 คําอธิบายตัวชี้วัด<br />

หนา<br />

ก<br />

3<br />

3<br />

3<br />

5<br />

6<br />

7<br />

7<br />

8<br />

12<br />

14<br />

15<br />

17<br />

19<br />

23<br />

24<br />

27<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

คําอธิบายตัวชี้วัด หนา<br />

การจัดทําและทบทวนแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

โครงการวางแผนและบริหารกําลังคน<br />

โครงการทบทวนคําบรรยายลักษณะงาน (Job Description: JD)<br />

โครงการขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

โครงการจัดทําเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career path)<br />

โครงการพัฒนาภาวะผูนํา<br />

แผนงานการบริหารมาตรฐานงานดานบุคคลใหระบบงานมีความรวดเร็ว<br />

โครงการพัฒนาความรูและทักษะดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

โครงการพัฒนาและจัดทําหลักเกณฑประกันคุณภาพการฝกอบรมและการประเมินประสิทธิผลความคุมคา<br />

การฝกอบรม<br />

โครงการการจัดทํา SOP ของกระบวนการที่สําคัญและ/หรือมีความเสี่ยงตอการถูกฟองรองของงานบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

โครงการพัฒนาและทบทวน Competency<br />

โครงการจัดทํา Training and Development Road Map<br />

โครงการพัฒนาบุคลากร ตามแผน Individual Development Plan : IDP<br />

โครงการพัฒนาความรูดานการบริหารการเปลี่ยนแปลง<br />

โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลดานการบริหารทรัพยากรบุคคล (ตาม DPIS)<br />

โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศดานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

โครงการประเมินประสิทธิผลและความคุมคาของการฝกอบรมโดยการติดตามและประเมินผลผูผานการอบรม<br />

หลังฝกอบรม 3 เดือน<br />

โครงการสํารวจความตองการ/ความพึงพอใจของหัวหนากลุมงาน และผูปฏิบัติงานที่มีตองานบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลดาน <strong>HR</strong>M<br />

โครงการสงเสริมและพัฒนาการจัดการความรู<br />

โครงการพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System : PMS)<br />

กิจกรรมการจัดทําแผนปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐพรอมทั้งกํากับติดตาม<br />

กิจกรรมสงเสริมคานิยม "PROTECT" และวัฒนธรรมองคกร<br />

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสรางความผาสุก ความพึงพอใจของบุคลากรในสํานักงานฯ<br />

ผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>)<br />

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555<br />

หนา<br />

เอกสารอางอิง 26<br />

45<br />

48<br />

49<br />

50<br />

52<br />

53<br />

55<br />

56<br />

58<br />

60<br />

62<br />

64<br />

66<br />

68<br />

69<br />

71<br />

58<br />

72<br />

73<br />

75<br />

76<br />

78<br />

80<br />

83<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

สารบัญตาราง<br />

ตารางที่ 1 เปาประสงคเชิงกลยุทธดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ที่สอดรับกับ 17 ปจจัยตามกรอบมาตรฐานความสําเร็จดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ของสํานักงาน ก.พ.<br />

ตารางที่ 2 รายชื่อหนวยงาน/คณะทํางานการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เกี่ยวของ<br />

สารบัญแผนภาพ<br />

แผนภาพที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตรดานการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา<br />

แผนภาพที่ 2 ความเชื่อมโยงระหวางมิติความสําเร็จและเปาประสงคของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ที่สอดคลองกับวิสัยทัศนและยุทธศาสตรดานการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556 - 2559)<br />

แผนภาพที่ 3 โครงสรางการแบงสวนราชการและจํานวนอัตรากําลังของสํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ณ วันที่ 10 กันยายน 2555<br />

แผนภาพที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบดานการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา<br />

แผนภาพที่ 5 กรอบระยะเวลา ขั้นตอน และกระบวนการวางแผนกลยุทธฯ ของสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา<br />

แผนภาพที่ 6 ขั้นตอนการดําเนินการของระบบ <strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong><br />

หนา<br />

8<br />

22<br />

หนา<br />

8<br />

11<br />

13<br />

14<br />

19<br />

21<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ภาคผนวก<br />

ภาคผนวก 1 ทบทวนขอมูลความคาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders)<br />

89<br />

สรุปประเด็นการสัมภาษณผูบริหารระดับสูงของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

สรุปผลแบบสอบถามความตองการและความคาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสียดาน<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ภาคผนวก 2 แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือน ประจําป พ.ศ. 2552–2556 94<br />

ภาคผนวก 3 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA หมวด 5 97<br />

ภาคผนวก 4 สรุปผลการวิเคราะหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสภาพแวดลอม 101<br />

(SWOT Analysis) ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ภาคผนวก 5<br />

104<br />

5.1 กรอบมาตรฐานความสําเร็จดานการบริหารทรัพยากรบุคคลตามกรอบมาตรฐาน<br />

ความสําเร็จ 5 มิติ 17 ปจจัยของสํานักงาน ก.พ.<br />

5.2 กรอบมาตรฐานความสําเร็จดานการบริหารทรัพยากรบุคคลตามกรอบมาตรฐาน<br />

ความสําเร็จ 5 มิติ 17 ปจจัย และเปาประสงคของสํานักงานคณะกรรมการอาหาร<br />

และยา<br />

ภาคผนวก 6 คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> scorecard) ของ 107<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 407/2555 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2555)<br />

หนา<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

หลักการและเหตุผล<br />

บทที่ 1<br />

บทนํา<br />

ในอดีตที่ผานมาใชแนวคิดในการบริหารที่เห็นวา “คน” เปนเพียงหนึ่งในปจจัยเพื่อใหไดมาซึ่ง “งาน”<br />

เทานั้น การบริหารจัดการคนจึงมุงเนนการปฏิบัติใหเปนไปตามระเบียบ กฎเกณฑ ขอบังคับที่กําหนด เชน การ-<br />

จัดทําทะเบียนประวัติ การบรรจุ แตงตั้ง และการออกจากราชการ เปนตน ตอมาแนวคิดในเรื่องนี้เปลี่ยนแปลง<br />

ไปเปน คนคือทรัพยากรที่สําคัญและมีคาที่สุดขององคกร ที่จะตองมีการจัดการที่พิถีพิถันทุกขั้นตอน ตั้งแตการ<br />

สรรหา พัฒนา และรักษาไว เพื่อใหสามารถสรางผลผลิตที่มีประสิทธิผลสูงสุดตอองคกร และชวยใหองคกร<br />

แขงขันไดในสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วในปจจุบัน0<br />

กลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล เปนเครื่องมือสําคัญที่ใชในการขับเคลื่อนผลการปฏิบัติงาน<br />

ขององคการ โดยความสําเร็จของแตละองคการเกิดไดจากการเรียนรูและพัฒนาอยางตอเนื่อง และการใช<br />

ความรูความสามารถของบุคลากรในการดําเนินงานอยางเหมาะสมเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด ดังนั้น เพื่อให<br />

บุคลากรเปนผูสรางคุณคาเพิ่มใหกับผลผลิตขององคกร และนําไปสูผลการปฏิบัติงานในภาพรวมขององคการ<br />

ที่ดีขึ้น การบริหารทรัพยากรบุคคล จึงเปนกลไกสําคัญในการสนับสนุนใหบุคลากรสามารถขับเคลื่อนผล<br />

การปฏิบัติงานขององคการดังกลาว อีกทั้งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเองตระหนักดีวา บุคลากรคือ<br />

ทรัพยากรที่สําคัญและมีคุณคาที่สุดขององคกร ดังนั้นเพื่อใหเกิดการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่<br />

สามารถสรางให “บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรู และพัฒนางานอยางตอเนื่อง” และเพื่อสนับสนุน<br />

ใหสํานักงานฯ บรรลุเปาหมาย พันธกิจ และวิสัยทัศน และรองรับการเปลี่ยนแปลงตอการกาวสูประชาคม<br />

อาเซียน สํานักงานฯ จึงจําเปนตองเรงปรับกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยมุงเนนการพัฒนาคน<br />

ใหพรอมรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งที่ผานมาสํานักงานฯ ไดขับเคลื่อนแนวทาง/เครื่องมือสําหรับพัฒนา<br />

ศักยภาพบุคคลมาโดยตลอด อาทิ การพัฒนาระบบประเมินขีดความสามารถเชิงสมรรถนะ (Competency)<br />

การพัฒนาระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานในระดับบุคคล การพัฒนาระบบบริหารจัดการความรู<br />

การฝกอบรม เปนตน โดยมีคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งประกอบดวยผูแทน<br />

ของทุกสํานัก/กอง/กลุม รวมกันขับเคลื่อนแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลใหสัมฤทธิ์ผล เพื่อมุงสู<br />

การพัฒนางานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพอยางยั่งยืน สงผลใหสังคมมีสุขภาพดีตอไป คือ ทุกคน<br />

ในองคกรนั่นเอง<br />

จากบทบาทของสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) ที่ใหความสําคัญในการพัฒนา<br />

ทุนมนุษยใหเปนกลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตรอยางมีประสิทธิภาพ สํานักงาน ก.พ. จึงไดนําเครื่องมือสําหรับ<br />

ใชประเมินผลสําเร็จดานการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) และการสงเสริมใหสวนราชการ<br />

ดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลตามกรอบมาตรฐานความสําเร็จ 5 มิติ ประกอบดวย<br />

มิติที่ 1 ความสอดคลองเชิงยุทธศาสตร<br />

มิติที่ 2 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

มิติที่ 3 ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

มิติที่ 4 ความพรอมรับผิดดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

มิติที่ 5 คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางาน<br />

1<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

1


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

การวางกรอบแนวทางการประเมินผลดังกลาว มีสวนในการสงเสริมและสนับสนุนใหสวนราชการสามารถ<br />

ประเมินประสิทธิภาพการบริหารทรัพยากรบุคคลไดเปนระบบและเปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น<br />

ดังนั้น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงไดดําเนินการทบทวนและจัดทําแผนกลยุทธ<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556 – 2559) ใหสอดคลองกับกรอบมาตรฐานความสําเร็จ<br />

ดานการบริหารทรัพยากรบุคคลตามกรอบมาตรฐานความสําเร็จ 5 มิติ 17 ปจจัยของสํานักงาน ก.พ.<br />

และยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือน พ.ศ. 2552-2556 พรอมทั้งดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการ<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 โดยกําหนดเปาประสงคเชิงกลยุทธ ตัวชี้วัด และ<br />

คาเปาหมายในการดําเนินการ พรอมทั้งกําหนดแผนงาน/โครงการ ที่ตองดําเนินการในปงบประมาณ<br />

พ.ศ. 2556 ใหสอดคลองกับแผนกลยุทธฯ ระยะ 4 ป ดังกลาวดวย เพื่อปรับบทบาทการทํางานดานบุคลากร<br />

ใหสอดรับกับยุทธศาสตรขององคการ และเปนเครื่องมือสําหรับใชประเมินผลดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ของสํานักงานฯ ที่เปนรูปธรรมตอไป<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

2


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ทิศทางองคกร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556–2559 ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

แผนยุทธศาสตรการพัฒนางานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ<br />

สังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ไดวิเคราะหปจจัยแวดลอมขององคกรไววา เนื่องจากนโยบาย<br />

(แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 นโยบายรัฐบาล นโยบาย<strong>กระทรวงสาธารณสุข</strong> และนโยบาย<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา) ผูมีสวนไดเสีย และภารกิจไมมีการปรับเปลี่ยนมากนัก สํานักงานฯ จึง<br />

ยังคงวิสัยทัศนการเปน “องคกรที่เปนเลิศดานการคุมครองและสงเสริมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่มี<br />

คุณภาพ ปลอดภัย และสมประโยชน มุงสูสังคมสุขภาพดี” โดยมีเปาหมายเพื่อใหประชาชนไดบริโภค<br />

ผลิตภัณฑสุขภาพ ที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และสมประโยชน มีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง<br />

เพื่อใหสังคมมีสุขภาพดี รวมถึงใหประชาชนมีความเชื่อมั่นตอสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาในการ<br />

คุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ1<br />

2.1 วิสัยทัศน<br />

2<br />

บทที่ 2<br />

องคกรที่เปนเลิศดานการคุมครอง และสงเสริมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ<br />

ที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และสมประโยชน มุงสูสังคมสุขภาพดี<br />

2.2 พันธกิจเพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร<br />

1) กํากับ ดูแล สงเสริมใหมีการนําเสนอผลิตภัณฑสุขภาพที่ปลอดภัย ไดมาตรฐาน<br />

2) สงเสริมความรู ความเขาใจในการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพไดอยางปลอดภัยและสมประโยชน<br />

เพื่อสุขภาพที่ดี<br />

3) พัฒนาการบริหารจัดการ วิชาการ และบุคลากร เพื่อความเปนเลิศดานการคุมครองผูบริโภค<br />

ดานผลิตภัณฑสุขภาพ<br />

2.3 คานิยมสรางสรรคสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (PROTECT) 3<br />

P หวงใยประชา (Public Centric)<br />

R สรางศรัทธาความเชื่อมั่น (Reliability)<br />

O มุงมั่นเรียนรู (Ongoing Learning)<br />

T ไมลดละความโปรงใส (Transparency)<br />

E ยึดหลักการคุณธรรม (Ethics)<br />

C พรอมพัฒนาขีดสมรรถนะ (Competency)<br />

T เชิดชูทีมงาน (Team work)<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

3


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

P<br />

โดยกําหนดคุณลักษณะสําคัญของคานิยมของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ดังนี้<br />

หวงใยประชา (Public Centric)<br />

- ยึดผลประโยชนของชาติและความปลอดภัยของผูบริโภคเปนหลัก ไมวาจะเปนการจัดทํามาตรฐาน<br />

การออกกฎ ระเบียบ การดําเนินการกับผูกระทําการฝาฝนกฎหมาย การพัฒนาองคกร หรือกิจกรรม<br />

อื่นๆ เพื่อการคุมครองผูบริโภค<br />

R สรางศรัทธาความเชื่อมั่น (Reliability)<br />

- ดําเนินงานตามภารกิจขององคกร ดวยความมุงมั่น โดยยึดวิสัยทัศนและเปาประสงคขององคกรเปนหลัก<br />

- รักและเชื่อมั่นในองคกร ศรัทธาในการทําหนาที่ขององคกร<br />

- ปฏิบัติงานในหนาที่ ทั้งงานบริการ วิชาการ และกํากับดูแล อยางมืออาชีพ เต็มความสามารถ ดวยความ<br />

รับผิดชอบเต็มที่ ตามหลักคุณธรรมจริยธรรม ความถูกตอง ครบถวน ใหเสร็จสิ้นตามกําหนดเวลา<br />

อยางมีมาตรฐาน<br />

- ปฏิบัติตนเปนตัวอยางของผูบริโภคที่ดี<br />

O มุงมั่นเรียนรู (Ongoing Learning)<br />

- ศึกษา คนควา ติดตาม ทบทวนและเพิ่มเติมองคความรูและเทคโนโลยี ที่เกี่ยวของอยางสม่ําเสมอ<br />

เพื่อนํามาพัฒนาการทํางานใหมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น<br />

- แบงปนความรู ประสบการณ และมีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรูอยางสม่ําเสมอ<br />

T<br />

E<br />

- เปดใจกวาง ใหเกียรติและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น<br />

ไมลดละความโปรงใส (Transparency)<br />

- มีระบบงาน ขั้นตอน และระยะเวลาการทํางานที่ชัดเจน หลักเกณฑการประเมินหรือการใหคุณ<br />

ใหโทษที่ชัดเจน มีการเปดเผยขอมูลขาวสารราชการเปนไปตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของ<br />

ราชการ พ.ศ. 2540<br />

- ดําเนินงานอยางเที่ยงธรรม ตามระเบียบ ขั้นตอนที่กําหนด ซึ่งเปดเผยใหสาธารณชนทราบ<br />

และสามารถตรวจสอบความถูกตองได โดยมีชองทางการเผยแพรที่ประชาชนสามารถเขาถึงได<br />

สะดวก เชน เว็บไซต ศูนยขอมูลขาวสารของราชการ ตลอดจนมีระบบหรือกระบวนการตรวจสอบ<br />

และประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ<br />

ยึดหลักการคุณธรรม (Ethics)<br />

- ยึดมั่นในความถูกตอง ดีงาม ไมมีผลประโยชนทับซอน รวมทั้ง ไมเพิกเฉยเมื่อพบเห็นการกระทํา<br />

ที่ไมถูกตอง<br />

- ใหบริการอยางเสมอภาคและยุติธรรม ไมลําเอียงเนื่องจากอคติ ไดแก ความชอบ ความชัง ความหลง<br />

และความกลัว<br />

- มีความยืดหยุน โดยคํานึงถึงประโยชนที่จะเกิดขึ้นตอสวนรวมดวยความซื่อสัตยสุจริต<br />

โดยไมกอใหเกิดผลเสียหรือผลกระทบตอภาพลักษณขององคกร พรอมรับผิดชอบตอผลการกระทํา<br />

- ใชทรัพยสินของราชการอยางประหยัด คุมคา สมประโยชน และไมนําทรัพยสินของราชการมาใช<br />

สวนตัว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

4


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

C<br />

T<br />

พรอมพัฒนาขีดสมรรถนะ (Competency)<br />

- พัฒนาความรู ทักษะ และคุณลักษณะอยางสม่ําเสมอ เพื่อปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและ<br />

ประสิทธิผล บรรลุเปาหมายและวิสัยทัศนขององคกรประเมินตนเองอยางตรงไปตรงมา เพื่อสามารถ<br />

พัฒนาตนเองใหบรรลุตามสมรรถนะที่จําเปน<br />

เชิดชูทีมงาน (Team work)<br />

- ปฏิบัติตามกฎ กติกา หรือระเบียบ ที่กําหนด<br />

- มีความกระตือรือรน เสียสละ ใหความรวมมือ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน และใหขอคิดเห็นที่เปน<br />

ประโยชน เพื่อใหงานสําเร็จ บรรลุวัตถุประสงค<br />

- ใหเกียรติเพื่อนรวมงาน รับฟงความคิดเห็น ยอมรับและปฏิบัติตามมติของที่ประชุม<br />

- รวมกันหาจุดบกพรองเพื่อการพัฒนางานใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น<br />

- ไมเบียดบังเวลาของผูอื่น โดยเขาประชุมตรงตามเวลา ไมรบกวนการทํางานของผูอื่น<br />

2.4 เปาประสงค<br />

ระยะสั้น :<br />

เปาประสงค หนวยนับ คาเปาหมาย<br />

2555 2556 2557 2558 2559<br />

1. ผลิตภัณฑสุขภาพมีคุณภาพ รอยละ 92 93 94 95 96<br />

มาตรฐาน และความปลอดภัย<br />

2. ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภค รอยละ 83 83.5 84 84.5 85<br />

ผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง<br />

(ที่มา : แผนยุทธศาสตรการพัฒนางานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ<br />

ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559))<br />

ระยะยาว :<br />

1. ประชาชนไดบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่มีคุณภาพ ปลอดภัย และสมประโยชนมุงสูสังคมสุขภาพดี<br />

2. ประชาชนเชื่อมั่นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาในการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑ-<br />

สุขภาพ<br />

3. ประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง<br />

(ที่มา : แผนยุทธศาสตรการพัฒนางานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ<br />

ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559))<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

5


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

2.5 ผลการดําเนินงานที่คาดหวัง3<br />

ระดับผลผลิต<br />

4<br />

1. ผลิตภัณฑสุขภาพที่ไดรับการตรวจสอบมีคุณภาพ มาตรฐานตามเกณฑที่กําหนด<br />

2. สถานประกอบการที่ไดรับการตรวจสอบมีคุณภาพ มาตรฐานตามเกณฑที่กําหนด<br />

3. ผูบริโภคมีความรูเกี่ยวกับผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง<br />

4. บุคลากรมีสมรรถนะและการปฏิบัติงานสอดคลองกับยุทธศาสตรขององคกร<br />

5. องคกรมีองคความรูและการบริหารจัดการที่ดี เพื่อสนับสนุนการคุมครองผูบริโภค<br />

ดานผลิตภัณฑสุขภาพ<br />

ระดับผลลัพธ<br />

1. ผูบริโภคไดบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่มีคุณภาพ มาตรฐาน และความปลอดภัย<br />

2. ผูบริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ถูกตอง<br />

3. สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง<br />

(High Performance Organization : HPO)<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

6


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

วิสัยทัศน และประเด็นยุทธศาสตรดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

3.1 วิสัยทัศนดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

บทที่ 3<br />

จากการวิเคราะหและประเมินสภาพปจจุบันดานการบริหารทรัพยากรบุคคลซึ่งกลาวไวในบทที่ 4<br />

ทําใหคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

ตระหนักถึงสภาพปญหางานดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่ตองการการขับเคลื่อนอยางเปนระบบ<br />

เพื่อเปลี่ยนแปลงสิ่งที่เปนปญหาในปจจุบัน ใหไปสูการพัฒนาใหบรรลุเปาหมายที่องคกรตองการในอนาคต<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงกําหนดวิสัยทัศนในงานดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

โดยกําหนดให “บุคลากร” ที่จะเปนตัวขับเคลื่อนสําคัญในการพัฒนาไปสูทิศทางที่ตองการ และบรรลุวิสัยทัศน<br />

พันธกิจขององคกร ดังนี้<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

3.2 การกําหนดประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค ตัวชี้วัด/เปาหมาย แผนงาน/กิจกรรม และผูรับผิดชอบ<br />

คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ไดมีการปรับประเด็นยุทธศาสตร ในแผน-<br />

กลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป<br />

ฉบับป พ.ศ. 2554–2557 ใหเหมาะสม สอดคลองกับผลการประเมินสภาพการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ในปจจุบัน และวิสัยทัศนการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยสรุปได 7 ประเด็นยุทธศาสตร พรอมกับกําหนด<br />

เปาประสงคที่จะนําไปสูผลสําเร็จของประเด็นยุทธศาสตรแตละประเด็น ตัวชี้วัดระดับคาเปาหมาย แผนงาน/<br />

โครงการ ผูรับผิดชอบ และงบประมาณ (ถามี) ภายใตกรอบมาตรฐานความสําเร็จ 5 มิติ ซึ่งมีความเชื่อมโยง<br />

ระหวางกัน ดังนี้<br />

ประเด็นยุทธศาสตรดานการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

ประกอบดวย 7 ประเด็น ดังนี้<br />

(1) พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและวัฒนธรรมใหสอดคลองกับวิสัยทัศนและเปาหมายของ<br />

องคกร<br />

(2) การบริหารทรัพยากรบุคคลที่สอดคลองกับเปาหมาย พันธกิจและวิสัยทัศนองคกร<br />

(3) การรักษาผูมีสมรรถนะสูงไวในระบบ<br />

(4) การเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล<br />

(5) พัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของเจาหนาที่<br />

(6) การบริหารทรัพยากรบุคคล มีความโปรงใส และพรอมตรวจสอบ<br />

(7) การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางาน<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

7


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ<br />

ความสมดุลระหวางชีวิต<br />

กับการทํางาน<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

มีความโปรงใส และ<br />

พรอมตรวจสอบ<br />

พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม<br />

คานิยมและวัฒนธรรม<br />

ใหสอดคลองกับวิสัยทัศน<br />

และเปาหมายขององคกร<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ที่สอดคลองกับเปาหมาย<br />

พันธกิจและวิสัยทัศนองคกร<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรู<br />

และพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

การเพิ่มประสิทธิภาพของ<br />

การบริหารจัดการ<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

พัฒนาคุณภาพ<br />

การปฏิบัติงานของ<br />

เจาหนาที่<br />

การรักษาผูมีสมรรถนะสูง<br />

ไวในระบบ<br />

แผนภาพที่ 1 แสดงประเด็นยุทธศาสตรดานการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

3.3 รายละเอียดแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยากําหนดเปาประสงคดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ไวรวม 18 เปาประสงค ดังนี้ (รายละเอียดตามตารางที่ 1)<br />

ตารางที่ 1 แสดงเปาประสงคเชิงกลยุทธดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556-2559)<br />

ที่สอดรับกับ 17 ปจจัยตามกรอบมาตรฐานความสําเร็จดานการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงาน ก.พ.<br />

ปจจัยของสํานักงาน กพ.<br />

เปาประสงคเชิงกลยุทธ<br />

มิติที่ 1 ความสอดคลองเชิงยุทธศาสตร<br />

ปจจัย 1 นโยบาย แผนงานและมาตรฐานดาน <strong>HR</strong> (1) มีกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลสอดคลอง<br />

สอดคลองกับเปาหมายพันธกิจของสวนราชการและชีวิต และสนับสนุนยุทธศาสตร อย.<br />

ปจจัย 2 มีการวางแผนและบริหารกําลังคน (2) มีโครงสราง และกรอบอัตรากําลังที่เหมาะสม<br />

และสอดคลองกับภารกิจ<br />

ปจจัย 3 มีการบริหารกําลังคนกลุมที่มีทักษะและ (3) สามารถรักษาจูงใจบุคลากรที่มีศักยภาพสูง<br />

สมรรถนะสูง<br />

ไวใน อย.<br />

(4) มีเสนทางความกาวหนาของสายอาชีพที่ชัดเจน<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

8


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ปจจัยของสํานักงาน กพ.<br />

ปจจัย 4 มีการสราง พัฒนาและสืบทอดของตําแหนง<br />

บริหาร<br />

มิติที่ 2 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย 5 กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

เปาประสงคเชิงกลยุทธ<br />

ซ้ํากับขอ (4) มีเสนทางความกาวหนาของ<br />

สายอาชีพที่ชัดเจน<br />

(5) การวางแผนสืบทอดตําแหนง<br />

(Succession Plan) ในตําแหนงสําคัญของ อย.<br />

(6) การพัฒนาผูบริหารทุกระดับ<br />

(7) มีการปรับปรุงกระบวนงานดานการบริหาร-<br />

ทรัพยากรบุคคลใหมีประสิทธิภาพ<br />

(8) พัฒนาหนวยงานและบุคลากรดาน <strong>HR</strong> ใหมี<br />

ความเขมแข็ง<br />

(9) มีระบบการประกันคุณภาพการฝกอบรม/<br />

การพัฒนาบุคลากร<br />

(10) มีระบบการควบคุมภายในดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลที่สามารถตรวจสอบได<br />

เพื่อลดความเสี่ยง<br />

(11) มีระบบการพัฒนาบุคลากร<br />

(เนนการเปลี่ยนแปลง)<br />

ปจจัย 6 มีระบบฐานขอมูลถูกตอง เที่ยงตรง ทันสมัย (12) มีระบบการจัดการฐานขอมูลดานทรัพยากร<br />

ปจจัย 7 สัดสวนคาใชจายของกิจกรรมการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลประมาณรายจายเหมาะสม สะทอน<br />

ผลิตภาพ และคุมคา<br />

ปจจัย 8 นําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช<br />

มิติที่ 3 ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย 9 การรักษาขาราชการที่จําเปนตอการบรรลุ<br />

เปาหมาย<br />

ปจจัย 10 ความพึงพอใจของขาราชการตอนโยบาย<br />

มาตรการการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

บุคคลที่มีประสิทธิภาพ (สํานักงานเลขานุการกรม)<br />

ซ้ํากับขอ (9) มีระบบการประกันคุณภาพการ<br />

ฝกอบรม/การพัฒนาบุคลากร [Return On<br />

Investment (Training) And Expense Ratio<br />

(Core VS Support Functions)]<br />

ซ้ํากับขอ (12) มีระบบการจัดการฐานขอมูล<br />

ดานทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพ<br />

(ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศ)<br />

ซ้ํากับขอ (3) สามารถรักษาจูงใจบุคลากรที่มี<br />

ศักยภาพสูงไวใน อย.<br />

(13)ความตองการของหัวหนากลุมงาน<br />

(ผูปฏิบัติงาน) ที่มีตองานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย 11 การสนับสนุนใหเกิดการเรียนรูและพัฒนา (14) มีระบบจัดการความรู และสงเสริมใหเกิด<br />

บรรยากาศของการเรียนรู<br />

ปจจัย 12 การมีระบบบริหารผลงาน และมีวิธีการ (15) มีระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานที่มี<br />

ประเมินผลการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผล ซึ่งเชื่อมโยง รางวัลจูงใจสอดคลองตามผลการปฏิบัติงานของ<br />

กับผลตอบแทน<br />

บุคลากร<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

9


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ปจจัยของสํานักงาน กพ.<br />

เปาประสงคเชิงกลยุทธ<br />

มิติที่ 4 ความพรอมรับผิดดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย 13 การรับผิดชอบตอการตัดสินใจและผลของ (16) สงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของบุคลากร<br />

การตัดสินใจดานการบริหารทรัพยากรบุคคล และการ<br />

ดําเนินการทางวินัยบนหลักการของความสามารถ<br />

หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม หลักมนุษยธรรม<br />

ปจจัย 14 ความโปรงใสของกระบวนการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล และพรอมใหมีการตรวจสอบ<br />

มิติที่ 5 คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางาน<br />

ปจจัย 15 ความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในการทํางาน<br />

และระบบงาน<br />

ปจจัย 16 การจัดสวัสดิการและสิ่งอํานวยความสะดวก<br />

นอกเหนือจากสวัสดิการที่กฎหมายกําหนด<br />

ปจจัย 17 ความสัมพันธอันดีระหวางฝายบริหารกับ<br />

ขาราชการผูปฏิบัติงาน และระหวางขาราชการ<br />

ผูปฏิบัติงานดวยกัน<br />

ซ้ํากับขอ (10) มีระบบการควบคุมภายในดาน<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคลที่สามารถตรวจสอบได<br />

เพื่อลดความเสี่ยง<br />

(17) พัฒนาระบบการรับฟงความคิดเห็น<br />

การจัดการขอรองเรียน รองทุกข ดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

(18) การปฏิบัติงานมีความสมดุลระหวางคุณภาพ<br />

ชีวิต และการทํางาน<br />

ทั้งนี้ คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลไดแสดงความเชื่อมโยงระหวางมิติ<br />

ความสําเร็จ และเปาประสงคของการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สอดคลองกับวิสัยทัศนและยุทธศาสตรดาน<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556 - 2559)<br />

ตามรายละเอียดในแผนภาพที่ 2<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

10


“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

แผนภาพที่ 2 แสดงความเชื่อมโยงระหวางมิติความสําเร็จและเปาประสงคของการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สอดคลองกับวิสัยทัศนและยุทธศาสตรดานการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556 - 2559)<br />

วิสัยทัศน “บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรู และพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

ประเด็นยุทธศาสตรดานการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

1) พัฒนาคุณธรรม จริยธรรม คานิยมและวัฒนธรรมใหสอดคลองกับวิสัยทัศนและเปาหมายขององคกร 2) การบริหารทรัพยากรบุคคลที่สอดคลองกับเปาหมาย พันธกิจและวิสัยทัศนองคกร<br />

3) การรักษาผูมีสมรรถนะสูงไวในระบบ 4) การเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล<br />

5) พัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ 6) การบริหารทรัพยากรบุคคล มีความโปรงใส และพรอมตรวจสอบ<br />

7) การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางาน<br />

มิติ ๕ คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางาน<br />

-ความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในการทํางาน และระบบงาน<br />

-การจัดสวัสดิการและสิ่งอํานวยความสะดวกนอกเหนือจากสวัสดิการที่กฎหมายกําหนด<br />

-ความสัมพันธอันดีระหวางฝายบริหารกับขาราชการผูปฏิบัติงาน และระหวางขาราชการ<br />

ผูปฏิบัติงานดวยกัน<br />

มิติ ๔ ความพรอมรับผิดดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

-การรับผิดชอบตอการตัดสินใจและผลของการตัดสินใจดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

และการดําเนินการทางวินัยบนหลักการของความสามารถ หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม<br />

หลักมนุษยธรรม<br />

-ความโปรงใสของกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล และพรอมใหมีการตรวจสอบ<br />

มิติ ๓ ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

-การรักษาขาราชการที่จําเปนตอการบรรลุเปาหมาย<br />

-ความพึงพอใจของขาราชการตอนโยบาย มาตรการการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

-การสนับสนุนใหเกิดการเรียนรูและพัฒนา<br />

-การมีระบบบริหารผลงาน และมีวิธีการประเมินผล การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผล ซึ่ง<br />

เชื่อมโยงกับผลตอบแทน<br />

มิติ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

-กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

-มีระบบฐานขอมูลถูกตอง เที่ยงตรง ทันสมัย<br />

-สัดสวนคาใชจายของกิจกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลประมาณรายจายเหมาะสม<br />

สะทอนผลิตภาพ และคุมคา<br />

-นําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช<br />

มิติ ๑ ความสอดคลองเชิงยุทธศาสตร<br />

-นโยบาย แผนงานและมาตรฐานดาน <strong>HR</strong> สอดคลองกับเปาหมายพันธกิจของสวนราชการ<br />

และชีวิต<br />

-มีการวางแผนและบริหารกําลังคน<br />

-มีการสราง พัฒนาและสืบทอดของตําแหนงบริหาร<br />

-มีการบริหารกําลังคนกลุมที่มีทักษะและสมรรถนะสูง<br />

สงเสริมคุณธรรมและจริยธรรม<br />

ของบุคลากร<br />

สามารถรักษาจูงใจบุคลากร<br />

ที่มีศักยภาพสูงไวใน อย.<br />

มีการปรับปรุง<br />

กระบวนงานดาน<br />

การบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

ใหมีประสิทธิภาพ<br />

มีกลยุทธการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

สอดคลองและสนับสนุน<br />

ยุทธศาสตร อย.<br />

พัฒนาหนวยงาน<br />

และบุคลากร<br />

ดาน <strong>HR</strong> ใหมี<br />

ความเขมแข็ง<br />

มีโครงสราง และ<br />

กรอบอัตรากําลัง<br />

ที่เหมาะสมและ<br />

สอดคลองกับภารกิจ<br />

การปฏิบัติงานมีความสมดุลระหวางคุณภาพชีวิตและการทํางาน<br />

มีระบบการควบคุมภายในดานการบริหารทรัพยากร-<br />

บุคคลที่สามารถตรวจสอบได เพื่อลดความเสี่ยง<br />

ความตองการของหัวหนากลุมงาน<br />

(ผูปฏิบัติงาน) ที่มีตอ<br />

งานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

มีระบบการประกัน<br />

คุณภาพ<br />

การฝกอบรม/<br />

การพัฒนาบุคลากร<br />

มีระบบการควบคุม<br />

ภายในดานการบริหาร<br />

ทรัพยากร-บุคคลที่<br />

สามารถตรวจสอบได<br />

เพื่อลดความเสี่ยง<br />

สามารถรักษาจูงใจ<br />

บุคลากรที่มี<br />

ศักยภาพสูงไวใน<br />

อย.<br />

มีระบบจัดการความรู และสงเสริม<br />

ใหเกิดบรรยากาศของการเรียนรู<br />

มีระบบการ<br />

พัฒนาบุคลากร<br />

(เนน การ<br />

เปลี่ยนแปลง)<br />

มีเสนทาง<br />

ความกาวหนาของ<br />

สายอาชีพที่ชัดเจน<br />

พัฒนาระบบการรับฟงความคิดเห็นการจัดการ<br />

ขอรองเรียน รองทุกข ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

มีระบบการ<br />

จัดการ<br />

ฐานขอมูลดาน<br />

ทรัพยากร<br />

บุคคลที่มี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

มีระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน<br />

ที่มีรางวัลจูงใจสอดคลองตาม<br />

ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร<br />

มีระบบการประกันคุณภาพการ<br />

ฝกอบรม/การพัฒนาบุคลากร<br />

• Return On Investment<br />

(Training)<br />

• Expense Ratio (Core VS<br />

Support Functions)<br />

• การวางแผนสืบทอดตําแหนง<br />

(Succession Plan) ในตําแหนงสําคัญ<br />

ของ อย.<br />

• การพัฒนาผูบริหารทุกระดับ


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

4.1 การวิเคราะหสภาพการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

การวิเคราะหสภาพการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีภารกิจเกี่ยวกับการปกปองและคุมครองสุขภาพของ<br />

ประชาชนจากการบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพ โดยผลิตภัณฑสุขภาพเหลานั้นตองมีคุณภาพและปลอดภัย<br />

มีการสงเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกตองดวยขอมูลทางวิชาการที่มีหลักฐานเชื่อถือไดและมีความ<br />

เหมาะสม เพื่อใหประชาชนไดบริโภคผลิตภัณฑสุขภาพที่ปลอดภัยและสมประโยชน สํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา แบงสวนราชการเปนหนวยงานหลักดานการควบคุมกํากับดูแลผลิตภัณฑ-<br />

สุขภาพรวม 6 สํานัก/กอง และหนวยงานดานสนับสนุนการดําเนินงานรวม 4 สํานัก/กอง ดังนี้<br />

(1) สํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย<br />

(2) สํานักยา<br />

(3) สํานักอาหาร<br />

(4) สํานักดานอาหารและยา<br />

(5) กองควบคุมเครื่องมือแพทย<br />

(6) กองควบคุมวัตถุเสพติด<br />

(7) กองแผนงานและวิชาการ<br />

(8) สํานักงานเลขานุการกรม<br />

(9) กองพัฒนาศักยภาพผูบริโภค<br />

(10) กองสงเสริมงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพในสวนภูมิภาคและทองถิ่น<br />

นอกจากนี้ยังมี กลุมที่รายงานตรงตอเลขาธิการ อีก 3 กลุมดังนี้<br />

(1) กลุมกฎหมายอาหารและยา<br />

(2) กลุมพัฒนาระบบบริหาร<br />

(3) กลุมตรวจสอบภายใน<br />

บทที่ 4<br />

ดังรายละเอียดแผนภูมิโครงสรางอัตรากําลังสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปงบประมาณ<br />

พ.ศ. 2555 แผนภาพที่ 3<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

12


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

แผนภาพที่ 3 โครงสรางการแบงสวนราชการและจํานวนอัตรากําลังของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจําปงบประมาณ 2555 ณ วันที่ 10 กันยายน 2555<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

4.2 โครงสรางของหนวยงานที่รับผิดชอบงานทรัพยากรบุคคล<br />

ตามโครงสรางการแบงสวนราชการของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา หนวยงานที่มี<br />

บทบาทหนาที่ในงานทรัพยากรบุคคล ประกอบดวย 2 หนวยงาน ไดแก 1) ฝายการเจาหนาที่ สํานักงาน<br />

เลขานุการกรม รับผิดชอบกิจกรรมดานการบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resource Management)<br />

เชน การสรรหา คัดเลือก แตงตั้งบุคลากร เลื่อนระดับ การวางแผนกรอบโครงสรางอัตรากําลัง การจัดทํา<br />

คําบรรยายลักษณะงาน ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน การจัดทําแผนเสนทางความกาวหนาในสาย<br />

อาชีพ การจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตและความผาสุกของบุคลากร เปนตน และ 2) กลุมวิชาการและ<br />

วิเทศสัมพันธ กองแผนงานและวิชาการ รับผิดชอบกิจกรรมดานการพัฒนา (Human Resource<br />

Development) เชน การพัฒนาบุคลากรตามขีดความสามารถเชิงสมรรถนะ การฝกอบรมการจัดการ<br />

ความรู การจัดทําแผนบริหารทรัพยากรบุคคล การประเมินประสิทธิผลความคุมคาของการอบรม เปนตน<br />

(รายละเอียดตามแผนภาพที่ 4)<br />

แนวทางการวิเคราะหสภาพแวดลอมเปนกระบวนการสําคัญในการประเมินสถานภาพขององคกร<br />

ที่จะทําใหการปฏิบัติงานบรรลุถึงวิสัยทัศน และพันธกิจ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงไดมีการ<br />

ดําเนินการเพื่อประเมินสภาพปจจุบันดานการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยอาศัยกระบวนการมีสวนรวม<br />

ภายในองคกรผานการแตงตั้งคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>)<br />

ที่ประกอบดวยผูแทนจากทุกหนวยงานภายในองคกร รวมกับการสัมมนาระดมความคิดเห็น ประเมิน<br />

สภาพการณในอดีตและปจจุบัน และทบทวนแผนกลยุทธฯ ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2554-2557) และแผนปฏิบัติ-<br />

การการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ที่ผานมา สําหรับใชเปนขอมูลในการ<br />

ทบทวนวิสัยทัศนการบริหารทรัพยากรบุคคล ประเด็นยุทธศาสตร และจัดทําแผนกลยุทธฯ ระยะ 4 ป<br />

ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2556-2559)<br />

สํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา<br />

หนวยงานที่มีบทบาทหนาที่<br />

ในงานทรัพยากรบุคคล<br />

Human Resource<br />

Development<br />

Human Resource<br />

Management<br />

กลุมวิชาการและวิเทศสัมพันธ<br />

กองแผนงานและวิชาการ<br />

ฝายการเจาหนาที่<br />

สํานักงานเลขานุการกรม<br />

แผนภาพที่ 4 หนวยงานที่รับผิดชอบดานการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

14


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

4.3 การประเมินสภาพองคกรดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ไดดําเนินการประเมินสภาพองคกร<br />

ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยใชขอมูลดังตอไปนี้<br />

1) ทบทวนขอมูลความคาดหวังของผูมีสวนไดเสีย (Stakeholders) ไดแก<br />

สรุปบทสัมภาษณผูบริหารระดับสูง<br />

สรุปแบบสอบถามความคาดหวังจากผูประกอบการ<br />

สรุปแบบสํารวจความพึงพอใจจากเจาหนาที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(ภาคผนวก 1)<br />

คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล สํานักงานคณะกรรมการอาหาร<br />

และยาใหความสําคัญกับผูมีสวนไดเสีย (Stakeholders) ทั้งบุคคล/กลุมบุคคลจากภายนอกและภายใน<br />

องคการ จึงไดมีการดําเนินการทบทวนขอมูลความคาดหวังของผูมีสวนไดเสีย (Stakeholders) 3 กลุม คือ<br />

ผูบริหาร ผูประกอบการ เจาหนาที่สํานักงานฯ ใน 3 มิติ คือ มิติที่ 1 ความตองการ มิติที่ 2 คุณลักษณะของ<br />

กําลังคน และ มิติที่ 3 ระบบ โครงสราง กระบวนการ เทคโนโลยีดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

2) แผนยุทธศาสตรการพัฒนางานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพในชวงแผนพัฒนา<br />

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)<br />

แผนยุทธศาสตรการพัฒนางานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ ในชวงแผนพัฒนา<br />

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) ถือเปนกรอบการดําเนินงานคุมครองผูบริโภค<br />

ดานผลิตภัณฑสุขภาพ ที่มีการวางแผนการดําเนินงานใหสอดรับกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปและ<br />

วางระบบที่ดี เพื่อเปนรากฐานการดําเนินงานในอนาคต การวางแผนกลยุทธจึงเปนเครื่องมือที่ชวยใหองคกร<br />

สามารถรับรูและเขาใจถึงสภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอกที่ปรับเปลี่ยนไป รวมถึงมุงพัฒนาการ<br />

ดําเนินงานในดานตางๆ เพื่อใหบรรลุวิสัยทัศน สงผลใหประชาชนไดรับผลิตภัณฑสุขภาพที่มีคุณภาพ<br />

มาตรฐานและความปลอดภัย ตลอดจนมีองคความรูที่ถูกตองในการพิจารณาเลือกซื้อผลิตภัณฑสุขภาพ<br />

ที่ปลอดภัยได<br />

3) แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหาร<br />

และยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2554–2557)<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีการดําเนินงานดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

อยางเปนระบบ และมีความเปนพลวัติอยางตอเนื่อง เห็นไดจากมีการจัดทําแผนกลยุทธการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2554–2557)<br />

และมีการดําเนินการทบทวนแผนกลยุทธ ดังกลาวเพื่อใหสอดรับกับความเปนปจจุบัน ดังนั้นแผนกลยุทธฯ<br />

ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2554–2557) จึงเปนขอมูลการดําเนินการที่ผานมา และใชในการพัฒนาแผนกลยุทธฯ<br />

ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559) ใหเปนไปตามแนวทาง <strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong> ของสํานักงาน ก.พ.<br />

4) แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือน ประจําป พ.ศ. 2552–2555 (ภาคผนวก 2)<br />

ภายใตยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือน สํานักงาน ก.พ. ไดสงเสริมสนับสนุน และ<br />

ผลักดันใหสวนราชการเห็นความสําคัญของการพัฒนาขาราชการตามกรอบยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการ<br />

พลเรือนที่มุงเนนพัฒนาขาราชการ โดยยึดหลักสมรรถนะ (Competency) และพัฒนาขีดความสามารถ<br />

(Capability) เพื่อใหขาราชการเปนผูปฏิบัติงานที่ทรงความรู (Knowledge Worker) สามารถปฏิบัติงาน<br />

ภายใตการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี และระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

15


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

กาวทันการเปลี่ยนแปลง สามารถพัฒนางานในหนาที่อยางตอเนื่อง สม่ําเสมอ นักบริหารทุกระดับ<br />

มีศักยภาพในการเปนผูนําการบริหารราชการยุคใหม เพื่อใหภาคราชการมีขีดความสามารถและมาตรฐาน<br />

การปฏิบัติงานในระดับสูงเทียบเทาเกณฑสากล ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงนํา<br />

แผนยุทธศาสตรฯ มาเปนสวนหนึ่งของกระบวนการวางแผนและจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป ตั้งแตฉบับ พ.ศ. 2552–2555<br />

ถึงปจจุบัน พ.ศ. 2556–2559<br />

5) การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA หมวด 5 (ภาคผนวก 3)<br />

สํานักงาน ก.พ.ร. ไดนํา PMQA มาใชเปนตัวชี้วัดในหนวยงานราชการตั้งแตปงบประมาณ<br />

พ.ศ. 2549 ทั้งนี้ในป พ.ศ. 2552 ไดพัฒนาเกณฑคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน<br />

(Fundamental Level : FL) โดย PMQA หมวด 5 การมุงเนนทรัพยากรบุคคลเปนการตรวจประเมินวา<br />

สวนราชการมีระบบงาน การวางแผนระบบการเรียนรู การสรางความผาสุก การสรางแรงจูงใจของบุคลากร<br />

เพื่อใหเกิดการพัฒนาตนเองและใชศักยภาพอยางเต็มที่ ซึ่งจะนําไปสูผลการดําเนินการที่เปนเลิศและ<br />

ความกาวหนาของบุคลากร การประเมินองคการตามเกณฑ PMQA ใชแนวทางการบริหารจัดการแบบ<br />

“ADLI” [Approach (A) มีแนวทางระบบแบบแผน Deployment (D) นําไปใชอยางทั่วถึง Learning (L)<br />

เกิดการเรียนรู Integration (I) บูรณาการเชื่อมโยงสอดคลองกัน] โดยการตอบคําถามตามเกณฑในแตละ<br />

หมวด ทําใหทราบจุดแข็งและโอกาสในการปรับปรุงวางแผนพัฒนาองคการใหมีประสิทธิภาพตอไป<br />

6) ทบทวนจุดแข็ง-จุดออน-โอกาส-ภัยคุกคาม (SWOT) (ภาคผนวก 4)<br />

การทบทวนศักยภาพขององคกร (SWOT Analysis) โดยวิเคราะหหาจุดแข็ง จุดออน<br />

โอกาส และอุปสรรค ในการที่จะบรรลุ/ไมบรรลุจุดยืนที่กําหนดไว พบจุดแข็ง 10 ประการ จุดออน 19<br />

ประการ โอกาส 7 ประการ และภัยคุกคามหรืออุปสรรค 7 ประการ โดยเมื่อพิจารณาจุดออน 5 ประการ<br />

(w1/w2/w8/w17/w19) เปนจุดออนที่คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล เห็นถึง<br />

ความสําคัญอยางยิ่งและไดนําจุดออนทั้ง 5 ประการถายทอดผานกิจกรรม/แผนงาน/โครงการ เพื่อปรับ<br />

จุดออนใหเปนจุดแข็งของสํานักงานฯ<br />

7) ทบทวนผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการการบริหารกลยุทธการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 เพื่อศึกษาปญหา อุปสรรคที่ผานมา และหาแนวทางแกไขปรับปรุง<br />

ในปตอไป<br />

การทบทวนผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการการบริหารแผนกลยุทธการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 ชวยใหคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล ทราบปญหา อุปสรรคในการทํากิจกรรม/แผนงาน/โครงการในปงบประมาณที่ผานมา<br />

ซึ่งเปนประโยชนอยางยิ่งในการวางแผนปฏิบัติการการบริหารกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําป<br />

งบประมาณ พ.ศ. 2556 ใหเกิดประสิทธิภาพตอไป<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

16


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

บทที่ 5<br />

ขั้นตอนการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

5.1 การจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ตามกรอบมาตรฐานความสําเร็จดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) 5<br />

มาตรฐานความสําเร็จที่เปนเปาหมายสําคัญที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ตองบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลใหบรรลุนั้น ประกอบดวย 5 มิติ 17 ปจจัย ดังนี้<br />

มิติที่ 1 ความสอดคลองเชิงยุทธศาสตร หมายถึง การที่สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

มีแนวทางและวิธีการบริหารทรัพยากรบุคคล ตามปจจัยที่ 1-4 ดังตอไปนี้<br />

ปจจัยที่ 1 มีนโยบาย แผนงาน และมาตรการดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ซึ่งสอดคลองและสนับสนุน<br />

ใหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาบรรลุพันธกิจ เปาหมาย และวัตถุประสงคที่ตั้งไว<br />

ปจจัยที่ 2 มีการวางแผนและบริหารกําลังคนทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ กลาวคือ<br />

“กําลังคนมีขนาดและสมรรถนะ” ที่เหมาะสมสอดคลองกับการบรรลุภารกิจและความจําเปน<br />

ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทั้งในปจจุบันและในอนาคต มีการวิเคราะหสภาพ<br />

กําลังคน (Workforce Analysis) สามารถระบุชองวางดานความตองการกําลังคนและมีแผน<br />

เพื่อลดชองวางดังกลาว<br />

ปจจัยที่ 3 มีนโยบาย แผนงาน โครงการและมาตรการดานการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อดึงดูดใหไดมา<br />

พัฒนาและรักษาไวซึ่งกลุมขาราชการและผูปฏิบัติงานที่มีทักษะหรือสมรรถนะสูงซึ่งจําเปนตอ<br />

ความคงอยูและขีดความสามารถในการแขงขันของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(Talent Management, Succession Plan)<br />

ปจจัยที่ 4 มีแผนการสรางและแผนการพัฒนาผูบริหารทุกระดับ รวมทั้งมีแผนสรางความตอเนื่องในการ<br />

บริหารราชการ นอกจากนี้ยังรวมถึงการที่ผูนําปฏิบัติตนเปนแบบอยางที่ดีและสรางแรงบันดาล<br />

ใจใหกับขาราชการและผูปฏิบัติงาน ทั้งในเรื่องของผลการปฏิบัติงานและพฤติกรรมในการ<br />

ทํางาน<br />

มิติที่ 2 ประสิทธิภาพของกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> Operational Efficiency)<br />

หมายถึง กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(<strong>HR</strong> Transactional Activities) มีลักษณะตามปจจัยที่ 5-8 ดังตอไปนี้<br />

ปจจัยที่ 5 กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล เชน การสรรหา คัดเลือก การบรรจุแตงตั้ง<br />

การพัฒนา การเลื่อนขั้นเลื่อนตําแหนง การโยกยาย และกิจกรรมดานการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลอื่นๆ มีความถูกตองและทันเวลา (Accuracy and Timeliness)<br />

ปจจัยที่ 6 มีระบบฐานขอมูลดานการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีความถูกตอง เที่ยงตรง ทันสมัย และ<br />

นํามาใชประกอบการตัดสินใจและการบริหารทรัพยากรบุคคลไดจริง<br />

ปจจัยที่ 7 สัดสวนคาใชจายสําหรับกิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ตอ<br />

งบประมาณรายจาย มีความเหมาะสม และสะทอนผลิตภาพของบุคลากร (<strong>HR</strong> Productivity)<br />

ตลอดจนความคุมคา (Value for Money)<br />

ปจจัยที่ 8 มีการนําเทคโนโลยีและเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในกิจกรรมและกระบวนการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล เพื่อปรับปรุงการบริหารและการบริการ (<strong>HR</strong> Automation)<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

17


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

มิติที่ 3 ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong>M Program Effectiveness)<br />

หมายถึง นโยบาย แผนงาน โครงการ และมาตรการดานการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา กอใหเกิดผลตามปจจัยที่ 9-12 ดังตอไปนี้<br />

ปจจัยที่ 9 การรักษาไวซึ่งขาราชการและผูปฏิบัติงานซึ่งจําเปนตอการบรรลุเปาหมาย พันธกิจ<br />

(Retention)<br />

ปจจัยที่ 10 ความพึงพอใจของขาราชการและบุคลากรผูปฏิบัติงานตอนโยบาย แผนงาน โครงการ และ<br />

มาตรการดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัยที่ 11 การสนับสนุนใหเกิดการเรียนรูและการพัฒนาอยางตอเนื่อง รวมทั้งสงเสริมใหมีการแบงปน<br />

แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารและความรู (Development and Knowledge Management)<br />

เพื่อพัฒนา ขาราชการและผูปฏิบัติงานใหมีทักษะและสมรรถนะที่จําเปนสําหรับการบรรลุ<br />

ภารกิจและเปาหมาย<br />

ปจจัยที่ 12 การมีระบบการบริหารผลงาน (Performance Management) ที่เนนประสิทธิภาพ<br />

ประสิทธิผลและความคุมคา มีระบบหรือวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานที่สามารถจําแนก<br />

ความแตกตางและจัดลําดับผลการปฏิบัติงานของขาราชการและผูปฏิบัติงานซึ่งเรียกชื่ออื่นได<br />

อยางมีประสิทธิผล นอกจากนี้ ขาราชการและผูปฏิบัติงานมีเขาใจถึงความเชื่อมโยงระหวางผล<br />

การปฏิบัติงาน สวนบุคคลและผลงานของทีมงาน กับความสําเร็จหรือผลงานของสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา<br />

มิติที่ 4 ความพรอมรับผิดดานการบริหารทรัพยากรบุคคล หมายถึง การที่สํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยาจะตองแสดงใหเห็นถึงประเด็นที่เกี่ยวของ ในปจจัยที่ 13 และ 14 ดังตอไปนี้<br />

ปจจัยที่ 13 รับผิดชอบตอการตัดสินใจและผลของการตัดสินใจดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ตลอดจน<br />

การดําเนินการดานวินัย โดยคํานึงถึงหลักความสามารถและผลงาน หลักคุณธรรม หลักนิติ-<br />

ธรรม และหลักสิทธิมนุษยชน<br />

ปจจัยที่ 14 มีความโปรงใสในทุกกระบวนการของการบริหารทรัพยากรบุคคลทั้งนี้จะตองกําหนดใหความ<br />

พรอมรับผิดดานการบริหารทรัพยากรบุคคลแทรกอยูในทุกกิจกรรมดานการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคล<br />

มิติที่ 5 คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางาน หมายถึง การที่สํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา มีนโยบายแผนงาน โครงการและมาตรการ ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาคุณภาพ<br />

ชีวิตของขาราชการและบุคลากรภาครัฐ ตามปจจัยที่ 15-17 ดังนี้<br />

ปจจัยที่ 15 ขาราชการและผูปฏิบัติงานมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในการทํางาน ระบบงานและ<br />

บรรยากาศการทํางาน ตลอดจนมีการนําเทคโนโลยีการสื่อสารเขามาใชในการบริหารราชการ<br />

และการใหบริการแกประชาชน ซึ่งจะสงเสริมใหขาราชการและผูปฏิบัติงานไดใชศักยภาพ<br />

อยางเต็มที่โดยไมสูญเสียรูปแบบการใชชีวิตสวนตัว<br />

ปจจัยที่ 16 มีการจัดสวัสดิการและสิ่งอํานวยความสะดวกเพิ่มเติมที่ไมใชสวัสดิการภาคบังคับตามกฎหมาย<br />

ซึ่งมีความเหมาะสม สอดคลองกับความตองการและสภาพของสํานักงานคณะกรรมการอาหาร<br />

และยา<br />

ปจจัยที่ 17 มีการสงเสริมความสัมพันธอันดีระหวางฝายบริหารกับขาราชการและผูปฏิบัติงานผูปฏิบัติงาน<br />

และในระหวางขาราชการ และผูปฏิบัติงานดวยกันเอง และใหกําลังคนมีความพรอมที่จะ<br />

ขับเคลื่อนสวนราชการใหพัฒนาไปสูวิสัยทัศนที่ตองการ<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

18


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

5.2 ขั้นตอนการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

ขั้นตอน/กระบวนการวางแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559) ดําเนินการตามกรอบเวลาตามแผนภาพที่ 5 ดังนี้<br />

มิ.ย. 55<br />

ก.ค.-พ.ย. 55 ธ.ค. 55 ม.ค. 56<br />

ก.ย. 56<br />

ทบทวนผล<br />

การดําเนินงาน<br />

ปงบประมาณ<br />

2555 ที่ผานมา<br />

ทบทวนและ<br />

วิเคราะหขอมูล<br />

การจัดทํา<br />

แผนกลยุทธฯ<br />

ระยะ 4 ป<br />

(2556-2559)<br />

แผนกลยุทธฯ และ<br />

แผนปฏิบัติการฯ<br />

ประจําป 2556<br />

ไดรับการอนุมัติ<br />

เผยแพร<br />

ประชาสัมพันธ<br />

แผนกลยุทธฯ<br />

ผานชองทาง<br />

การสื่อสาร<br />

ภายในองคกร<br />

ติดตาม<br />

รายงานผล และ<br />

สรุปบทเรียน<br />

ผลการดําเนินงาน<br />

ปงบประมาณ<br />

2556<br />

• ติดตามและรายงานการ<br />

ดําเนินงานแผนกลยุทธฯ<br />

ประจําปงบประมาณ<br />

2555 ที่ผานมา<br />

• สรุปบทเรียนและ<br />

วิเคราะหรวบรวมปญหา<br />

• ประชุมเชิงปฏิบัติการ<br />

จัดทําแผนกลยุทธการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล<br />

(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ<br />

4 ป<br />

• ทบทวนและวิเคราะห<br />

ความตองการผูมีสวน<br />

ไดสวนเสีย เชน การ<br />

พัฒนาคุณภาพการ<br />

บริหารจัดการภาครัฐ,<br />

แผนพัฒนาขาราชการ<br />

พลเรือน ฯลฯ<br />

• ทบทวนประเด็นยุทธ-<br />

ศาสตร ตัวชี้วัดดาน<br />

ทรัพยากรบุคคล และ<br />

ขอมูลพื้นฐานดาน<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

คาเปาหมาย/แผนงาน/<br />

โครงการ เพื่อจัดทําแผน<br />

กลยุทธฯ 4 ป<br />

(2556 – 2559 ) และ<br />

แผนปฏิบัติการรายป<br />

(2556)<br />

• จัดทําเอกสารและ<br />

ขออนุมัติแผนกลยุทธฯ<br />

4 ป และแผนปฏิบัติการ<br />

รายป<br />

• เผยแพรแผนกลยุทธฯ<br />

ประชาสัมพันธผาน<br />

ชองทางตางๆ<br />

• กํากับ ติดตามผลการ<br />

ดําเนินงาน<br />

• สรุปบทเรียนและ<br />

ขอเสนอแนะเพื่อ<br />

พัฒนางาน<br />

แผนภาพที่ 5 กรอบระยะเวลา ขั้นตอน และกระบวนการวางแผนกลยุทธฯ ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

รายละเอียดขั้นตอน/กระบวนการวางแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา โดยสรุปมีดังนี้<br />

ขั้นตอนที่ 1 : วางแผนขั้นตอนการดําเนินงานอยางเปนระบบ เพื่อจัดทําแผนกลยุทธการบริหาร -<br />

ทรัพยากรบุคคล ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลไดติดตามประเมินผลลัพธตามเปาหมาย<br />

ของแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555 พรอมกับผลสรุปบทเรียน<br />

จากการดําเนินการตามแผน เพื่อรวบรวม วิเคราะหปญหา และหาแนวทางในการพัฒนางานดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลใหเปนไปตามกรอบมาตรฐานความสําเร็จ <strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong><br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

19


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ขั้นตอนที่ 2 : ทบทวนและวิเคราะหขอมูลการจัดทําแผนกลยุทธฯ ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ดําเนินการทบทวนและวิเคราะหขอมูลการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เกี่ยวของ เชน การพัฒนา<br />

คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของสํานักงาน ก.พ.ร. แผนพัฒนายุทธศาสตรขาราชการพลเรือน ของ<br />

สํานักงาน ก.พ. และกรอบมาตรฐานความสําเร็จดานการบริหารทรัพยากรบุคคล 5 มิติ 17 ปจจัย และ<br />

ความคาดหวังของผูมีสวนไดเสียที่เกี่ยวของกับการบริหารทรัพยากรบุคคลภายในสํานักงานฯ ไดแก<br />

ผูบริหารระดับสูง ผูประกอบการ และเจาหนาที่ภายในสํานักงานฯ ทบทวนจุดออน-จุดแข็ง-โอกาส-<br />

ภัยคุกคามดานการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อหากลยุทธในการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคลได<br />

อยางเที่ยงตรง มีการประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556 – 2559) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธ<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล มีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการแนวคิดการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) เกิดการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และนําความรูที่ไดรับ มาประยุกตใชและดําเนินการ<br />

จัดทําแผนกลยุทธ การบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่สอดคลองกับ<br />

ยุทธศาสตรของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

ขั้นตอนที่ 3 : กําหนดเปาประสงค ตัวชี้วัด แผนงาน/โครงการ เพื่อสนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคลและสอดคลองกับนโยบายยุทธศาสตรแผนบริหารราชการของสวนราชการ<br />

นําขอมูลที่ไดจากการดําเนินการตามขั้นตอนที่ 2 มาพิจารณารวมกับทิศทาง นโยบาย และ<br />

ยุทธศาสตรดานการบริหารทรัพยากรบุคคลใหสอดคลองและสนับสนุนตอการบรรลุยุทธศาสตรของ<br />

สํานักงานฯ โดยกําหนดเปาประสงค หาปจจัยที่จะทําใหประเด็นยุทธศาสตรดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

บรรลุผล สําหรับการกําหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (KPIs) ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล ดําเนินการ<br />

โดยระบุสิ่งที่บงชี้วาเปาประสงคเชิงกลยุทธฯ นั้น ประสบความสําเร็จมากนอยเพียงใด พรอมทั้งกําหนด<br />

คาเปาหมาย ตัวชี้วัด ผูรับผิดชอบ และ/หรืองบประมาณสําหรับติดตามประเมินผลการดําเนินงาน<br />

ขั้นตอนที่ 4 : การจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ที่มีรายละเอียดขอมูลครบถวนสมบูรณและแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคลประจําป<br />

งบประมาณ พ.ศ. 2556 พรอมกับเผยแพรประชาสัมพันธ<br />

รวบรวมขอมูลที่ไดจากการดําเนินงานในขั้นตอนที่ 1-3 มาทบทวน พรอมกับจัดทํารายละเอียด<br />

ตามแบบฟอรมการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559) และ<br />

กําหนดแผนงาน/โครงการรองรับเพื่อใหบรรลุเปาหมายที่กําหนดไวในแตละปพรอมกับจัดทําแผนปฏิบัติการ-<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2556 เพื่อใหสามารถนําไปปฏิบัติใหเกิดผล<br />

อยางเปนรูปธรรม<br />

ขั้นตอนที่ 5 : กํากับ ติดตามประเมินผลแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. 2556<br />

ดําเนินการกํากับติดตามผลการดําเนินงานรายไตรมาส ประเมินผลลัพธตามเปาหมายของ<br />

แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลรายป และประเมินผลภาพรวมราย 2 ป (พ.ศ. 2557 และ<br />

พ.ศ. 2559) โดยเปรียบเทียบคาผลลัพธกับคาเปาหมายตามตัวชี้วัดที่กําหนด และสรุปบทเรียนจาก<br />

การปฏิบัติไปสูการปรับปรุงงานอยางตอเนื่องตอไป<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

20


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ทั้งนี้ การดําเนินการทั้ง 5 ขั้นตอน ดําเนินงานในรูปแบบของคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธ<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> scorecard) ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งประกอบดวย<br />

ผูแทนจากทุกสํานัก/กอง/กลุม โดยมีรองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาเปนประธานคณะทํางาน<br />

จัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ประเมินและ<br />

รายงาน<br />

ติดตาม<br />

ประเมินผล/<br />

พัฒนาตอเนื่อง<br />

(Check &<br />

Action)<br />

กรอบมาตรฐาน<br />

(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>)<br />

5 มิติ 17 ปจจัย<br />

ปฏิบัติการ<br />

ตามแผน<br />

(Do)<br />

วางแผน<br />

กลยุทธ/<br />

แผนปฏิบัติการ<br />

(Plan)<br />

แผนภาพที่ 6 แสดงขั้นตอนการดําเนินการของระบบ <strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong><br />

คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ดําเนินการภายใตกรอบแนวคิดตาม<br />

กรอบมาตรฐาน (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) 5 มิติ 17 ปจจัย กลาวคือ “รู ตีความไดตามกิจกรรม <strong>HR</strong> เขาใจเทคนิค<br />

วิธีการทํา” นํามาวางแผนกลยุทธ/แผนปฏิบัติการ (Plan) รวมกันปฏิบัติการตามแผน (Do) มีการติดตาม<br />

ประเมินผล/พัฒนาตอเนื่อง (Check & Action) โดยมีคณะกรรมการ/คณะทํางานที่เกี่ยวของ รายละเอียด<br />

ตามตารางที่ 2<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

21


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ตาราง 2 แสดงรายชื่อหนวยงาน/คณะทํางานการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เกี่ยวของ<br />

รายชื่อหนวยงาน/คณะทํางานการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลที่เกี่ยวของมีดังนี้<br />

1 คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> scorecard) ของสํานักงาน-<br />

คณะกรรมการอาหารและยา<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 407/2555 สั่ง ณ วันที่ 11 ต.ค. 55)<br />

2 คณะกรรมการพัฒนากรอบการสั่งสมประสบการณและเสนทางความกาวหนาอาชีพรายบุคคลของ<br />

ขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 279/2555 สั่ง ณ วันที่ 3 ก.ค. 55)<br />

3 คณะกรรมการจัดทําแผนเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 248/2555 สั่ง ณ วันที่ 5 มิ.ย. 55)<br />

4 คณะทํางานจัดทําคําบรรยายลักษณะงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 19/2553 สั่ง ณ วันที่ 18 ม.ค.53)<br />

5 คณะทํางานวางแผนอัตรากําลังของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 161/2554 สั่ง ณ วันที่ 19 พ.ค.54)<br />

6 คณะทํางานจัดทําแผนสรางความสรางผาสุก และความพึงพอใจของบุคลากรสํานักงานคณะกรรมการ-<br />

อาหารและยา<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 152/2555 สั่ง ณ วันที่ 18 เม.ย. 55)<br />

7 คณะกรรมการประสานราชการใสสะอาด (เพิ่มเติม)<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 656/2548 สั่ง ณ วันที่ 11 พ.ย.48)<br />

8 คณะทํางานประสานการดําเนินงานการแบงสวนราชการภายในของสํานักงานคณะกรรมการอาหาร-<br />

และยา คําสั่งที่ 1/2555<br />

(หมายเหตุ : เปนคําสั่งของคณะทํางานประสานการดําเนินงานการแบงสวนราชการ)<br />

9 คณะทํางานวางระบบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการพลเรือนสามัญ<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 214/2554 สั่ง ณ วันที่ 5 ก.ค.54)<br />

10 คณะทํางานจัดทํามาตรฐานความโปรงใสของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 453/2555 สั่ง ณ วันที่ 12 พ.ย.55)<br />

11 คณะทํางานจัดทําวัฒนธรรมองคกร จรรยาขาราชการและลูกจางของสํานักงานคณะกรรมการอาหาร-<br />

และยา<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 446/2555 สั่ง ณ วันที่ 7 พ.ย.55)<br />

12 คณะกรรมการคัดเลือกคนดีศรี อย. และคนดีศรีสาธารณสุข<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 204/2554 สั่ง ณ วันที่ 23 มิ.ย.54)<br />

13 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(กลุมพัฒนาระบบราชการ อย.)<br />

14 กองแผนงานและวิชาการ กลุมวิชาการและวิเทศสัมพันธ<br />

15 สํานักงานเลขานุการกรม ฝายการเจาหนาที่ และฝายบริหาร<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

22


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

แนวทางการติดตามและประเมินผล<br />

การกํากับ ติดตามและประเมินผลแผนปฏิบัติการประจําป เปนกิจกรรมสําคัญที่มุงรวบรวมขอมูล<br />

การดําเนินการ และวิเคราะหขอมูลทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ เพื่อเสนอใหคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธ<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล ไดทราบการดําเนินงานในแผนงาน, โครงการหรือกิจกรรมตางๆ เปนระยะๆ<br />

ซึ่งการกําหนดแนวทางการติดตามและประเมินผลที่ชัดเจนเปนระบบ ยอมเปนการประกันถึงประสิทธิภาพ<br />

และประสิทธิผลของการนําแผนไปสูการปฏิบัติ ดังนั้น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงเห็นควร<br />

กําหนดแนวทางการติดตามและประเมินผล โดยมีวัตถุประสงคดังนี้<br />

เพื่อติดตามความกาวหนาและความเปนไปไดของผลสําเร็จของการดําเนินการตามแผนงาน/<br />

โครงการ/กิจกรรม<br />

เพื่อนําขอมูลที่ไดรับมาใชประโยชนในการวิเคราะหขอมูล ทราบถึงปญหาและอุปสรรคที่ตอง<br />

แกไข ปรับปรุงตอไป<br />

เพื่อพัฒนาระบบ/วิธีการ/กระบวนการติดตามประเมินผลใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น<br />

เพื่อรายงานสถานการณปจจุบันที่ดําเนินการอยูใหผูเกี่ยวของไดรับทราบ (คณะทํางาน<br />

การจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ขาราชการ ผูบังคับบัญชา และผูบริหาร)<br />

6.1 การกํากับติดตามการดําเนินงาน<br />

บทที่ 6<br />

1) ผูรับผิดชอบหลักของกิจกรรม/แผนงาน/โครงการ รายงานผลการดําเนินงานตามแบบรายงานผล<br />

การดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) รายไตรมาสมายัง -<br />

กองแผนงานและวิชาการในรอบ 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน และ 12 เดือน พรอมกับระบุปญหา และ<br />

อุปสรรคในการดําเนินงาน และสงรายงานผลมายังกองแผนงานและวิชาการตามแบบรายงานผลการ<br />

ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ……….. ที่กําหนด เชน ในปงบประมาณ พ.ศ. 2556 ใหสงผลการดําเนินงานทุก ๆ วันที่ 4 ของ<br />

เดือน ม.ค., เม.ย., ก.ค. และ ก.ย. 56 เปนตน<br />

รายละเอียด ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4<br />

การกํากับติดตามรอบ 3 เดือน*<br />

การกํากับติดตามรอบ 6 เดือน*<br />

การกํากับติดตามรอบ 9 เดือน<br />

การกํากับติดตามรอบ 12 เดือน<br />

หมายเหตุ * ในไตรมาสที่ 1 และ 2 อาจมีการกํากับติดตามไปในคราวเดียวกันชวงปลายไตรมาสที่ 2<br />

2) กองแผนงานและวิชาการ สรุปเสนอที่ประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล ทุก 3 เดือนเพื่อทราบ และใหความเห็น/ขอเสนอแนะ<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

23


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

6.2 การประเมินผล<br />

1) ใหมีการประเมินผล 3 ระยะ คือ<br />

1.1) ระยะรอบ 6 เดือน ใหสรุปผลการดําเนินงาน 6 เดือนแรก (ก.ย.55-มี.ค.56) ปญหา<br />

และอุปสรรคที่เกิดขึ้น เพื่อใหมีการแกไข/ปรับปรุง การดําเนินงานตลอดจนแผนงาน/<br />

โครงการ<br />

1.2) ระยะรอบ 9 เดือน ใหสรุปผลการดําเนินงาน 9 เดือน (ก.ย.55-มิ.ย.56) ปญหาและ<br />

อุปสรรคที่เกิดขึ้น เพื่อใหมีการแกไข/ปรับปรุง การดําเนินงานตลอดจนแผนงาน/<br />

โครงการ<br />

1.3) ระยะสิ้นสุดแผนงาน/โครงการ (ตามปงบประมาณ)<br />

สรุปผลการดําเนินงานทั้งโครงการในรอบ 11 เดือน<br />

(นับผลงานสิ้นสุดวันที่ 30 ส.ค. 56) พรอมกับปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น<br />

ประเมินผลตัวชี้วัดในแตละเปาประสงค โดยอาศัยผลการดําเนินงานของโครงการ<br />

แบบสํารวจหรือแบบเก็บขอมูล ตามแตลักษณะของตัวชี้วัด ดังกลาว<br />

รายละเอียด ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4<br />

การประเมินผลรอบ 6 เดือน<br />

การประเมินผลรอบ 9 เดือน<br />

การประเมินผลรอบ 11/12 เดือน<br />

(ระยะสิ้นสุดแผนงาน/โครงการ<br />

ตามปงบประมาณ)<br />

2) จัดทํารายงานกํากับติดตามและประเมินผล สรุปเสนอผูบริหาร เพื่อพิจารณาปรับปรุง และ<br />

แกไขระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลในรอบปงบประมาณถัดไป<br />

นิยามศัพท<br />

การติดตาม หมายถึง กระบวนการในการติดตามความกาวหนาของการดําเนินงานเปนระยะๆ วาเปนไปตาม<br />

แผนงานที่กําหนดไวหรือไม พรอมทั้งมีการรายงานปญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น อันอาจทําใหผลงานไมเปนไปตามเปาหมาย<br />

การประเมินผล หมายถึง กระบวนการในการใชดุลพินิจ และคานิยมในการพิจารณาตัดสินคุณคา<br />

ความเหมาะสม ความคุมคา หรือผลสัมฤทธิ์ของเหตุการณ โครงการ หรือสิ่งอื่นใด หลังจากที่ไดมีการเปรียบเทียบผลที่วัดได<br />

โดยวิธีการใด ๆ ก็ตามกับเปาหมาย วัตถุประสงคหรือเกณฑที่กําหนดไว<br />

การติดตามและประเมินผล หมายถึง กระบวนการวัดและติดตามผลการปฏิบัติงานของแผนงานหรือโครงการ<br />

ตางๆ เปนระยะๆ อยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ เพื่อประเมินวาสามารถปฏิบัติงานหรือโครงการใหเปนไปตามพันธกิจ<br />

เปาหมายและวัตถุประสงคที่ตั้งไวหรือไม โดยมีการรายงานผลแกผูที่เกี่ยวของดวย<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

24


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ตัวอยางแบบรายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>)<br />

แบบรายงานผล<br />

การดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>)<br />

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ………..<br />

ไตรมาสที่ □ 1 (1 ต.ค.- 31 ธ.ค. ….) □ 2 (1 ม.ค. – 31 มี.ค. ….) □ 3 (1 เม.ย.- 30 มิ.ย. ….) □ 4 (1 ก.ค.-30 ก.ย. ….)<br />

ชื่อ แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม…….……...................................................................................……….…….<br />

เปนแผนงาน/โครงการลําดับที่ …..…..ตัวชี้วัดลําดับที่…….......……ของแผนปฏิบัติการฯ ป พ.ศ. ….......<br />

1. ขั้นตอนการดําเนินงานที่ไดดําเนินการแลว (ระบุกิจกรรม/ขั้นตอนการดําเนินการ)<br />

............................................................................................................................................................<br />

..........................................................................................................................................................................<br />

..........................................................................................................................................................................<br />

......................................................................<br />

2. ผลการดําเนินงาน (พรอมระบุวัน เดือน ปที่ดําเนินงาน)<br />

............................................................................................................................................................<br />

..........................................................................................................................................................................<br />

..........................................................................................................................................................................<br />

..........................................................................................................................................................................<br />

..............................................................................................<br />

ใชงบประมาณ จํานวน ……………….…………………บาท<br />

คิดเปนความสําเร็จระดับที่ 1 / 2 / 3 / 4 / 5 ของแผนงาน/โครงการภายใตแผนปฏิบัติการฯ พ.ศ........<br />

ผลการดําเนินงานเปนไปตามตัวชี้วัด<br />

ผลการดําเนินงานไมเปนไปตามตัวชี้วัด<br />

3. ปญหาและอุปสรรคที่พบที่ทําใหผลการดําเนินงานไมเปนไปตามเปาหมาย (โปรดระบุ)<br />

............................................................................................................................................................<br />

..........................................................................................................................................................................<br />

..........................................................................................................................................................................<br />

.....................................................................<br />

4. ขอเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนาการดําเนินงาน<br />

…………………………………………………………………………………………………………………………………………<br />

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………<br />

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………<br />

ลงชื่อ ……………………………………..............<br />

ผูรายงาน<br />

วันที่……………………………………………….<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

25


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

เอกสารอางอิง<br />

1 อางอิงจาก “ขอมูลเผยแพรเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ระบบมาตรฐานวิชาชีพบริหารทรัพยากรบุคคลภาครัฐ<br />

(<strong>HR</strong> Professional) โดยสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน.”. วันที่คนขอมูล 25 พฤศจิกายน 2555,<br />

จาก สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน. เว็ปไซด:<br />

http://www.ocsc.go.th/ocsc/th/index.phpoption=com_content&view=article&id=282&Itemid=265<br />

2 สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. แผนยุทธศาสตรการพัฒนางานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพในชวง<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559). สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง<br />

สาธารณสุข. 2555.<br />

3 คานิยมสรางสรรคสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (PROTECT)<br />

4 ขอมูลทิศทางองคกร ป 2554-2557 จากแผนยุทธศาสตร สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา พ.ศ. 2554-2557<br />

5 อางอิงจาก ขอมูลสํานักงานขาราชการพลเรือน (สํานักงาน กพ.) เรื่อง การตีความเกี่ยวกับกรอบมาตรฐานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ใชประกอบการสัมมนาระดมความคิดเห็น เรื่อง การพัฒนาสมรรถนะการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ของสวนราชการและจังหวัด เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2555<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

26


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

บทที่ 7<br />

รายละเอียดแผน<br />

7.1 แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ระยะ 4 ป (พ.ศ.2556-2559)<br />

7.2 แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. 2556<br />

7.3 คําอธิบายตัวชี้วัด<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

27


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

7.1<br />

แผนกลยุทธการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล ระยะ 4 ป<br />

(พ.ศ.2556-2559)<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

28


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

ขอมูล<br />

พื้นฐาน ป ๕๕<br />

เปาหมายในแตละปงบประมาณ<br />

๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

มิติที่ ๑ ความสอดคลองเชิงยุทธศาสตร<br />

๑. มีกลยุทธการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลสอดคลอง<br />

และสนับสนุนยุทธศาสตร อย.<br />

๑. การจัดทําและทบทวนแผนกลยุทธ<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา<br />

(๒ ตัวชี้วัด)<br />

(๑) ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรและเปาหมาย ของสํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา รวมทั้งเปาหมายของ กพ. แผนยุทธศาสตรพัฒนาขาราชการ<br />

พลเรือน และมีการทบทวนทุกป<br />

มีแผนกลยุทธ<br />

ระยะ ๔ ป<br />

(๕๔-๕๗)<br />

๕ ๕<br />

+<br />

ประเมินผล<br />

ครึ่งแผน<br />

๕ ๕<br />

+<br />

ประเมินผล<br />

แผน ๔ ป<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

(ภวัญญา,<br />

จุฑาทิพ)<br />

(๒) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนปฎิบัติการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. .......(รายป)<br />

ผลป ๕๕ ๕ ๕ ๕ ๕<br />

๒. มีโครงสราง<br />

และกรอบอัตรากําลัง<br />

ที่เหมาะสมและสอดคลอง<br />

กับภารกิจ<br />

๒. โครงการวางแผนและบริหารกําลังคน (๓) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนกําลังคนที่ระบุ "ขนาดและ<br />

สมรรถนะ" ที่เหมาะสมตอการบรรลุภารกิจขององคกรและทบทวนทุกป<br />

ดําเนินการแลว<br />

อยูระหวาง<br />

ขั้นตอนเสนอ<br />

อกพ.กระทรวง<br />

รออนุมัติจาก<br />

อกพ.<br />

กระทรวง<br />

๕ ๕ ๕ สล. (นพรดา)<br />

๓. โครงการทบทวนคําบรรยายลักษณะงาน<br />

(Job Description: JD)<br />

(๔) รอยละความสําเร็จการปรับปรุงคําบรรยายลักษณะงาน<br />

ครบทุกตําแหนงงานในองคกรและมีการทบทวนปเวนป<br />

ประกาศใชตั้งแตป<br />

๕๔<br />

ทบทวน JD<br />

ตาม<br />

โครงสราง<br />

ภายในครบ<br />

ทุกตําแหนง<br />

งานใน<br />

ปงบประมาณ<br />

๕๖<br />

- - - สล. (นพรดา)<br />

๓. สามารถรักษาจูงใจ<br />

บุคลากรที่มีศักยภาพสูง<br />

ไวใน อย.<br />

๔. โครงการขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง<br />

(HiPPS) สํานักงานคณะกรรมการอาหาร-<br />

และยา<br />

(๕) ระดับความสําเร็จของการทําแผน/แนวทางการพัฒนาระบบขาราชการ<br />

ผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS) ในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และ<br />

ทบทวนทุกป<br />

ทบทวนแผน<br />

พัฒนา HiPPS รุน<br />

๓-ปจจุบัน<br />

๕ ๕ ๕ ๕ กอง ช. (ฝ.๕)/<br />

คณะทํางานฯ<br />

กรอบ EAF<br />

๔. มีเสนทางความกาวหนา<br />

ของสายอาชีพที่ชัดเจน<br />

๕. โครงการจัดทําเสนทางความกาวหนา<br />

ในสายอาชีพ (Career path)<br />

(๖) จํานวนสายงานที่จัดทําเสนทางความกาวหนาในอาชีพของขาราชการ อย.<br />

(ปจจุบันภายในสํานักงานฯ ประกอบดวย ๑๘ สายงาน โดยในป ๕๓-๕๕ มี<br />

การดําเนินการไปแลว ๒ สายงานหลัก คือ<br />

(๑) เภสัชกร และ (๒ )นักวิชาการอาหารและยา)<br />

๒ สายงานหลัก<br />

(อยูระหวาง<br />

ปรับปรุง)<br />

๑๖<br />

สายงาน<br />

นํา<br />

ไปใช<br />

+<br />

ติดตาม<br />

ประเมินผล<br />

นํา<br />

ไปใช<br />

ทบทวน<br />

สล.<br />

(วรินทรพัชร) /<br />

คณะทํางานฯ


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

๕. การวางแผนสืบทอด<br />

ตําแหนง (Succession Plan)<br />

ในตําแหนงสําคัญของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการ-<br />

อาหารและยา<br />

๖. โครงการวางแผนสืบทอดตําแหนง<br />

(Succession Plan) ในตําแหนงสําคัญ<br />

ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(หมายเหตุ : โครงการนี้ตอบโจทย ๒ มิติ คือ<br />

มิติที่ ๑ และมิติที่ ๓)<br />

(๗) รายงานการจัดทําแผนสืบทอดตําแหนง (Succession Plan) ของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา : ระดับตําแหนงผูเชี่ยวชาญ และ<br />

ผูทรงคุณวุฒิ<br />

ขอมูล<br />

พื้นฐาน ป ๕๕<br />

N/A<br />

เปาหมายในแตละปงบประมาณ<br />

๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙<br />

ศึกษา<br />

แนวทางและ<br />

เกณฑ<br />

สืบทอด<br />

ตําแหนง<br />

จดทําแนว-<br />

ทางการขับ-<br />

เคลื่อนดําเนิน<br />

การจัดทํา<br />

แผนสืบทอด<br />

ตําแหนง<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

- - หัวหนาฝายการ<br />

เจาหนาที่<br />

รับเรื่องเพื่อ<br />

ประสานตอไป<br />

๖. การพัฒนาผูบริหาร<br />

ทุกระดับ<br />

๗. โครงการพัฒนาภาวะผูนํา แบงเปน ๒<br />

หลักสูตร คือ<br />

๗.๑) โครงการภาวะผูนํา (Leadership)<br />

๗.๒) ผูนําการเปลี่ยนแปลง<br />

(Leading Change)<br />

(๘) จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมายที่ไดรับการพัฒนาเพื่อสรางภาวะผูนํา<br />

อยางตอเนื่อง (เนนเจาหนาที่ทุกระดับ)<br />

ป ๕๔ หลักสูตร<br />

Cresitive<br />

Thinking<br />

๑ รุน/๒๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

กอง ช. (ฝ.๕)


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

๗. มีการปรับปรุง<br />

กระบวนงานดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

ใหมีประสิทธิภาพ<br />

๘. แผนงานการบริหารมาตรฐานงานดาน<br />

บุคคล* ใหระบบงานมีความรวดเร็ว<br />

(*หมายถึง การพัฒนา/ปรับปรุงคูมือ<br />

ปฏิบัติงาน (SOP) ใหเปนไปตามระบบ<br />

คุณภาพของ อย. (QS) ซึ่งที่ผานมามี ๒<br />

กระบวนการ ไดแก P-S๓-๙ เครื่องราชยฯ<br />

และ P-S๓-๗ ประเมินบุคคลและผลงานเพื่อ<br />

เลื่อนตําแหนง ชก.-ชพ.)<br />

(๙) ระดับความสําเร็จของ SOP ที่จัดทําตามระบบคุณภาพของ อย. (QS) /<br />

ปรับปรุงเพื่อใหทันตอความตองการของหนวยงานและมีความถูกตอง<br />

ตามกฏระเบียบที่เกี่ยวของ<br />

ขอมูล<br />

พื้นฐาน ป ๕๕<br />

๒ กระบวนการ<br />

P-S๓-๙ เครื่อง<br />

ราชยฯ และ P-S<br />

๓-๗ ประเมิน<br />

บุคคลและผลงาน<br />

เพื่อเลื่อนตําแหนง<br />

ชก.-ชพ.<br />

เปาหมายในแตละปงบประมาณ<br />

๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

๕ ๕ ๕ ๕ ฝาย จ.<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

SOP (นพรดา/<br />

ไทรทอง)<br />

๘. พัฒนาหนวยงานและ<br />

บุคลากรดาน <strong>HR</strong> ใหมีความ<br />

เขมแข็ง<br />

๙. โครงการพัฒนาความรูและทักษะดาน <strong>HR</strong><br />

ประกอบดวย ๒ หลักสูตร ดังนี้<br />

๙.๑) หลักสูตร coaching<br />

๙.๒) หลักสูตรดาน Human Resource<br />

Development (<strong>HR</strong>D)<br />

(๑๐) จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมาย*ที่ไดรับการพัฒนา (*หัวหนางาน)<br />

(๑๑) จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมาย**ที่ไดรับการพัฒนา<br />

(**หน.กลุมพัฒนาระบบและฝายการเจาหนาที่)<br />

(ป ๕๖ MOU กับ NIDA หรือสถาบันชั้นนําดาน <strong>HR</strong> ป ๕๗-๕๙<br />

กลุมเปาหมายไดรับการฝกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวของกับงาน <strong>HR</strong>D)<br />

อบรมหลักสูตร<br />

coaching for<br />

Improvement<br />

N/A<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

Plan<br />

(MOU กับ<br />

<strong>HR</strong>D NIDA)<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๕ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๕ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๕ คน<br />

<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

๙. มีระบบการประกัน<br />

คุณภาพการฝกอบรม/<br />

การพัฒนาบุคคลากร<br />

๑๐. โครงการพัฒนาและจัดทําหลักเกณฑ<br />

ประกันคุณภาพการฝกอบรมและการประเมิน<br />

ประสิทธิผลความคุมคาการฝกอบรม<br />

(๑๒) ระดับความสําเร็จของการพัฒนาและจัดทําหลักเกณฑประกันคุณภาพ<br />

การฝกอบรมและการประเมินประสิทธิผลความคุมคาการฝกอบรม<br />

รอยละ ๑๐๐<br />

(ทบทวน)<br />

๕ ๕ ๕ ๕ กอง ช. (ฝ.๕)/<br />

ทุกสํานัก/กอง/<br />

กลุม<br />

๑๐. มีระบบการควบคุม<br />

ภายในดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลที่สามารถ<br />

ตรวจสอบไดเพื่อลดความเสี่ยง<br />

๑๑. โครงการการจัดทํา SOP ของ<br />

กระบวนการที่สําคัญและ/หรือมีความเสี่ยงตอ<br />

การถูกฟองรองของงานบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

(หมายเหตุ : โครงการนี้ตอบโจทย ๒ มิติ<br />

คือ มิติที่ ๒ และมิติที่ ๔)<br />

(๑๓) ระดับความสําเร็จของการควบคุมภายในดานการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคล เพื่อลดความเสี่ยงในการถูกฟองรองของงานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

N/A ๕ ๕ ๕ ๕ ฝาย จ.<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

SOP (นพรดา/<br />

ไทรทอง)<br />

๑๑. มีระบบการพัฒนา<br />

บุคลากร(ตาม Competency)<br />

(เนนการเปลี่ยนแปลง)<br />

๑๒. โครงการพัฒนาและทบทวน<br />

Competency<br />

(๑๔) ระดับความสําเร็จของการพัฒนาและทบทวนสมรรถนะของบุคลากร อย. รอยละ ๑๐๐ ๑ ๒ หรือ ๓ ๔ หรือ ๕ นําสมรรถนะ<br />

ไปใชเพื่อการ<br />

พัฒนา<br />

กอง ช. (ฝ.๕) /<br />

สล./ทุกสํานัก<br />

กอง กลุม


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

๑๑. มีระบบการพัฒนา<br />

บุคลากร(ตาม Competency)<br />

(เนนการเปลี่ยนแปลง)<br />

[ตอ]<br />

๑๓. โครงการจัดทํา Training and<br />

Development Road Map<br />

ขอมูล<br />

พื้นฐาน ป ๕๕<br />

เปาหมายในแตละปงบประมาณ<br />

๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

(๑๕) ระดับความสําเร็จของการจัดทํา Training Road Map N/A Plan ๒ ๓ ๔ หรือ ๕ กอง ช. (ฝ.๕)<br />

๑๔. โครงการพัฒนาบุคลากร ตามแผน IDP (๑๖) รอยละของขาราชการที่ไดรับการพัฒนาสมรรถนะตามแผนพัฒนา<br />

ขีดสมรรถนะของบุคลากร<br />

๑๕. โครงการพัฒนาความรูดานการบริหาร<br />

การเปลี่ยนแปลง ;<br />

หลักสูตร Change Management<br />

รอยละ<br />

๘๖<br />

รอยละ<br />

๘๖<br />

(๑๗) รอยละความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร N/A รอยละ<br />

๗๐<br />

(๑๘) จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมาย(หัวหนากลุมงานของสํานัก/กอง/กลุม)<br />

ที่ไดรับการพัฒนาดานการบริหารการเปลี่ยนแปลง<br />

N/A ๑ รุน/<br />

๒๕ คน<br />

รอยละ<br />

๘๖<br />

รอยละ<br />

๗๒<br />

๑ รุน/<br />

๒๕ คน<br />

รอยละ<br />

๘๖<br />

รอยละ<br />

๗๔<br />

๑ รุน/<br />

๒๕ คน<br />

รอยละ<br />

๘๖<br />

รอยละ<br />

๗๖<br />

๑ รุน/<br />

๒๕ คน<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

/ทุกสํานัก กอง<br />

กลุม<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

/ทุกสํานัก กอง<br />

กลุม<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

๑๒. มีระบบการจัดการ<br />

ฐานขอมูลดานทรัพยากร<br />

บุคคลที่มีประสิทธิภาพ<br />

๑๖. โครงการพัฒนาภาวะผูนํา แบงเปน ๒<br />

หลักสูตร คือ<br />

๑๖.๑) โครงการภาวะผูนํา (Leadership)<br />

๑๖.๒) ผูนําการเปลี่ยนแปลง<br />

(Leading Change)<br />

๑๗. โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูล<br />

ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล (ตามDPIS)<br />

๑๘. โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />

ดานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

(๑๙) จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมายที่ไดรับการพัฒนาเพื่อสรางภาวะผูนํา<br />

อยางตอเนื่อง<br />

(๒๐) รอยละความถูกตองของขอมูลรายบุคคลในระบบ DPIS ที่สามารถ<br />

นําไปใชประโยชนได<br />

ป ๕๔<br />

(๑ รุน/๒๐ คน)<br />

๑ รุน/<br />

๒๐ คน<br />

N/A<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

รอยละ<br />

๘๐<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

รอยละ<br />

๘๕<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

รอยละ<br />

๙๐<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

รอยละ<br />

๙๕<br />

<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

สล. (ไทรทอง)<br />

(๒๑) ระดับความสําเร็จของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทรัพยากรบุคคล N/A ๕ ๕ ๕ ๕ ศูนย IT<br />

(แกวตา)<br />

ซ้ํากับขอ ๙. มีระบบการ<br />

ประกันคุณภาพการฝกอบรม/<br />

การพัฒนาบุคคลากร<br />

๑๙. โครงการประเมินประสิทธิผลและ<br />

ความคุมคาของการฝกอบรมโดยการติดตาม<br />

และประเมินผลผูผานการอบรมหลังฝกอบรม<br />

๓ เดือน<br />

(๒๒) รอยละของผูเขาอบรม “ผานตามเกณฑ" การประเมินผลหลังการ<br />

ฝกอบรม ๓ เดือน<br />

รอยละ ๗๐ ขึ้นไป รอยละ<br />

๗๐ ขึ้นไป<br />

รอยละ<br />

๗๐ ขึ้นไป<br />

รอยละ<br />

๗๐ ขึ้นไป<br />

รอยละ<br />

๗๐ ขึ้นไป<br />

กอง ช. (ฝ.๕)


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

มิติที่ ๓ ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ซ้ํากับขอ ๓. สามารถรักษาจูง<br />

ใจบุคลากรที่มีศักยภาพสูงไว<br />

ใน อย.<br />

๒๐. โครงการวางแผนสืบทอดตําแหนง<br />

(Succession Plan) ในตําแหนงสําคัญของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(หมายเหตุ : โครงการนี้ตอบโจทย ๒ มิติ คือ<br />

มิติที่ ๑ และมิติที่ ๓)<br />

(๒๓) รายงานการจัดทําแผนสืบทอดตําแหนง (Succession Plan) ของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา : ระดับตําแหนงผูเชี่ยวชาญ และ<br />

ผูทรงคุณวุฒิ<br />

ขอมูล<br />

พื้นฐาน ป ๕๕<br />

N/A<br />

เปาหมายในแตละปงบประมาณ<br />

๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙<br />

ศึกษา<br />

แนวทางและ<br />

เกณฑสืบ<br />

ทอดตําแหนง<br />

จดทําแนว<br />

ทางการขับ<br />

เคลื่อนดําเนิน<br />

การจัดทํา<br />

แผนสืบทอด<br />

ตําแหนง<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

- - หัวหนาฝายการ<br />

เจาหนาที่<br />

รับเรื่องไป<br />

ประสานตอไป<br />

๑๓. ความตองการของ<br />

หัวหนากลุมงาน และ<br />

ผูปฏิบัติงาน ที่มีตองาน<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล<br />

๒๑. โครงการสํารวจความตองการ/<br />

ความพึงพอใจของหัวหนากลุมงาน และ<br />

ผูปฏิบัติงานที่มีตองานบริหารทรัพยากร-<br />

บุคคลดาน <strong>HR</strong>M<br />

(๒๔) รอยละความพึงพอใจของหัวหนากลุมงาน และผูปฏิบัติงานที่มีตองาน<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล ดาน <strong>HR</strong>M<br />

มีการสํารวจ<br />

ในป ๕๕ โดย<br />

ก.พ.ร. เปน<br />

ผูสํารวจให สล.<br />

รอยละ<br />

๖๐<br />

รอยละ<br />

๖๓<br />

รอยละ<br />

๖๖<br />

รอยละ<br />

๖๙<br />

ฝาย จ.(<strong>HR</strong>M)<br />

๑๔. มีระบบจัดการความรู<br />

และสงเสริมใหเกิดบรรยากาศ<br />

ของการเรียนรู<br />

๒๒. โครงการสงเสริมและพัฒนาการจัดการ<br />

ความรู ประจําปงบประมาณ พ.ศ........<br />

(๒ ตัวชี้วัด)<br />

(๒๕) ระดับความสําเร็จในการจัดการความรูของสํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา<br />

๕<br />

(๑๖ องคความรู)<br />

๕ ๕ ๕ ๕ กอง ช. (ฝ.๕)<br />

(ศรินยา)/<br />

คณะทํางาน KM/<br />

ทุกสํานัก กอง<br />

(๒๖) รอยละความพึงพอใจในการจัดการความรู ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ......(รายป)<br />

หมายเหตุ : ผูแทน ก.พ.ร. เสนอปรับตัวชี้วัดในเชิงคุณภาพ เปน<br />

ความสามารถของการนําองคความรูไปใช เนื่องจาก KM เปนเรื่องที่เกี่ยวของ<br />

กับประเด็นยุทธศาสตรของกรม ที่ผานมาเปนการนําใชองคความรูอะไรก็ได<br />

ซึ่งไมสามารถนํามาครอบกับประเด็นยุทธศาสตรระดับกรมไดจริง<br />

ในประเด็นนี้คณะทํางานฯ จึงเห็นควร มอบ ก.พ.ร ชวยเขียนและพัฒนา<br />

ตัวชี้วัดนี้ และการวัดผลของการนําองคความรูที่ไดไปใชใหสอดคลองกับยุทธ<br />

ศาสตร<br />

รอยละ ๗๑.๐๙<br />

รอยละ<br />

๗๓<br />

รอยละ<br />

๗๕<br />

รอยละ<br />

๗๗<br />

รอยละ<br />

๗๙<br />

กอง ช.<br />

(ศรินยา)/ก.พ.ร.<br />

(ธนาพนธ)<br />

ดําเนินการ<br />

สํารวจ<br />

๑๕. มีระบบการบริหาร<br />

ผลการปฏิบัติงานที่มีรางวัล<br />

จูงใจสอดคลองตามผลการ<br />

ปฏิบัติงานของบุคลากร<br />

๒๓. โครงการพัฒนาระบบการบริหารผลการ<br />

ปฏิบัติงาน (Performance Management<br />

System: PMS)<br />

(๒๗) ระดับความสําเร็จของการพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน N/A ๕ ๕ ๕ ๕ ฝาย จ./<br />

ก.พ.ร./กอง ช.<br />

(ฝ.๒) และ<br />

คณะทํางาน<br />

ภายใต PM


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

มิติที่ ๔ ความพรอมรับผิดดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

๑๖. สงเสริมคุณธรรมและ<br />

จริยธรรมของบุคลากร<br />

๒๔. กิจกรรมการจัดทําแผนปองกัน<br />

ปราบปรามการทุจริตภาครัฐพรอมทั้งกํากับ<br />

ติดตาม<br />

(๒ ตัวชี้วัด)<br />

(๒๘) ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนปองกันปราบปรามการทุจริต<br />

ภาครัฐ ๔ ป ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

และมีการทบทวนทุกป<br />

(๒๙) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปองกัน<br />

ปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ....... (รายป)<br />

ขอมูล<br />

พื้นฐาน ป ๕๕<br />

เปาหมายในแตละปงบประมาณ<br />

๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙<br />

แผนฯ ระยะ ๔ ป ๕ ๕ ๕ ๕<br />

ผล ป ๕๕ ๕ ๕ ๕ ๕<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

ฝาย จ./คณะ<br />

ทํางานฯ<br />

๒๕. กิจกรรมสงเสริมคานิยม "PROTECT"<br />

และวัฒนธรรมองคกร<br />

(๓๐) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามกิจกรรมสงเสริมคานิยม<br />

"PROTECT" และวัฒนธรรมองคกร<br />

N/A ๕ ๕ ๕ ๕ สล. (นพรดา)<br />

ซ้ํากับขอ ๑๐. มีระบบการ<br />

ควบคุมภายในดานการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ที่สามารถตรวจสอบได<br />

เพื่อลดความเสี่ยง<br />

๒๖. โครงการการจัดทํา SOP ของ<br />

กระบวนการที่สําคัญและ/หรือมีความเสี่ยงตอ<br />

การถูกฟองรองของงานบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

(หมายเหตุ : โครงการนี้ตอบโจทย ๒ มิติ คือ<br />

มิติที่ ๒ และมิติที่ ๔)<br />

(๓๑) ระดับความสําเร็จของการควบคุมภายในดานการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคล เพื่อลดความเสี่ยงในการถูกฟองรองของงานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

N/A ๕ ๕ ๕ ๕ ฝาย จ.<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

SOP (นพรดา/<br />

ไทรทอง)<br />

๑๗. พัฒนาระบบการรับฟง<br />

ความคิดเห็นการจัดการ<br />

ขอรองเรียน รองทุกข<br />

ดานการบริหารทรัพยากร-<br />

บุคคล<br />

๒๗. การจัดทําระบบการรับฟงขอคิดเห็น และ<br />

ระบบการจัดการขอรองเรียนดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

(๒ ตัวชี้วัด)<br />

(๓๒) จัดทําชองทางเผยแพรประเด็นถาม-ตอบรับฟงความคิดเห็น ที่รวมถึง<br />

การนําเสนอกรณีศึกษาที่รวบรวมจากการขอชี้แจงที่ผานมา เชน Webboard<br />

(๓๓) ระดับความสําเร็จของจัดระบบการจัดการขอรองเรียนรองทุกข ดาน<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

N/A ๒<br />

ชองทาง<br />

๓<br />

ชองทาง<br />

๔<br />

ชองทาง<br />

๕<br />

ชองทาง<br />

ฝาย จ./<br />

ทุกสํานัก กอง<br />

กลุม<br />

N/A ๕ ๕ ๕ ๕ สล. /คณะ<br />

ทํางานฯ<br />

๒๘. การประกาศประชาสัมพันธเกณฑ<br />

ระเบียบ ขอบังคับดานการบริหารบุคคล<br />

ที่ครอบคลุม สะดวกและเขาถึงงาย<br />

(๓๔) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการประชาสัมพันธเกณฑ ระเบียบ<br />

ขอบังคับดานการบริหารบุคคลที่ครอบคลุม สะดวกและเขาถึงงาย<br />

N/A ๕ ๕ ๕ ๕ ฝาย จ./<br />

ทุกสํานัก กอง<br />

กลุม


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

ขอมูล<br />

พื้นฐาน ป ๕๕<br />

เปาหมายในแตละปงบประมาณ<br />

๒๕๕๖ ๒๕๕๗ ๒๕๕๘ ๒๕๕๙<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

มิติที่ ๕ คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางาน<br />

๑๘. การปฏิบัติงาน<br />

มีความสมดุลระหวาง<br />

คุณภาพชีวิตและการทํางาน<br />

๒๙. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต<br />

และสรางความผาสุก ความพึงพอใจ<br />

ของบุคลากรในสํานักงานฯ<br />

หมายเหตุ : โครงการสายสัมพันธ อย.<br />

รวมอยูในโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต<br />

(๖ ตัวชี้วัด)<br />

(๓๕) จํานวนผูเขารวมโครงการการพัฒนาความรูเรื่องการพัฒนา<br />

คุณภาพชีวิตเพื่อใหขาราชการมีคุณภาพชีวิตที่ดี<br />

(๓๖) ระดับความสําเร็จของการจัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพ<br />

ชีวิต และทบทวนทุกป<br />

หมายเหตุ : รวมเรื่องแผนสงเสริมสุขอนามัยที่ดี การตรวจสุขภาพประจําป<br />

จํานวนผูเขารับ<br />

การอบรม<br />

๑๐๐<br />

คนตอป<br />

๑๐๐<br />

คนตอป<br />

๑๐๐<br />

คนตอป<br />

๑๐๐<br />

คนตอป<br />

สล.<br />

(หน.ฝายจ.)/<br />

คณะทํางานฯ<br />

รอยละ ๑๐๐ ๕ ๕ ๕ ๕ สล.<br />

(วรินทรพัชร)<br />

/คณะทํางานฯ<br />

(๓๗) ระดับความสําเร็จของการจัดทําระบบยกยองเชิดชูเกียรติขาราชการ-ที่<br />

ดีแลวเสร็จภายในเวลาที่กําหนด เชน คนดีศรี อย. / คนดีศรี สธ. /<br />

ขาราชการพลเรือนดีเดน<br />

รอยละ ๑๐๐ ๕ ๕ ๕ ๕ สล.<br />

(๓๘) รอยละความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานใน อย.<br />

(KPI ๑: รอยละความพึงพอใจของบุคลากรตอการจัดสวัสดิการ<br />

นอกเหนือจากที่กฏหมายกําหนดและ<br />

KPI ๒: รอยละความพึงพอใจของบุคลากรตอนโยบายและรูปแบบการบริหาร<br />

ของสํานักงานฯ ใหนําไปกําหนดในแบบสอบถามความพึงพอใจตอการ<br />

ปฏิบัติงานใน อย.)<br />

ไมมีขอมูลเดิม ๕๐ ๕๕ ๖๐ ๗๐ สล.<br />

(ประเด็นดาน <strong>HR</strong>)<br />

และ ก.พ.ร.<br />

(ภาพรวม)<br />

(๓๙) จํานวนชองทางที่ใหฝายบริหารและบุคลากรผูปฏิบัติงานสื่อสารกันได<br />

อยางสะดวก (ทางการและไมเปนทางการ เชน web board/e-mail/ประชุม<br />

รับฟงความคิดเห็น/การเขาพบผูบริหาร)<br />

๔ ชองทาง ๔ ชองทาง<br />

(สํารวจการ<br />

รับรู<br />

+พึงพอใจ)<br />

๔ ชองทาง<br />

(ปรับปรุง<br />

+พัฒนา)<br />

๔ ชองทาง<br />

(+ ชองทาง<br />

ใหม)<br />

๔ ชองทาง<br />

(+ประเมิน<br />

ชองทาง)<br />

สล./<br />

ศูนย IT<br />

(๔๐) จํานวนโครงการหรือกิจกรรมเพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวาง<br />

ผูบริหารกับบุคลากรผูปฏิบัติงานและระหวางบุคลากร<br />

(เชน งานปใหม, กีฬาสี, Organization Development Grouping)<br />

๒ โครงการ ๒<br />

โครงการ<br />

๒<br />

โครงการ<br />

๒<br />

โครงการ<br />

๒<br />

โครงการ<br />

สล.<br />

(ฝายบริหาร)


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

7.2<br />

แผนปฏิบัติการ<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. 2556<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

36


แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติ<br />

ปจจัย<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

เปาหมาย<br />

๒๕๕๖<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

งบประมาณ<br />

มิติที่ ๑<br />

ความ<br />

สอดคลอง<br />

เชิง<br />

ยุทธศาสตร<br />

๑. นโยบาย แผนงานและ<br />

มาตรฐานดาน <strong>HR</strong> สอดคลอง<br />

กับเปาหมายพันธกิจของสวน<br />

ราชการและชีวิต<br />

๑. มีกลยุทธการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลสอดคลอง<br />

และสนับสนุนยุทธศาสตร อย.<br />

๑. การจัดทําและทบทวนแผนกลยุทธการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา<br />

(๒ ตัวชี้วัด)<br />

(๑) ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลที่<br />

สอดคลองกับยุทธศาสตรและเปาหมาย ของสํานักงานคณะกรรมการอาหาร-<br />

และยา รวมทั้งเปาหมายของ กพ. แผนยุทธศาสตรพัฒนาขาราชการพลเรือน<br />

และมีการทบทวนประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

(๒) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนปฎิบัติการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๕<br />

๕<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

(ภวัญญา,<br />

จุฑาทิพ)<br />

๒. มีการวางแผนและบริหาร<br />

กําลังคน<br />

๒. มีโครงสราง และกรอบ<br />

อัตรากําลังที่เหมาะสมและ<br />

สอดคลองกับภารกิจ<br />

๒. โครงการวางแผนและบริหารกําลังคน<br />

*เงื่อนไขขึ้นอยูกับผลการประชุม อกพ.<br />

กระทรวงหากผลเปนประการใดจะตอง<br />

ดําเนินการไปตามนั้น<br />

(๓) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนกําลังคนที่ระบุ "ขนาดและ<br />

สมรรถนะ" ที่เหมาะสมตอการบรรลุภารกิจขององคกร และทบทวนประจําป<br />

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

รออนุมัติจาก<br />

อกพ.<br />

กระทรวง<br />

สล. (นพรดา)<br />

๓. โครงการทบทวนคําบรรยายลักษณะงาน<br />

(Job Description (JD)<br />

(๔) รอยละความสําเร็จการปรับปรุงคําบรรยายลักษณะงานครบทุกตําแหนง<br />

งานในองคกร และมีการทบทวนประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

(ขาราชการ พนักงานราชการ ลูกจางประจํา)<br />

ทบทวน JD<br />

ตามโครงสราง<br />

ภายในครบ<br />

ทุกตําแหนง<br />

งานใน<br />

ปงบประมาณ<br />

๕๖<br />

สล. (นพรดา)<br />

๓. มีการบริหารกําลังคนกลุม<br />

ที่มีทักษะและสมรรถนะสูง<br />

๓. สามารถรักษาจูงใจ<br />

บุคลากรที่มีศักยภาพสูงไวใน<br />

อย.<br />

๔. โครงการขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง<br />

(HiPPS) สํานักงานคณะกรรมการอาหาร<br />

และยา<br />

(๕) ระดับความสําเร็จของการทําแผน/แนวทางการพัฒนาระบบขาราชการ<br />

ผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS) ในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และมีการ<br />

ทบทวนประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๕<br />

กอง ช. (ฝ.๕)/<br />

คณะทํางานฯ<br />

กรอบ EAF<br />

(๖) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผน/แนวทางการพัฒนาระบบ<br />

ขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS) พรอมทั้งกํากับติดตาม และประเมินผล<br />

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />


แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติ<br />

ปจจัย<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

เปาหมาย<br />

๒๕๕๖<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

งบประมาณ<br />

มิติที่ ๑<br />

ความ<br />

สอดคลอง<br />

เชิง<br />

ยุทธศาสตร<br />

๓. มีการบริหารกําลังคนกลุม<br />

ที่มีทักษะและสมรรถนะสูง<br />

และ<br />

๔. มีการสราง พัฒนาและสืบ<br />

ทอดของตําแหนงบริหาร<br />

๔. มีเสนทางความกาวหนา<br />

ของสายอาชีพที่ชัดเจน<br />

๕. โครงการจัดทําเสนทางความกาวหนาใน<br />

สายอาชีพ (Career path)<br />

(๗) จํานวนสายงานที่จัดทําเสนทางความกาวหนาในอาชีพของขาราชการ อย.<br />

(ปจจุบันภายในสํานักงานฯ ประกอบดวย ๑๘ สายงาน โดยในป ๕๓-๕๕ มี<br />

การดําเนินการไปแลว ๒ สายงานหลัก คือ (๑) เภสัชกร และ (๒ )นักวิชาการ<br />

อาหารและยา)<br />

๑๖<br />

สายงาน<br />

สล.<br />

(วรินทรพัชร) /<br />

คณะทํางานฯ<br />

๔. มีการสราง พัฒนาและสืบ<br />

ทอดของตําแหนงบริหาร<br />

๕. การวางแผนสืบทอด<br />

ตําแหนง (Succession Plan)<br />

ในตําแหนงสําคัญของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา<br />

๖. โครงการวางแผนสืบทอดตําแหนง<br />

(Succession Plan) ในตําแหนงสําคัญของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(หมายเหตุ : โครงการนี้ตอบโจทย ๒ มิติ คือ<br />

มิติที่ ๑ และมิติที่ ๓)<br />

(๘) รายงานการจัดทําแผนสืบทอดตําแหนง<br />

(Succession Plan) ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา :<br />

ระดับตําแหนงผูเชี่ยวชาญ และผูทรงคุณวุฒิ<br />

ศึกษาแนวทาง<br />

และเกณฑสืบ<br />

ทอดตําแหนง<br />

หัวหนาฝายการ<br />

เจาหนาที่<br />

รับเรื่องเพื่อ<br />

ประสานตอไป<br />

๖. การพัฒนาผูบริหาร<br />

ทุกระดับ<br />

๗. โครงการพัฒนาภาวะผูนํา แบงเปน ๒<br />

หลักสูตร คือ<br />

๗.๑) โครงการภาวะผูนํา (Leadership)<br />

๗.๒) ผูนําการเปลี่ยนแปลง<br />

(Leading Change)<br />

(๙) จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมายที่ไดรับการพัฒนาเพื่อสรางภาวะผูนําอยาง<br />

ตอเนื่อง ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ (เนนเจาหนาที่ทุกระดับ)<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

มิติที่ ๒<br />

ประสิทธิ-<br />

ภาพของ<br />

การบริหาร<br />

ทรัพยากร<br />

บุคคล<br />

๕. กิจกรรมและกระบวนการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลมี<br />

ความถูกตองและทันเวลา<br />

๗. มีการปรับปรุง<br />

กระบวนงานดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลใหมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

๘. แผนงานการบริหารมาตรฐานงานดาน<br />

บุคคล* ใหระบบงานมีความรวดเร็ว<br />

(*หมายถึง การพัฒนา/ปรับปรุงคูมือ<br />

ปฏิบัติงาน (SOP) ใหเปนไปตามระบบ<br />

คุณภาพของ อย. (QS) ซึ่งที่ผานมามี ๒<br />

กระบวนการ ไดแก P-S๓-๙ เครื่องราชยฯ<br />

และ P-S๓-๗ ประเมินบุคคลและผลงานเพื่อ<br />

เลื่อนตําแหนง ชนก.-ชนก.พิเศษ)<br />

(๑๐) ระดับความสําเร็จของ SOP ที่จัดทําตามระบบคุณภาพของ อย. (QS) /<br />

ปรับปรุงเพื่อใหทันตอความตองการของหนวยงานและมีความถูกตอง<br />

ตามกฎระเบียบที่เกี่ยวของ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๕ ฝาย จ.<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

SOP (นพรดา/<br />

ไทรทอง)<br />

๘. พัฒนาหนวยงานและ<br />

บุคลากรดาน <strong>HR</strong> ใหมีความ<br />

เขมแข็ง<br />

๙. โครงการพัฒนาความรูและทักษะดาน <strong>HR</strong><br />

ประกอบดวย ๒ หลักสูตร ดังนี้<br />

๙.๑) หลักสูตร coaching (๑๑) จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมาย*ที่ไดรับการพัฒนา (*หัวหนางาน)<br />

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

กอง ช. (ฝ.๕)


แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติ<br />

ปจจัย<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

เปาหมาย<br />

๒๕๕๖<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

งบประมาณ<br />

มิติที่ ๒<br />

ประสิทธิ-<br />

ภาพของ<br />

การบริหาร<br />

ทรัพยากร<br />

บุคคล<br />

๕. กิจกรรมและกระบวนการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลมี<br />

ความถูกตองและทันเวลา [ตอ]<br />

๕. กิจกรรมและกระบวนการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลมี<br />

ความถูกตองและทันเวลา<br />

และ<br />

๗. สัดสวนคาใชจายของกิจ<br />

กรรมการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลประมาณรายจาย<br />

เหมาะสม สะทอนผลิตภาพ<br />

และคุมคา<br />

๘. พัฒนาหนวยงานและ<br />

บุคลากรดาน <strong>HR</strong> ใหมีความ<br />

เขมแข็ง [ตอ]<br />

๙. มีระบบการประกัน<br />

คุณภาพการฝกอบรม/การ<br />

พัฒนาบุคคล<br />

๙.๒) หลักสูตรดาน Human Resource<br />

Development (<strong>HR</strong>D)<br />

๑๐. โครงการพัฒนาและจัดทําหลักเกณฑ<br />

ประกันคุณภาพการฝกอบรมและการประเมิน<br />

ประสิทธิผลการฝกอบรม<br />

(๑๒) ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ทํา MOU กับ NIDA Plan<br />

(MOU กับ<br />

<strong>HR</strong>D NIDA)<br />

(๑๓) ระดับความสําเร็จของการพัฒนาและจัดทําหลักเกณฑประกันคุณภาพ<br />

การฝกอบรมและการประเมินประสิทธิผลการฝกอบรม ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

๕ กอง ช. (ฝ.๕)/<br />

ทุกสํานัก กอง<br />

กลุม<br />

๕. กิจกรรมและกระบวนการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลมี<br />

ความถูกตองและทันเวลา<br />

และ<br />

๑๔. ความโปรงใสของ<br />

กระบวนการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล และพรอม<br />

ใหมีการตรวจสอบ<br />

๑๐. มีระบบการควบคุม<br />

ภายในดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลที่สามารถ<br />

ตรวจสอบไดเพื่อลดความเสี่ยง<br />

๑๑. โครงการการจัดทํา SOP ของ<br />

กระบวนการที่สําคัญและ/หรือมีความเสี่ยงตอ<br />

การถูกฟองรองของงานบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

(หมายเหตุ : โครงการนี้ตอบโจทย ๒ มิติ คือ<br />

มิติที่ ๒ และมิติที่ ๔)<br />

(๑๔) ระดับความสําเร็จของการควบคุมภายในดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

เพื่อลดความเสี่ยงในการถูกฟองรองของงานบริหารทรัพยากรบุคคลตามระบบ<br />

คุณภาพ อย. (QS) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๕ ฝาย จ.<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

SOP (นพรดา/<br />

ไทรทอง)<br />

๕. กิจกรรมและกระบวนการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลมี<br />

ความถูกตองและทันเวลา [ตอ]<br />

๑๑. มีระบบการพัฒนา<br />

บุคลากร<br />

(เนนการเปลี่ยนแปลง)<br />

๑๒. โครงการพัฒนาและทบทวน<br />

Competency<br />

(๑๕) ระดับความสําเร็จของการพัฒนาและทบทวนสมรรถนะของบุคลากร อย.<br />

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๑๓. โครงการจัดทํา Training and<br />

Development Road Map<br />

๑๔. โครงการพัฒนาบุคลากร ตามแผน IDP (๑๗) รอยละของขาราชการที่ไดรับการพัฒนาสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีด<br />

สมรรถนะของบุคลากร ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๑ กอง ช. (ฝ.๕) /<br />

สล./ทุกสํานัก<br />

(๑๖) วางแผนการจัดทํา Training Road Map Plan กอง ช. (ฝ.๕)<br />

รอยละ<br />

๘๖<br />

(๑๘) รอยละความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร รอยละ<br />

๗๐<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

/ทุกสํานัก กอง<br />

กลุม


แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติ<br />

ปจจัย<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

เปาหมาย<br />

๒๕๕๖<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

งบประมาณ<br />

มิติที่ ๒<br />

ประสิทธิภา<br />

พของการ<br />

บริหาร<br />

ทรัพยากร<br />

บุคคล<br />

๕. กิจกรรมและกระบวนการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลมี<br />

ความถูกตองและทันเวลา<br />

[ตอ]<br />

๑๑. มีระบบการพัฒนา<br />

บุคลากร<br />

(เนนการเปลี่ยนแปลง) [ตอ]<br />

๑๕. โครงการพัฒนาความรูดานการบริหาร<br />

การเปลี่ยนแปลง ;<br />

หลักสูตร Change Management<br />

๑๖. โครงการพัฒนาภาวะผูนํา แบงเปน ๒<br />

หลักสูตร คือ<br />

๑๖.๑) โครงการภาวะผูนํา (Leadership)<br />

๑๖.๒) ผูนําการเปลี่ยนแปลง<br />

(Leading Change)<br />

(๑๙) จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมาย(หัวหนากลุมงานของสํานัก/กอง/กลุม) ที่<br />

ไดรับการพัฒนาดานการบริหารการเปลี่ยนแปลง ประจําปงบประมาณ พ.ศ.<br />

๒๕๕๖<br />

(๒๐) จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมายที่ไดรับการพัฒนาเพื่อสรางภาวะผูนํา<br />

อยางตอเนื่อง ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๑ รุน/<br />

๒๕ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

๑ รุน/<br />

๓๐ คน<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

๖. มีระบบฐานขอมูลถูกตอง<br />

เที่ยงตรง ทันสมัย<br />

และ<br />

๘. นําเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />

มาใช<br />

๑๒. มีระบบการจัดการ<br />

ฐานขอมูลดานทรัพยากร<br />

บุคคลที่มีประสิทธิภาพ<br />

๑๗. โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลดานการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล (DPIS)<br />

๑๘. โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />

ดานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

(๒๑) รอยละความถูกตองของขอมูลรายบุคคลในระบบ DPIS ที่สามารถ<br />

นําไปใชประโยชนได<br />

รอยละ<br />

๘๐<br />

สล. (ไทรทอง)<br />

(๒๒) ระดับความสําเร็จของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทรัพยากรบุคคล ๕ ศูนย IT<br />

(แกวตา)<br />

๕. กิจกรรมและกระบวนการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลมี<br />

ความถูกตองและทันเวลา<br />

และ<br />

๗. สัดสวนคาใชจายของกิจ<br />

กรรมการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลประมาณรายจาย<br />

เหมาะสม สะทอนผลิตภาพ<br />

และคุมคา<br />

ซ้ํากับขอ ๙. มีระบบการ<br />

ประกันคุณภาพการฝกอบรม/<br />

การพัฒนาบุคคล<br />

๑๙. โครงการประเมินประสิทธิผลและความ<br />

คุมคาของการฝกอบรมโดยการติดตามและ<br />

ประเมินผลผูผานการอบรมหลังฝก<br />

แลว ๓ เดือน<br />

(๒๓) รอยละของผูเขาอบรม “ผานตามเกณฑ" การประเมินผลหลังการ<br />

ฝกอบรม ๓ เดือน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

รอยละ ๗๐<br />

ขึ้นไป<br />

กอง ช. (ฝ.๕)


แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติ<br />

ปจจัย<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

เปาหมาย<br />

๒๕๕๖<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

งบประมาณ<br />

มิติที่ ๓<br />

ประสิทธิผล<br />

ของการ<br />

บริหาร<br />

ทรัพยากร<br />

บุคคล<br />

๓ มีการบริหารกําลังคนกลุม<br />

ที่มีทักษะและสมรรถนะสูง<br />

และ<br />

๙. การรักษาขาราชการที่<br />

จําเปนตอการบรรลุเปาหมาย<br />

ซ้ํากับขอ ๓. สามารถรักษาจูง<br />

ใจบุคลากรที่มีศักยภาพสูงไว<br />

ใน อย.<br />

๒๐. โครงการวางแผนสืบทอดตําแหนง<br />

(Succession Plan) ในตําแหนงสําคัญของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(หมายเหตุ : โครงการนี้ตอบโจทย ๒ มิติ คือ<br />

มิติที่ ๑ และมิติที่ ๓)<br />

(๒๔) รายงานการจัดทําแผนสืบทอดตําแหนง (Succession Plan) ของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา : ระดับตําแหนงผูเชี่ยวชาญ และ<br />

ผูทรงคุณวุฒิ<br />

ศึกษาแนวทาง<br />

และเกณฑสืบ<br />

ทอดตําแหนง<br />

หัวหนาฝายการ<br />

เจาหนาที่<br />

รับเรื่องไป<br />

ประสานตอไป<br />

๑๐. ความพึงพอใจของ<br />

ขาราชการตอนโยบาย<br />

มาตรการการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

๑๓. ความตองการของ<br />

หัวหนากลุมงาน และ<br />

ผูปฏิบัติงาน ที่มีตองาน<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล<br />

๒๑. โครงการสํารวจความตองการ/ความพึง<br />

พอใจของหัวหนากลุมงาน และผูปฏิบัติงาน ที่<br />

มีตองานบริหารทรัพยากรบุคคล ดาน <strong>HR</strong>M<br />

(๒๕) รอยละความพึงพอใจของหัวหนากลุมงาน และผูปฏิบัติงาน ที่มีตองาน<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล ดาน <strong>HR</strong>M ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

รอยละ<br />

๖๐<br />

ฝาย จ.(<strong>HR</strong>M)<br />

๑๑. การสนับสนุนใหเกิดการ<br />

เรียนรูและพัฒนา<br />

๑๔. มีระบบจัดการความรู<br />

และสงเสริมใหเกิดบรรยากาศ<br />

ของการเรียนรู<br />

๒๒. โครงการสงเสริมและพัฒนาการจัดการ<br />

ความรู ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

(๒ ตัวชี้วัด)<br />

(๒๖) ระดับความสําเร็จในการจัดการความรูของสํานักงานคณะกรรมการ<br />

อาหารและยา ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

(๒๗) รอยละความพึงพอใจในการจัดการความรู ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๕<br />

รอยละ<br />

๗๓<br />

กอง ช. (ฝ.๕)<br />

(ศรินยา)/<br />

คณะทํางาน<br />

KM/ทุกสํานัก<br />

กอง กลุม<br />

๑๒. การมีระบบบริหาร<br />

ผลงาน และมีวิธีการ<br />

ประเมินผล การปฏิบัติงานที่<br />

มีประสิทธิผล ซึ่งเชื่อมโยงกับ<br />

ผลตอบแทน<br />

๑๕. มีระบบการบริหารผล<br />

การปฏิบัติงานที่มีรางวัลจูงใจ<br />

สอดคลองตามผลการ<br />

ปฏิบัติงานของบุคลากร<br />

๒๓. โครงการพัฒนาระบบการบริหารผลการ<br />

ปฏิบัติงาน<br />

(Performance Management System<br />

(PMS))<br />

(๒๘) ระดับความสําเร็จของการพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน<br />

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๕ ฝาย จ./<br />

ก.พ.ร./กอง ช.<br />

(ฝ.๒) และ<br />

คณะทํางาน<br />

ภายใต PM/<br />

ทุกสํานัก กอง<br />

กลุม


แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติ<br />

ปจจัย<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

เปาหมาย<br />

๒๕๕๖<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

งบประมาณ<br />

มิติที่ ๔<br />

ความพรอม<br />

รับผิดดาน<br />

การบริหาร<br />

ทรัพยากร<br />

บุคคล<br />

๑๓. การรับผิดชอบตอการ<br />

ตัดสินใจและผลของการ<br />

ตัดสินใจดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล และการ<br />

ดําเนินการทางวินัยบน<br />

หลักการของความสามารถ<br />

หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม<br />

หลักมนุษยธรรม<br />

๑๖. สงเสริมคุณธรรมและ<br />

จริยธรรมของบุคลากร<br />

๒๔. กิจกรรมการจัดทําแผนปองกัน<br />

ปราบปรามการทุจริตภาครัฐพรอมทั้งกํากับ<br />

ติดตาม<br />

(๒ ตัวชี้วัด)<br />

๒๕. กิจกรรมสงเสริมคานิยม "PROTECT"<br />

และวัฒนธรรมองคกร<br />

(๒๙) ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐ<br />

๔ ป ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และมีการทบทวนประจําป<br />

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

(๓๐) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปองกัน<br />

ปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

(๓๑) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามกิจกรรม ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๕<br />

๕<br />

ฝาย จ./คณะ<br />

ทํางานฯ<br />

๕ สล. (นพรดา)<br />

๕. กิจกรรมและกระบวนการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลมี<br />

ความถูกตองและทันเวลา<br />

และ<br />

๑๔. ความโปรงใสของ<br />

กระบวนการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล และพรอม<br />

ใหมีการตรวจสอบ<br />

ซ้ํากับขอ ๑๐. มีระบบการ<br />

ควบคุมภายในดานการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลที่<br />

สามารถตรวจสอบไดเพื่อลด<br />

ความเสี่ยง<br />

๒๖. โครงการการจัดทํา SOP ของ<br />

กระบวนการที่สําคัญและ/หรือมีความเสี่ยงตอ<br />

การถูกฟองรองของงานบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

(หมายเหตุ : โครงการนี้ตอบโจทย ๒ มิติ คือ<br />

มิติที่ ๒ และมิติที่ ๔)<br />

(๓๒) ระดับความสําเร็จของการควบคุมภายในดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

เพื่อลดความเสี่ยงในการถูกฟองรองของงานบริหารทรัพยากรบุคคลตามระบบ<br />

คุณภาพ อย. (QS) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๕ ฝาย จ.<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

SOP (นพรดา/<br />

ไทรทอง)<br />

๑๔. ความโปรงใสของ<br />

กระบวนการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล และพรอม<br />

ใหมีการตรวจสอบ<br />

๑๗. พัฒนาระบบการรับฟง<br />

ความคิดเห็นการจัดการขอ<br />

รองเรียน รองทุกข ดานการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล<br />

๒๗. การจัดทําระบบการรับฟงขอคิดเห็น และ<br />

ระบบการจัดการขอรองเรียนดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

(๒ ตัวชี้วัด)<br />

(๓๓) จัดทําชองทางเผยแพรประเด็นถาม-ตอบรับฟงความคิดเห็น ที่รวมถึงการ<br />

นําเสนอกรณีศึกษาที่รวบรวมจากการขอชี้แจงที่ผานมา เชน Webboard<br />

(๓๔) ระดับความสําเร็จของจัดระบบการจัดการขอรองเรียนรองทุกข ดานการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๒<br />

ชองทาง<br />

ฝาย จ./<br />

ทุกสํานัก กอง<br />

กลุม<br />

๕ สล. /คณะ<br />

ทํางานฯ<br />

๒๘. การประกาศประชาสัมพันธเกณฑ<br />

ระเบียบ ขอบังคับดานการบริหารจัดการ<br />

บุคคลที่ครอบคลุม สะดวกและเขาถึงงาย<br />

(๓๕) ระดับความสําเร็จของการดําเนินการประชาสัมพันธเกณฑ ระเบียบ<br />

ขอบังคับดานการบริหารจัดการบุคคลที่ครอบคลุม สะดวกและเขาถึงงาย<br />

๕ ฝาย จ./<br />

ทุกสํานัก กอง<br />

กลุม


แผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติ<br />

ปจจัย<br />

เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด<br />

เปาหมาย<br />

๒๕๕๖<br />

ผูรับผิดชอบ<br />

งบประมาณ<br />

มิติที่ ๕<br />

คุณภาพ<br />

ชีวิตและ<br />

ความสมดุล<br />

ระหวาง<br />

ชีวิตกับการ<br />

ทํางาน<br />

๑๕. ความพึงพอใจตอ<br />

สภาพแวดลอมในการทํางาน<br />

และระบบงาน<br />

๑๖. การจัดสวัสดิการและสิ่ง<br />

อํานวยความสะดวกจาก<br />

สวัสดิการที่กฎหมายกําหนด<br />

และ<br />

๑๗. ความสัมพันธอันดี<br />

ระหวางฝายบริหารกับ<br />

ขาราชการผูปฏิบัติงาน<br />

และระหวางขาราชการ<br />

ผูปฏิบัติงานดวยกัน<br />

๑๘. การปฏิบัติงานมีความ<br />

สมดุลระหวางคุณภาพชีวิต<br />

และการทํางาน<br />

๒๙. โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสราง<br />

ความผาสุก ความพึงพอใจของบุคลากรใน<br />

สํานักงานฯ<br />

หมายเหตุ : โครงการสายสัมพันธ อย. (รวมใน<br />

โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต)<br />

(๖ ตัวชี้วัด)<br />

(๓๖) โครงการการพัฒนาความรูเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อใหขาราชการ<br />

มีคุณภาพชีวิตที่ดี ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

(จํานวนผูเขาอบรม)<br />

(๓๗) ระดับความสําเร็จของการจัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพ<br />

ชีวิต และทบทวนประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

หมายเหตุ : รวมเรื่องแผนสงเสริมสุขอนามัยที่ดี การตรวจสุขภาพประจําป<br />

(๓๘) ระดับความสําเร็จของการจัดทําระบบยกยองเชิดชูเกียรติขาราชการที่ดี<br />

ภายในเวลาที่กําหนด เชน คนดีศรี อย. /ขาราชการพลเรือนดีเดน<br />

(๓๙) รอยละความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานใน อย. ประจําปงบประมาณ พ.ศ.<br />

๒๕๕๖<br />

(KPI ๑: รอยละความพึงพอใจของบุคลากรตอการจัดสวัสดิการนอกเหนือจากที่<br />

กฏหมายกําหนดและ<br />

KPI ๒: รอยละความพึงพอใจของบุคลากรตอนโยบายและรูปแบบการบริหาร<br />

ของสํานักงานฯ ใหนําไปกําหนดในแบบสอบถามความพึงพอใจตอการ<br />

ปฏิบัติงานใน อย.)<br />

๘๐<br />

คนตอป<br />

สล.<br />

(หน.ฝายจ.)/<br />

คณะทํางานฯ<br />

๕ สล.(วรินทร<br />

พัชร/คณะ<br />

ทํางานฯ<br />

๕ สล.<br />

๕๐ สล.(ประเด็น<br />

ดาน <strong>HR</strong>)<br />

และ ก.พ.ร.<br />

(ภาพรวม)<br />

(๔๐) จํานวนชองทางที่ใหฝายบริหารและบุคลากรผูปฏิบัติงานสื่อสารกันได<br />

อยางสะดวก (ทางการและไมเปนทางการ เชน web board/e-mail/ประชุม<br />

รับฟงความคิดเห็น/การเขาพบผูบริหาร)<br />

๔<br />

ชองทาง<br />

(สํารวจการรับรู<br />

+<br />

พึงพอใจ)<br />

สล.<br />

(๔๑) จํานวนโครงการหรือกิจกรรมเพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวาง<br />

ผูบริหารกับบุคลากรผูปฏิบัติงานและระหวางบุคลากร ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

(เชน งานปใหม, กีฬาสี, Organization Development Grouping )<br />

๒<br />

โครงการ<br />

สล.<br />

(ฝายบริหาร)


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

7.3<br />

คําอธิบายตัวชี้วัด<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

44


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

การจัดทําและทบทวนแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๑ ความสอดคลองเชิงยุทธศาสตร<br />

ปจจัย (๑) นโยบาย แผนงานและมาตรฐานดาน <strong>HR</strong> สอดคลองกับเปาหมายพันธกิจของสวนราชการและชีวิต<br />

เปาประสงค (๑) มีกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลสอดคลองและสนับสนุนยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการ-<br />

อาหารและยา<br />

๑<br />

ตัวชี้วัด0 ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สอดคลองกับยุทธศาสตรและ<br />

เปาหมาย ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เปาหมายของสํานักงาน กพ. และแผนยุทธศาสตร<br />

พัฒนาขาราชการพลเรือน พรอมทั้งมีการทบทวนทุกป<br />

๒<br />

ตัวชี้วัด1 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ...... (รายป)<br />

คําอธิบาย<br />

กลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล เปนเครื่องมือสําคัญที่ใชในการขับเคลื่อนผลการปฏิบัติงานขององคการ<br />

โดยความสําเร็จของแตละองคการเกิดไดจากการเรียนรูอยางตอเนื่อง และการใชความรูความสามารถของบุคลากรในการ<br />

ดําเนินงานอยางเหมาะสมเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด ดังนั้น เพื่อใหบุคลากรเปนผูสรางคุณคาเพิ่มใหกับผลผลิต และนําไปสูผล<br />

การปฏิบัติงานขององคการที่ดีขึ้น การบริหารทรัพยากรบุคคล จึงเปนกลไกในการสนับสนุนใหบุคลากรสามารถขับเคลื่อนผล<br />

การปฏิบัติการขององคการดังกลาว อีกทั้งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเองตระหนักดีวา บุคลากรคือทรัพยากรที่<br />

สําคัญและมีคุณคาที่สุดขององคการ ดังนั้น เพื่อใหการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลสามารถสรางใหบุคลากรของ<br />

สํานักงานฯ เปน “บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรู และพัฒนางานอยางตอเนื่อง” และเพื่อสนับสนุนใหสํานักงานฯ<br />

บรรลุเปาหมาย พันธกิจ และวิสัยทัศน และรองรับการเปลี่ยนแปลงตอการกาวสูประชาคมอาเซียน สํานักงานฯ จึงจําเปนตอง<br />

เรงปรับกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล โดยมุงเนนการพัฒนาคนใหพรอมรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น<br />

ดังนั้น สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงไดดําเนินการทบทวนและจัดทําแผนกลยุทธการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙) ใหสอดคลองกับกรอบมาตรฐานความสําเร็จดานการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลตามกรอบมาตรฐานความสําเร็จ ๕ มิติ ๑๗ ปจจัยของสํานักงาน ก.พ. และยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือน<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๕๖ พรอมทั้งดําเนินการจัดทําแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

โดยกําหนดเปาประสงคเชิงกลยุทธ ตัวชี้วัด และคาเปาหมายในการดําเนินการ พรอมทั้งกําหนดแผนงาน/โครงการ ที่ตอง<br />

ดําเนินการในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ใหสอดคลองกับแผนกลยุทธฯ ระยะ ๔ ป ดังกลาวดวย เพื่อปรับบทบาทการทํางาน<br />

ดานบุคลากรใหสอดรับกับยุทธศาสตรขององคการ และเปนเครื่องมือสําหรับใชประเมินผลที่เปนรูปธรรมตอไป<br />

๑ ตัวชี้วัด สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙)<br />

๒ ตัวชี้วัด สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

45


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สอดคลองกับยุทธศาสตรและ<br />

เปาหมายของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา รวมทั้งเปาหมายของสํานักงาน กพ. แผนยุทธศาสตร<br />

พัฒนาขาราชการพลเรือน และมีการทบทวนทุกป<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ แผนกลยุทธฯ ไดรับการอนุมัติจากผูบริหาร ภายใน ๓๐ ก.ย. .... และเผยแพรประชาสัมพันธให<br />

หนวยงานทราบและนําไปปฏิบัติ และประเมินแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ระยะ ๔ ป<br />

ทุก ๒ ป โดยกําหนดใหมีการประเมินในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และ ๒๕๕๙<br />

๔ นํา (ราง) แผนกลยุทธ ผานคณะทํางานฯ เพื่อใหความเห็นชอบ<br />

๓ จัดทํารายละเอียด (ราง) แผนกลยุทธฯ ๔ ปครบถวนทุกมิติตาม <strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong><br />

๒ จัดประชุมระดมสมองคณะทํางาน (ประมาณ ๓ ครั้ง) โดยการกําหนดประเด็นยุทธศาสตรดาน <strong>HR</strong>/<br />

ลําดับความสําคัญการพัฒนา และปรับปรุงงานดาน <strong>HR</strong>/เปาประสงคเชิงกลยุทธ/ตัวชี้วัดผลการ<br />

ปฏิบัติงานของเปาประสงค/แผนงานและโครงการที่รองรับ เพื่อจัดทําแผนยุทธศาสตร ๔ ป ฉบับ<br />

ทบทวน (ป ๕๗-๖๐)<br />

๑ วิเคราะหขอมูลการดําเนินงานในป ๕๒-๕๕ และยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

ป ๕๕-๕๙ พรอมทั้งวิเคราะหทิศทางการบริหารทรัพยากรบุคคลใหมีความสอดคลองตอประเด็น<br />

ยุทธศาสตรสํานักงานฯ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ,<br />

แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ ๔ ป<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการบริหารทรัพยากรบุคคล ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ......(รายป)<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ วิเคราะหสรุปผล และจัดทําขอเสนอแนะเสนอผูบริหาร ภายใน ๓๐ ก.ย. ของสิ้นปงบประมาณ<br />

๔ ติดตามผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ ป..... รายไตรมาส (๖/๙/๑๒ เดือน)<br />

๓ แผนปฏิบัติการฯ ป..... ไดรับการอนุมัติจากผูบริหารและเผยแพร ภายใน ๓๑ มี.ค. ป.....<br />

๒ มี (ราง) แผนฯ ป..... ครบถวนทุกมิติตาม <strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong> โดยคณะทํางานฯ ใหความเห็นชอบ<br />

๑ ทบทวนผลงานและขอเสนอแนะการปรับปรุงการดําเนินการในปที่ผานมา เพื่อจัดทํารางแผนปฏิบัติ<br />

การฯ ป..... ตามกรอบ <strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong> ของ ก.พ. ทั้ง ๕ มิติ และ/หรือ ๑๗ ปจจัย (ตามที่ กพ.<br />

กําหนด)<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ,<br />

แผนปฏิบัติการบริหารทรัพยากรบุคคล (รายป)<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๕<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๕<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

46


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

หมายเหตุ : (๑) ประเมินแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ระยะ ๔ ป ทุก ๒ ป โดยกําหนดใหมีการประเมินใน<br />

ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ และ ๒๕๕๙ (ขอเสนอแนะคณะทํางานฯ ครั้งที่ ๗/๕๕ ; ดําเนินการประเมินผลแผนทุก ๒ ป เพื่อ<br />

พิจารณาถึงระดับของความสําเร็จ (achievement) ตามแผนกลยุทธฯ คิดเปนรอยละเทาไหรของการดําเนินการตามแผนระยะ<br />

ยาว)<br />

(๒) สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการที่ไดรับความ<br />

เห็นชอบจากคณะคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

47


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการวางแผนและบริหารกําลังคน<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๑ ความสอดคลองเชิงยุทธศาสตร<br />

ปจจัย (๒) มีการวางแผนและบริหารกําลังคน<br />

เปาประสงค (๒) มีโครงสรางและกรอบอัตรากําลังที่เหมาะสมและสอดคลองกับภารกิจ<br />

ตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของการดําเนินการแผนกําลังคนที่ระบุ “ขนาดและสมรรถนะ” ที่เหมาะสมตอการ<br />

บรรลุภารกิจขององคกร<br />

คําอธิบาย<br />

โครงการวางแผนและบริหารกําลังคน เปนโครงการขนาดใหญที่ตองใชทรัพยากรจํานวนมาก ไดแก<br />

คน งบประมาณ และเวลา เพื่อทุมเทใหโครงการดังกลาวสําเร็จลุลวง เพื่อใหไดมาซึ่งแผนอัตรากําลัง ๓ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-<br />

๒๕๕๘) และการบริหารกําลังคนที่มีอยูอยางจํากัดใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ดําเนินการโดยคณะทํางานวางแผนอัตรากําลังของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ตามกรอบแนวทาง/คูมือของสํานักงาน ก.พ. เพื่อนําเสนอขออัตรากําลังตออนุกรรมการ<br />

ขาราชการพลเรือน (อ.ก.พ.) สํานักงานฯ และอนุกรรมการขาราชการพลเรือน (อ.ก.พ.) <strong>กระทรวงสาธารณสุข</strong> และ<br />

คณะกรรมการกําหนดเปาหมายและกําลังคนภาครัฐ (คปร.) ในลําดับตอไป<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนกําลังคนที่ระบุ “ขนาดและสมรรถนะ” ที่เหมาะสมตอการบรรลุภารกิจ<br />

ขององคกร (เปาหมายตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๙)<br />

ขอมูลพื้นฐาน โครงการนี้ดําเนินการตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๕ โดยในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ นี้<br />

อยูระหวางขั้นตอนรออนุมัติจาก อ.ก.พ. กระทรวง หาก อ.ก.พ. กระทรวง อนุมัติเรียบรอยแลว ขั้นตอนตอมา คือ การ<br />

นําไปปฏิบัติ (Implement) ดังนั้น ตัวชี้วัดของแผนนี้ควรเปน Subject to Approval โดย อ.ก.พ. กระทรวง ภายใต<br />

เงื่อนไข ตามที่ อ.ก.พ. กระทรวงเสนอ คือ อาจใหปรับแกไข หรืออาจอนุมัติ ดังนั้นจึงเห็นควรปรับตัวชี้วัด เปน ระดับ<br />

ความสําเร็จ ของการดําเนินการตามแผนกําลังคนที่ระบุ "ขนาดและสมรรถนะ" ที่เหมาะสมตอการบรรลุภารกิจขององคกร<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ จัดทําแผนปรับปรุงอัตรากําลังเชิงปริมาณ (ภายใน ๓๐ ก.ย. ........)<br />

๔ วิเคราะหการตอบสนองกําลังคน ณ ปจจุบัน และเสนอผูบริหาร เพื่อใหความเห็นชอบ<br />

๓ วิเคราะหความตองการกําลังคน ใหเหมาะสมกับปริมาณงาน<br />

๒ ทบทวน บทบาท ภารกิจหลักและรองของสํานักงานฯ<br />

๑ ทบทวนคณะทํางานฯ เพื่อจัดทําแผนอัตรากําลัง และใหความรูแกผูเกี่ยวของ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : เก็บและรวบรวมขอมูลจากทุกสํานัก/กอง/กลุม<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๒<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : น.ส. นพรดา ธุระแพง เบอรติดตอ : ๗๑๐๒<br />

ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

48


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการทบทวนคําบรรยายลักษณะงาน (Job Description)<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๑ ความสอดคลองเชิงยุทธศาสตร<br />

ปจจัย (๒) มีการวางแผนและบริหารกําลังคน<br />

เปาประสงค (๒) มีโครงสรางและกรอบอัตรากําลังที่เหมาะสมและสอดคลองกับภารกิจ<br />

๓<br />

ตัวชี้วัด2 รอยละความสําเร็จการปรับปรุงคําบรรยายลักษณะงาน ครบทุกตําแหนงงานในองคกร<br />

คําอธิบาย<br />

การทบทวนคําบรรยายลักษณะงาน (Job Description) เปนเอกสารที่จัดทําขึ้นตามแนวทาง/คูมือของ<br />

สํานักงาน ก.พ. เพื่อเปนหลักฐาน/เอกสาร ใหผูบังคับบัญชาและผูจะมาปฏิบัติงานในเลขที่ตําแหนงนั้น ๆ ทราบวามีขอบเขต<br />

หนาที่ความรับผิดชอบ ความรู ทักษะ สมรรถนะ อยางไรในการปฏิบัติงานในเลขที่ตําแหนงนั้นๆ ใหประสบความสําเร็จ และ<br />

การปฏิบัติงานในตําแหนงนั้นๆ มีความสําคัญตอความสําเร็จขององคกรอยางไร<br />

ชื่อตัวชี้วัด : รอยละความสําเร็จการปรับปรุงคําบรรยายลักษณะงาน ครบทุกตําแหนงงานในองคกร<br />

ขอเสนอแนะคณะทํางานฯ ครั้งที่ ๗/๕๕ ; เห็นควรใหมีการจัดทําขอมูล JD ที่มีอยูใหครบถวนสมบูรณและสอดคลองกับ<br />

การปรับโครงสรางใหเปนปจจุบันในทุกเลขที่ตําแหนงโดยพิจารณา JD ที่ยังขาดในกรณีที่สํานัก/กองมีการปรับโครงสราง<br />

ภายในของ สํานัก/กอง ทั้งนี้ไมรวมโครงสรางใหมในอนาคตที่ยังไมไดรับการอนุมัติ ดังนั้น กําหนดใหปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖ (เพียงปเดียว) ดําเนินการทบทวน JD ครบทุกประเภทเลขที่ตําแหนงบุคลากรทั้งหมดในสํานักงานฯ และ<br />

นําโครงการทบทวนคําบรรยายลักษณะงานไวในแผนปฏิบัติการฯ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ เทานั้น<br />

ปงบประมาณ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๒๕๕๖ ทบทวน JD ตามโครงสรางภายในครบทุกเลขที่ตําแหนงงาน (รอยละ ๑๐๐) ภายในปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๒๕๕๗ -<br />

๒๕๕๘ -<br />

๒๕๕๙ -<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : เก็บและรวบรวมขอมูลจากทุกสํานัก/กอง/กลุม<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๒<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : น.ส. นพรดา ธุระแพง เบอรติดตอ : ๗๑๐๒<br />

ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

๓ ตัวชี้วัด เฉพาะสําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ เทานั้น<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

49


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

มิติที่ ๑ ความสอดคลองเชิงยุทธศาสตร<br />

ปจจัย (๓) มีการบริหารกําลังคนกลุมที่มีทักษะและสมรรถนะสูง<br />

เปาประสงค (๓) สามารถรักษาจูงใจบุคลากรที่มีศักยภาพสูงไวในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

๔<br />

ตัวชี้วัด3 ระดับความสําเร็จของการทําแผน/แนวทางการพัฒนาระบบขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS)<br />

ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และทบทวนทุกป<br />

๕<br />

ตัวชี้วัด4 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผน/แนวทางการพัฒนาระบบขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง<br />

(HiPPS) พรอมทั้งกํากับติดตาม และประเมินผล<br />

๖<br />

โครงการขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

คําอธิบาย5<br />

ระบบขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (High Performance and Potential System – HiPPS) เปนระบบ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลที่สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (สํานักงาน ก.พ.) พัฒนาขึ้นเพื่อสรางความพรอมใหกับ<br />

ขาราชการผูมีศักยภาพสูงอยางเปนระบบ สนับสนุนใหเกิดกําลังคนคุณภาพในราชการ เนนการพัฒนาที่เปนระบบเชื่อมโยงและ<br />

หลากหลาย โดยเนนที่การเรียนรูผานการปฏิบัติจริง (Workplace Learning) และเสริมดวยกลไกการสับเปลี่ยนหมุนเวียนงาน<br />

การสอนงาน และการเรียนรูผานการฝกอบรม เพื่อใหขาราชการกลุมดังกลาวไดรับการพัฒนาอยางเต็มศักยภาพ สงผลให<br />

สามารถเติบโตเปนขาราชการระดับสูงไดอยางมีคุณภาพในเวลาที่เหมาะสม<br />

ปจจุบันสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง ตั้งแตรุน ๓-๘ จํานวนทั้งสิ้น<br />

๑๕ คน ซึ่งผูรับผิดชอบระบบขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (กองแผนงานและวิชาการ และฝายการเจาหนาที่) ของสํานักงานของ<br />

คณะกรรมการอาหารและยา ตองดําเนินการจัดทําและพัฒนาแผน/แนวทางการพัฒนาระบบขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง<br />

(HiPPS) โดยใชกรอบการสั่งสมประสบการณ (Experience Accumulation Framework : EAF) ที่เหมาะสมกับบริบทใน<br />

ระดับกรมและระดับบุคคล (Individual EAF : iEAF) เปนเครื่องมือในการกํากับติดตามการพัฒนา HiPPS อยางตอเนื่อง และ<br />

เปนระบบตอไป และเพื่อรักษาจูงใจบุคลากรที่มีศักยภาพสูงไวในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

๔ ตัวชี้วัด สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙)<br />

๕ ตัวชี้วัด สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

๖ อางอิงจาก “ขอมูลเผยแพรเกี่ยวกับระบบขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS) โดยสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน”. วันที่คนขอมูล<br />

๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๕, จาก สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน. เว็ปไซด:<br />

http://www.ocsc.go.th/ocsc/th/index.phpoption=com_content&view=article&id=2888&Itemid=248<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

50


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการทําแผน/แนวทางการพัฒนาระบบขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS) ในสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา และทบทวนทุกป<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ ติดตามผลการพัฒนาและสรุปเสนอผูบริหาร<br />

๔ แกไข และเผยแพรระบบการพัฒนา HiPPS เพื่อให HiPPS นําไปปฏิบัติ<br />

๓ นําเสนอเขาที่ประชุมคณะกรรมการฯ ใหความเห็นชอบ ระบบการพัฒนา HiPPS<br />

๒ ปรับปรุงระบบการพัฒนาโดยจัดทําแผน/แนวทางการพัฒนาระบบขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง<br />

(HiPPS) ในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

๑ จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนากรอบการสั่งสมประสบการณและเสนทางความกาวหนาอาชีพ<br />

รายบุคคลของขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง เพื่อวางแนวทางในการพัฒนาระบบขาราชการผูมี<br />

ผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ....<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนากรอบการสั่งสมประสบการณและเสนทาง<br />

ความกาวหนาอาชีพรายบุคคลของขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง , กรอบการสั่งสมประสบการณ (EAF)<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กอง ช./คณะทํางานฯ กรอบ EAF/ เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

สํานัก/กองที่มี HiPPS<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผน/แนวทางการพัฒนาระบบขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPS)<br />

พรอมทั้งกํากับติดตาม และประเมินผล<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ ติดตามผลการพัฒนาตามกรอบสั่งสมประสบการณรายบุคคล (iEAF) และสรุปเสนอผูบริหาร<br />

๔ แกไข และแจงกลับ HiPPS เพื่อให HiPPS นํา iEAF ไปปฏิบัติตามที่กําหนดใน iEAF<br />

๓ นําเสนอเขาที่ประชุมคณะกรรมการฯ ใหความเห็นชอบตอกรอบสั่งสมประสบการณรายบุคคล<br />

(iEAF)<br />

๒ วิเคราะหขอมูลกรอบสั่งสมประสบการณรายบุคคล (iEAF)<br />

๑ วิเคราะหขอมูลกรอบสั่งสมประสบการณ (EAF) ของกรม<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนากรอบการสั่งสมประสบการณและเสนทาง<br />

ความกาวหนาอาชีพรายบุคคลของขาราชการผูมีผลสัมฤทธิ์สูง , กรอบสั่งสมประสบการณรายบุคคล (iEAF) , รายงานผล<br />

การพัฒนารายบุคคล<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กอง ช./คณะทํางานฯ กรอบ เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

EAF/สํานัก/กองที่มี HiPPS<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

51


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการจัดทําเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path)<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๑ ความสอดคลองเชิงยุทธศาสตร<br />

ปจจัย (๓) มีการบริหารกําลังคนกลุมที่มีทักษะและสมรรถนะสูง และ<br />

(๔) มีการสราง พัฒนาและสืบทอดของตําแหนงบริหาร<br />

เปาประสงค (๔) มีเสนทางความกาวหนาของสายอาชีพที่ชัดเจน<br />

ตัวชี้วัด จํานวนสายงานที่จัดทําเสนทางความกาวหนาในอาชีพของขาราชการ<br />

คําอธิบาย<br />

แผนเสนทางสรางความกาวหนาในสายอาชีพใหแกบุคลากรในหนวยงาน มีวัตถุประสงคเพื่อสรางขวัญและ<br />

กําลังใจใหกับบุคลากรในการรับทราบถึงความกาวหนาในสายอาชีพของตนเอง อีกทั้งแผนสรางความกาวหนาในงานที่ชัดเจน<br />

สามารถนําไปใชพัฒนาการสรรหา คัดเลือก การวางแผนฝกอบรม พัฒนาบุคลากร และสรางเกณฑมาตรฐานในการ<br />

เลื่อนขั้น เลื่อนตําแหนงงาน และการโอนยาย<br />

ชื่อตัวชี้วัด : จํานวนสายงานที่จัดทําเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพของขาราชการ<br />

ปงบประมาณ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๒๕๕๖ จัดทําแผนเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ จํานวน ๑๖ สายงานใหแลวเสร็จภายในปงบประมาณ พ.ศ.<br />

๒๕๕๖<br />

๒๕๕๗ นําแผนเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ ทั้ง ๑๘ สายงานไปใช และติดตามประเมินผล<br />

๒๕๕๘<br />

๒๕๕๙ นําผลการประเมินไปใชพิจารณา ทบทวนแผนเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพของทุกสายงานของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (เฉพาะสายงานที่มีประเด็นปรับปรุง)<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะกรรมการจัดทําเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพของขาราชการ ,<br />

แผนเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพของขาราชการ อย.<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๑<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๑<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นสุดโครงการฯ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

52


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการพัฒนาภาวะผูนํา (Leadership)<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๑ ความสอดคลองเชิงยุทธศาสตร และ มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๔) มีการสราง พัฒนาและสืบทอดของตําแหนงบริหาร<br />

(๕) กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

เปาประสงค (๖) การพัฒนาผูบริหารทุกระดับ (สอดรับกับปจจัย (๔))<br />

(๑๑) มีระบบการพัฒนาบุคลากร (เนน การเปลี่ยนแปลง) (สอดรับกับปจจัย (๕))<br />

ตัวชี้วัด จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมายที่ไดรับการพัฒนาเพื่อสรางภาวะผูนําอยางตอเนื่อง (เนนเจาหนาที่<br />

ทุกระดับ)<br />

คําอธิบาย<br />

โครงการพัฒนาภาวะผูนํา แบงการฝกอบรมเปน ๒ หลักสูตร คือ<br />

(๑) โครงการภาวะผูนํา (Leadership)<br />

ปจจุบัน เปนที่ยอมรับกันแลววา “ผูนํา (Leader)” เปนปจจัยที่สําคัญยิ่งประการหนึ่งตอความสําเร็จของ<br />

องคกร เพราะผูนําจักตองเปนผูที่มีภาระหนาที่ และความรับผิดชอบโดยตรงที่จะตองวางแผนสั่งการ ดูแล และควบคุมให<br />

บุคลากรขององคการปฏิบัติงานตางๆ ใหประสบความสําเร็จตามเปาหมาย ความทาทายของการสรางและพัฒนาภาวะ<br />

ความเปนผูนํา (Leadership) คือ ทําอยางไรหรือมีวิธีการนําอยางไรจึงจะสรางผูนํา (Leader) ที่เปน Role model ที่ทําให<br />

ผูใตบังคับบัญชาหรือผูตามเกิดความผูกพันกับงานแลวทุมเทความสามารถ และพยายามที่จะทําใหงานสําเร็จดวยความเต็มใจ<br />

เพื่อใหขาราชการผูปฏิบัติงานในระดับหัวหนางานที่มีผูใตบังคับบัญชาหรือผูตามในการปฏิบัติงานหรือ<br />

เจาหนาที่กลุมพัฒนาระบบและขาราชการอื่นๆ ที่สนใจ สามารถแสดงออกถึงความเปนผูนําโดยการปฏิบัติที่ถูกตองบน<br />

พื้นฐานขอมูลและหลักวิชาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนประพฤติตนเปนตัวอยางที่ดี สามารถเปนตนแบบที่ผูอื่น ใหการ<br />

ยอมรับ สรางภาพพจนที่ดีใหเกิดขึ้นแกองคการ โดยในแตละปงบประมาณจะมีการพิจารณาจัดอบรมในทักษะทางการบริหารที่<br />

หลากหลายแตกตางกัน<br />

กลุมเปาหมาย (๑) ผูบริหารที่ปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงผูอํานวยการกอง/กลุม หรือขาราชการระดับชํานาญการพิเศษ<br />

ที่ปฏิบัติงานในฐานะหัวหนากลุมงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(๒) เจาหนาที่อื่นๆ ที่เกี่ยวของ<br />

ตัวชี้วัด จํานวน ๓๐ คน/๑ รุน ในทุกปงบประมาณ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ,<br />

โครงการจัดอบรมภาวะผูนํา , รายงานผล/รายชื่อผูผานการอบรมจากฐานขอมูล <strong>HR</strong>D ในระบบ OA<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

53


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

(๒) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “หลักสูตรผูนําการเปลี่ยนแปลง (Leading Change)”<br />

การขับเคลื่อนองคกรใหไปสูวิสัยทัศน (Vision) และบรรลุพันธกิจ (Mission) จําเปนตองผลักดันกลยุทธ<br />

กระบวนการบริหารจัดการทุกมิติใหมีการประสานงานสอดคลองเปนหนึ่งเดียวกัน เพื่อใหเกิดพลังรวม (Synergy) เกิดผล<br />

ทางปฏิบัติอยางมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพสูงสุด และในการขับเคลื่อนดังกลาวจําเปนตองมีผูนําที่มีความรู<br />

ความสามารถ ทั้งศาสตรและศิลป สามารถที่จะเปนผูนําการเปลี่ยนแปลงภายใตกระแสของความคิดตางของสมาชิกใน<br />

องคกร ดังนั้นผูนําการเปลี่ยนแปลงจะตองมีความเชี่ยวชาญทั้งหลักการและแนวทางการปฏิบัติเปนอยางดีที่ยอมรับ ศรัทธา<br />

และสามารถผนึกพลังความรวมมือ รวมใจของทุกคนในองคกร อีกทั้ง ยุทธศาสตรการบริหารทรัพยากรบุคคลของสํานักงาน<br />

ก.พ. ที่กําหนดใหหนวยงานมีแผนสรางและพัฒนาผูบริหารอยางตอเนื่อง โดยกําหนดใหมีหลักสูตรผูนําการเปลี่ยนแปลง<br />

เพื่อใหผูบริหารระดับกลางขึ้นไปสามารถปรับตัวและเขาใจสถานการณที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว รวมทั้งปรับเปลี่ยน<br />

แผนการรองรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัวไดอยางเทาทัน<br />

กลุมเปาหมาย (๑) ผูบริหารที่ปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงผูอํานวยการกอง/กลุม หรือขาราชการระดับชํานาญการพิเศษ<br />

ที่ปฏิบัติงานในฐานะหัวหนากลุมงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(๒) เจาหนาที่อื่นๆ ที่เกี่ยวของ<br />

ตัวชี้วัด จํานวน ๓๐ คน/๑ รุน ในทุกปงบประมาณ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ,<br />

โครงการจัดอบรมภาวะผูนํา , รายงานผล/รายชื่อผูผานการอบรมจากฐานขอมูล <strong>HR</strong>D ในระบบ OA<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

54


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

แผนงานการบริหารมาตรฐานงานดานบุคคลใหระบบงานมีความรวดเร็ว<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๕) กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

เปาประสงค (๗) มีการปรับปรุงกระบวนงานดานการบริหารทรัพยากรบุคคลใหมีประสิทธิภาพ<br />

ตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของคูมือปฏิบัติงาน (SOP) ที่จัดทําตามระบบคุณภาพของ อย. (QS) /ปรับปรุงเพื่อใหทัน<br />

ตอความตองการของหนวยงานและมีความถูกตองตามกฎระเบียบที่เกี่ยวของ6<br />

คําอธิบาย<br />

ดําเนินการจัดทําคูมือปฏิบัติงาน (Standard Operation Procedure: SOP) ในทุกกระบวนงานที่สําคัญของงาน<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong>M) ใหครบถวน ไดแก การสรรหาบุคลากร (กรณีสรรหาใหม/รับโอนจากภายนอก) เปนตน โดยยึด<br />

หลักการและแนวทางการจัดทําตามกฎระเบียบสํานักงาน ก.พ. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารทรัพยากรบุคคล รวมถึง<br />

การเปรียบเทียบความรวดเร็วในการทํางานในกระบวนการเดียวกันกับหนวยงานตางๆ ภายใน<strong>กระทรวงสาธารณสุข</strong> เพื่อให<br />

เปนไปอยางมีมาตรฐานเดียวกัน<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของ SOP ที่จัดทําตามระบบคุณภาพของ อย. (QS) /ปรับปรุงเพื่อใหทันตอความตองการ<br />

ของหนวยงานและมีความถูกตองตามกฎระเบียบที่เกี่ยวของ<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ ประกาศใชปฏิบัติงาน (SOP) และเผยแพรใน Website<br />

๔ เสนอคูมือปฏิบัติงาน (SOP) ใหผูอํานวยการ (เลขานุการกรม) อนุมัติ<br />

๓ เสนอปฏิบัติงาน (SOP) ใหหัวหนาฝายการเจาหนาที่ ตรวจสอบ ตรวจทาน<br />

๒ จัดทําปฏิบัติงาน (SOP) ในงานบริหารทรัพยากรบุคคลจํานวน ๑ เรื่อง<br />

๑ ทบทวนปฏิบัติงาน (SOP) เกี่ยวกับงานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : เก็บและรวบรวมขอมูลจากเอกสารที่เกี่ยวของ<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๒๔๑<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๒๔๑<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : (๑) คาเปาหมาย ปที่ ๑ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ระดับความสําเร็จ = ๕<br />

(จัดทําปฏิบัติงาน (SOP) ๑ เรื่อง คือ งานสรรหาบรรจุแตงตั้ง)<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๒ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ระดับความสําเร็จ = ๕ (ประกาศใช)<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๓ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ระดับความสําเร็จ = ๕ (ทบทวน SOP)<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๔ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ระดับความสําเร็จ = ๕ (ทบทวน SOP)<br />

(๒) สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

๗<br />

๗ แผนงานการบริหารมาตรฐานงานดานบุคคลใหระบบงานมีความรวดเร็ว ในที่นี้หมายถึง การพัฒนา/ปรับปรุงคูมือปฏิบัติงาน (SOP) ใหเปนไปตามระบบคุณภาพของ อย. (QS)<br />

ซึ่งที่ผานมามี ๒ กระบวนการ ไดแก P-S๓-๙ เครื่องราชยฯ และ P-S๓-๗ ประเมินบุคคลและผลงานเพื่อเลื่อนตําแหนงชนก.-ชนก.พิเศษ<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

55


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการพัฒนาความรูและทักษะดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๕) กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

เปาประสงค (๘) พัฒนาหนวยงานและบุคลากรดาน <strong>HR</strong> ใหมีความเขมแข็ง<br />

ตัวชี้วัด จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมายที่ไดรับการพัฒนา<br />

คําอธิบาย<br />

โครงการพัฒนาความรูและทักษะดานการบริหารทรัพยากรบุคคล แบงเปน ๒ หลักสูตร คือ<br />

(๑) หลักสูตร “การเปนโคชที่เปนเลิศ (Coaching for Improvement)”<br />

บุคลากร ในองคการนับเปนทรัพยากรสวนสําคัญอยางยิ่งในการถายทอดและสงตอความรูความสามารถ<br />

และเพิ่มประสิทธิผลในการบริหารงานขององคกร เนื่องจากเปนทรัพยากรที่สามารถพัฒนาความรูความสามารถและทักษะ<br />

ตางๆ ใหเทาทัน และสรางความไดเปรียบในการแขงขันในสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วทั้งภายในและ ภายนอก<br />

องคกรในสภาพปจจุบันได ดังนั้น การเรียนรูในเรื่องการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรบุคคลอยางเปนระบบและ<br />

มีประสิทธิภาพ จึงเปนเรื่องที่จําเปนอยางยิ่งตอหัวหนางานและผูปฏิบัติงานดานการพัฒนาทรัพยากรมนุษยในองคกร เพื่อการ<br />

ตอบปญหาในการบริหารจัดการดานบุคลากรในเรื่องความแตกตางที่หลากหลายระหวางความคาดหวังขององคกร ผูบริหาร<br />

หนวยงาน หัวหนากลุม/ฝายและบุคลากรผูปฏิบัติงาน ดังนั้นการสงเสริมใหขาราชการของสํานักงานคณะกรรมการอาหาร<br />

และยา ในกลุมที่เปนหัวหนางานและ/หรือเจาหนาที่ผูมีหนาที่ในการบริหาร / พัฒนาทรัพยากรบุคคลในองคกรไดรับการพัฒนา<br />

ความรูความสามารถและมีทักษะในการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษยอยางถูกตองเปนไปในทิศทางเดียวกัน พรอมทั้งสามารถ<br />

นําความรูที่ไดไปพัฒนางานในความรับผิดชอบไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

กลุมเปาหมาย เจาหนาที่ที่ไดรับการพัฒนาเพื่อสรางภาวะผูนําอยางตอเนื่อง ไดแก หัวหนากลุมพัฒนาระบบ/หัวหนา<br />

กลุมงานอื่นๆ และ/หรือขาราชการที่มีหนาที่ในการพัฒนาบุคลากรในหนวยงานตางๆ ของสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา<br />

ตัวชี้วัด จํานวน ๓๐ คน/๑ รุน ในทุกปงบประมาณ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ,<br />

โครงการอบรม , รายงานผล/รายชื่อผูผานการอบรมจากฐานขอมูล <strong>HR</strong>D ในระบบ OA<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

56


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

(๒) หลักสูตรดาน Human Resource Development (<strong>HR</strong>D ในทุกปงบประมาณ เริ่มตั้งแตปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗ เปนตนไป<br />

การอบรมดานนวัตกรรมการบริหารและพัฒนามนุษยไปสูองคกรยุคใหม มนุษยเปนปจจัยสําคัญที่สุดในการ<br />

นําพาองคการไปสูความอยูรอด และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน เชน หลักสูตรฝกอบรมการบริหารและพัฒนามนุษย<br />

ยุคใหม ที่ใชเวลาในการฝกอบรมทั้งสิ้น ๔๘ ชั่วโมง ประกอบดวย ๖ Module ที่มีจุดเดนของเนื้อหาวิชาที่เนนใหเห็นถึงบทบาท<br />

และความสําคัญของงานบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย<br />

ดังนั้น กองแผนงานและวิชาการอาหารและยา จึงเล็งเห็นประโยชนที่ไดรับจากการเขารวมหลักสูตร<br />

ฝกอบรมดานนวัตกรรมการบริหารและพัฒนามนุษยไปสูองคกรยุคใหม จึงเห็นควรใหปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖ เริ่มดําเนินการ<br />

ประสานงานเพื่อทํา MOU กับมหาวิทยาลัยที่มีความเชี่ยวชาญ อาทิ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนตน เพื่อรองรับกิจกรรมในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๙ ใหกลุมเปาหมายไดรับการ<br />

ฝกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวของกับงาน <strong>HR</strong>D ในมหาวิทยาลัยที่ทํา MOU ไว จํานวน ๕ คน /๑ รุน ในทุกปงบประมาณ<br />

กลุมเปาหมาย เจาหนาที่ที่ไดรับการพัฒนาเพื่อสรางภาวะผูนําอยางตอเนื่อง ไดแก หัวหนากลุมพัฒนาระบบและฝาย<br />

การเจาหนาที่ที่มีหนาที่ในการพัฒนาบุคลากรในหนวยงานตางๆ ของสํานักงานคณะกรรมการอาหาร<br />

และยา<br />

ตัวชี้วัด จํานวน ๕ คน /๑ รุน ในทุกปงบประมาณ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ,<br />

รายงานผลผูผานการอบรมจากฐานขอมูล <strong>HR</strong>D ในระบบ OA<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

57


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการพัฒนาและจัดทําหลักเกณฑประกันคุณภาพการฝกอบรม<br />

และการประเมินประสิทธิผลและการฝกอบรม i<br />

โครงการประเมินประสิทธิผลและความคุมคาของการฝกอบรม<br />

โดยการติดตามและประเมินผลผูผานหลังการฝกอบรมแลว ๓ เดือน ii<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๕) กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

(๗) สัดสวนคาใชจายของกิจกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลประมาณรายจายเหมาะสม สะทอนผลิตภาพ<br />

และคุมคา<br />

เปาประสงค (๙) มีระบบการประกันคุณภาพการฝกอบรม/การพัฒนาบุคคลากร<br />

ตัวชี้วัด i ๘ ระดับความสําเร็จของการพัฒนาและจัดทําหลักเกณฑประกันคุณภาพการฝกอบรมและการประเมิน<br />

ประสิทธิผลการฝกอบรม<br />

ตัวชี้วัด ii ๙ รอยละของผูเขาอบรม “ผาน” ตามเกณฑการประเมินผลหลังการฝกอบรม ๓ เดือน<br />

คําอธิบาย<br />

ตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ.๒๕๕๑ – ๒๕๕๕) ในประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓<br />

วาดวยการมุงสูองคการที่มีขีดสมรรถนะสูง บุคลากรมีความพรอม และมีความสามารถในการเรียนรู คิดริเริ่ม เปลี่ยนแปลงและ<br />

ปรับตัวไดอยางเหมาะสมกับสถานการณตางๆ ซึ่งสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(พ.ศ.๒๕๕๓–๒๕๕๖) ที่กําหนดเปาประสงคไวอยางชัดเจนวา องคกรตองไดรับการพัฒนาใหเปนองคกรที่มีขีดสมรรถนะสูง<br />

โดยบุคลากรจะตองไดรับการพัฒนาใหมีความพรอมในทุกๆ ดาน เพื่อการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ ซึ่งการฝกอบรม<br />

เปนเครื่องมือหนึ่งที่นิยมใชในการพัฒนา แตเนื่องจากการฝกอบรมเปนการลงทุนที่ใชงบประมาณเปนจํานวนมาก ดังนั้น<br />

เกณฑของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) หมวด ๕ การมุงเนนทรัพยากรบุคคล ขอ <strong>HR</strong>๔ กําหนดใหสวน<br />

ราชการตองมีระบบการประกันคุณภาพของการฝกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผลและความคุมคาของการพัฒนาและ<br />

การฝกอบรมบุคลากร โดยระบบการประกันคุณภาพงานฝกอบรม ถือเปนการประกันคุณภาพที่สวนราชการจะตองดําเนินงาน<br />

การจัดทํามาตรฐานการฝกอบรมที่มีลักษณะการดําเนินการคลายคลึงกับการประกันคุณภาพภายใน เพื่อใหมั่นใจวา<br />

งานฝกอบรมไดมาตรฐาน<br />

จากเหตุผลดังกลาว สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงไดดําเนินการจัดทําคูมือขั้นตอน<br />

การปฏิบัติงานการฝกอบรม พรอมทั้งกําหนดเกณฑมาตรฐานการประกันคุณภาพการฝกอบรมขึ้นโดยเกณฑดังกลาว<br />

ประกอบดวย ๓ องคประกอบยอย ไดแก ๑) การเตรียมการกอนการฝกอบรม ๒) การดําเนินการฝกอบรม และ<br />

๓) การดําเนินการหลังการฝกอบรม<br />

โดยหลักเกณฑมาตรฐานการประกันคุณภาพการฝกอบรม จะประกอบไปดวยรายละเอียดของวัตถุประสงค<br />

เกณฑมาตรฐาน และเกณฑการประเมินเพื่อใชในการเตรียมความพรอมและพัฒนากระบวนการฝกอบรมขององคกร ทั้งนี้<br />

เพื่อใหการจัดการฝกอบรมของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เกิดประโยชนสูงสุด ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ จึงได<br />

เริ่มดําเนินการติดตามประเมินประสิทธิผลและความคุมคาของการฝกอบรมทั้งรายโครงการและรายบุคคลที่หนวยงาน<br />

ในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาเปนผูจัดทุกโครงการ รวมทั้งหลักสูตรที่สงบุคลากรเขารับการฝกอบรมกับหนวยงาน<br />

ภายนอก นําขอคิดเห็นและขอเสนอแนะจากแบบประเมินผลหลังการฝกอบรม ๓ เดือน ตามแบบประเมินผลหลังการฝกอบรม<br />

๓ เดือน ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (F-T๔-๔) ที่ประเมินโดยตัวผูเขาอบรมเอง และผูบังคับบัญชาที่เหนือขึ้นไป<br />

๑ ระดับ นําไปปรับปรุงแกไขเกณฑการประกันคุณภาพการฝกอบรม และการประเมินประสิทธิผลและความคุมคาของ<br />

การฝกอบรมตอไป<br />

๘<br />

ตัวชี้วัด โครงการพัฒนาและจัดทําหลักเกณฑประกันคุณภาพการฝกอบรมและการประเมินประสิทธิผลและการฝกอบรม สอดรับกับปจจัยที่ (๕)<br />

กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

๙<br />

ตัวชี้วัด โครงการประเมินประสิทธิผลและความคุมคาของการฝกอบรมโดยการติดตามและประเมินผลผูผานหลังการฝกอบรมแลว ๓ เดือน สอดรับ<br />

กับปจจัยที่ (๗) สัดสวนคาใชจายของกิจกรรมการบริหารทรัพยากรบุคคลประมาณรายจายเหมาะสม สะทอนผลิตภาพและคุมคา<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

58


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการพัฒนาและจัดทําหลักเกณฑประกันคุณภาพการฝกอบรมและการประเมิน-<br />

ประสิทธิผลการฝกอบรม<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ พรอมขออนุมัติประกาศใช ประชาสัมพันธคูมือการฝกอบรม และเกณฑใหม รวมทั้งแบบฟอรม<br />

ประเมินผลฯ<br />

๔ ปรับปรุงเกณฑฯ , คูมือการฝกอบรม และแบบฟอรมประเมินผลหลังการฝกอบรมใหม<br />

๓ วิเคราะหและจัดทําแบบฟอรมประเมินผลหลังการฝกอบรม ๓ เดือนฉบับปรับปรุงนําเสนอที่ประชุม<br />

คณะทํางานใหความเห็น<br />

๒ จัดทําขอเสนอแนะการปรับปรุงเกณฑ และคูมือการฝกอบรมนําเสนอที่ประชุมคณะทํางานใหความเห็น<br />

๑ วิเคราะหผลการประเมินฯ ตามเกณฑมาตรฐานการประกันคุณภาพการฝกอบรมและเกณฑประเมิน<br />

ประสิทธิผลความคุมคาของการฝกอบรมของปงบประมาณที่ผานมา รวมทั้งวิเคราะหปญหาและ<br />

อุปสรรคที่เกิดขึ้น<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ,<br />

หลักเกณฑประกันคุณภาพการฝกอบรมและการประเมินประสิทธิผลการฝกอบรม<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ชื่อตัวชี้วัด : รอยละของผูเขาอบรม “ผาน” ตามเกณฑการประเมินผลหลังการฝกอบรม ๓ เดือน<br />

เกณฑการใหคะแนน : ผูเขาอบรม “ผาน” ตามเกณฑการประเมินผลหลังการฝกอบรม ๓ เดือน รอยละ ๗๐ ขึ้นไปของ<br />

จํานวนผูไดรับการอบรมทั้งหมดในแตละปงบประมาณ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ,<br />

แบบฟอรมประเมินประสิทธิผลและความคุมคาของโครงการฝกอบรม , รายงานประเมินประสิทธิผลและความคุมคาของ<br />

การฝกอบรมโดยการติดตามและประเมินผลผูผานหลังการฝกอบรมแลว ๓ เดือน<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

59


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการจัดทํา SOP ของกระบวนการที่สําคัญ และ/หรือ<br />

มีความเสี่ยงตอการถูกฟองรองของงานบริหารทรัพยากรบุคคลตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล และ มิติที่ ๔ ความพรอมรับผิดดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๕) กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

(๑๔) ความโปรงใสของกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล และพรอมใหมีการตรวจสอบ<br />

เปาประสงค (๑๐) มีระบบการควบคุมภายในดานการบริหารทรัพยากรบุคคลที่สามารถตรวจสอบได เพื่อลดความเสี่ยง<br />

ตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของการควบคุมภายในดานการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อลดความเสี่ยงในการถูก<br />

ฟองรองของงานบริหารทรัพยากรบุคคลตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

คําอธิบาย<br />

นโยบายคุณภาพ อย. : สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา พัฒนาบริการสูการยอมรับระดับสากล<br />

ยึดมั่นในผล โปรงใส เปนธรรม<br />

ระบบคุณภาพ (Quality System) หมายถึง ระบบที่เปนเครื่องมือในการควบคุมและประกันคุณภาพของ<br />

หนวยงาน ซึ่งประกอบดวยโครงสรางขององคกร หนาที่ความรับผิดชอบ วิธีดําเนินการ กระบวนการดําเนินการ ทรัพยากร<br />

เพื่อนํานโยบายการบริหารงานดานคุณภาพไปปฏิบัติ การดําเนินการดังกลาวจําเปนตองจัดทําเปนเอกสาร เพื่อสามารถ<br />

ดําเนินการรักษาระบบคุณภาพไดอยางเหมาะสม และสามารถนําไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการควบคุมภายในดานการบริหารทรัพยากรบุคคล เพื่อลดความเสี่ยงในการ<br />

ถูกฟองรองของงานบริหารทรัพยากรบุคคลตามระบบคุณภาพ อย. (QS)<br />

ขอเสนอแนะคณะทํางานฯ ครั้งที่ ๗/๕๕ ; การพัฒนา/ปรับปรุงคูมือปฏิบัติงาน (SOP) ใหเปนไปตามระบบคุณภาพ (QS)<br />

ของ อย. ที่ผานมามี ๒ กระบวนการ ไดแก เครื่องราชยฯ และประเมินบุคคลและผลงานเพื่อเลื่อนตําแหนงชํานาญการ-<br />

ชํานาญการพิเศษ ดังนั้นเปาหมายของปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ คือการทบทวนคูมือปฏิบัติงาน (SOP) ฉบับเดิมใหเปนไป<br />

ตามระบบคุณภาพ (QS) ของ อย. และจัดทําคูมือปฏิบัติงาน (SOP) ใหม ไดแก งานสรรหาเพื่อบรรจุ และการเลื่อน<br />

เงินเดือน และในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ จะยังไมวัดเชิงประสิทธิภาพของกระบวนงาน เพื่อรอจัดทําคูมือปฏิบัติงาน<br />

(SOP) ทั้ง ๔ เรื่องใหมใหแลวเสร็จกอน<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ ประกาศใช SOP และเผยแพรใน Website<br />

๔ เสนอ SOP ใหผูอํานวยการ (เลขานุการกรม) อนุมัติ<br />

๓ เสนอ SOP ใหหัวหนาฝายการเจาหนาที่ ตรวจสอบ ตรวจทาน<br />

๒ จัดทํา SOP ในงานบริหารทรัพยากรบุคคลจํานวน ๒ เรื่อง<br />

(ป ๕๖ สรรหาบรรจุแตงตั้ง และเลื่อนเงินเดือน)<br />

๑ ทบทวน SOP เกี่ยวกับงานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : เก็บและรวบรวมขอมูลจากเอกสารที่เกี่ยวของ<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๒๔๑<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : นางไทรทอง ศิลาภัย เบอรติดตอ : ๗๒๔๑<br />

ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

60


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

หมายเหตุ : (๑) คาเปาหมาย ปที่ ๑ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ระดับความสําเร็จ = ๕<br />

(จัดทํา SOP รวม ๒ เรื่อง คือ งานสรรหาบรรจุแตงตั้งและเลื่อนเงินเดือน)<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๒ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ระดับความสําเร็จ = ๕ (ประกาศใช)<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๓ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ระดับความสําเร็จ = ๕ (ทบทวน SOP)<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๔ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ระดับความสําเร็จ = ๕ (ทบทวน SOP)<br />

(๒) สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

61


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการพัฒนาและทบทวน Competency<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๕) กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

เปาประสงค (๑๑) มีระบบการพัฒนาบุคลากร (เนน การเปลี่ยนแปลง)<br />

ตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของการพัฒนาและทบทวนสมรรถนะของบุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

คําอธิบาย<br />

พระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งมีผลบังคับใชตั้งแตมกราคม ๒๕๕๑ สงผลให<br />

มีการเปลี่ยนแปลงระบบการบริหารขาราชการพลเรือนหลายประการ รวมถึงทิศทางการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่ไดนําหลัก<br />

สมรรถนะมาใชในการบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อใหการปฏิบัติงานของขาราชการและสวนราชการมีประสิทธิภาพและ<br />

ประสิทธิผลยิ่งขึ้น ประกอบกับ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๒-๒๕๕๖ ใน<br />

การประชุม เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๕๒ ซึ่งมีเปาประสงคเพื่อพัฒนาและเพิ่มพูนความรู ทักษะ และสมรรถนะของ<br />

ขาราชการทุกระดับใหปฏิบัติงานอยางมืออาชีพ เกิดผลสัมฤทธิ์คุมคา เปนที่เชื่อถือศรัทธาของประชาชน ซึ่งสอดคลองกับ<br />

เจตนารมณตาม มาตรา ๗๒ ของ พรบ. ระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ.๒๕๕๑ ซึ่งบัญญัติใหสวนราชการ มีหนาที่ดําเนินการ<br />

เพิ่มพูนประสิทธิภาพและเสริมสรางแรงจูงใจแกขาราชการพลเรือนสามัญ เพื่อใหขาราชการพลเรือนสามัญมีคุณภาพ คุณธรรม<br />

จริยธรรม คุณภาพชีวิตมีขวัญและกําลังใจในการปฏิบัติราชการใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจภาครัฐ และมติ ก.พ. ในการประชุม<br />

เมื่อวันที่ ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๒ ที่เห็นชอบในหลักเกณฑและวิธีการพัฒนาขาราชการเพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพและ<br />

เสริมสรางแรงจูงใจแกขาราชการพลเรือนตามหลัก ๕ ประการ ประกอบดวย (๑) หลักการกระจายอํานาจและการมีสวนรวม<br />

(๒) หลักความคุมคาและประหยัด (๓) หลักความเปนมาตรฐาน (๔) หลักสมรรถนะ และ (๕) หลักการพัฒนาที่สมดุล<br />

สํานักงาน ก.พ. จึงไดกําหนดสมรรถนะหลักสําหรับขาราชการ ตามหลักการของหนังสือเวียนสํานักงาน<br />

ก.พ. ที่ นร ๑๐๐๘/ว ๒๗ ลงวันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒ เรื่อง มาตรฐานและแนวทางการกําหนดความรู ความสามารถ ทักษะ<br />

และสมรรถนะที่จําเปนสําหรับตําแหนงขาราชการพลเรือนสามัญ โดยใหคําจํากัดความของสมรรถนะหลัก วาเปนคุณลักษณะ<br />

รวมกันของขาราชการพลเรือนทั้งระบบเพื่อเปนการหลอหลอมคานิยมและพฤติกรรมที่พึงประสงครวมกัน<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ไดมีการกําหนดสมรรถนะสําหรับบุคลากรไว ๔ ประเภท คือ<br />

สมรรถนะหลัก (Core Competency) สมรรถนะเฉพาะตามลักษณะงานที่ปฏิบัติ (Functional Competency) สมรรถนะ<br />

ทางการบริหาร (Management Competency) และสมรรถนะทางเทคนิค (Technical Competency) ของบุคลากร แตยัง<br />

ขาดคําอธิบายในรายละเอียดของแตละสมรรถนะที่ครบถวนสมบูรณ ดังนั้นกองแผนงานและวิชาการไดตระหนักถึงความสําคัญ<br />

และเล็งเห็นถึงประโยชนที่จะไดรับจากการกําหนดสมรรถนะที่ครบถวนและมีคําอธิบายที่ชัดเจนพรอมนําไปใชประโยชนในการ<br />

พัฒนาบุคลากร และนําไปสูเปาหมายสูงสุดคือเพื่อการประเมินผลการปฏิบัติราชการตอไป จึงมีการวางแผนการพัฒนาและ<br />

ทบทวนสมรรถนะของบุคลากร อย. ใหแลวเสร็จภายในระยะเวลา ๔ ป<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

62


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการพัฒนาและทบทวนสมรรถนะของบุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้ (ป พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙)<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ นําเสนอผูบริหารเพื่อประกาศใชตอไป<br />

๔ จัดทําคูมือสรุปสมรรถนะของบุคลากรสํานักงานฯ ๑๘ สายงาน แลวเสร็จ<br />

๓ จัดทําโครงการพัฒนาและทบทวนสมรรถนะของบุคลากรสํานักงานฯ ในรูปแบบการประชุม<br />

เชิงปฏิบัติการโดยเชิญผูแทนทุกสํานัก/กอง/กลุมในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

จํานวน ๙ สายงาน (จนครบ ๑๘ สายงาน) เขารวมประชุมหารือเพื่อจัดทํารายละเอียดสมรรถนะ<br />

และจัดเทียบสมรรถนะเขากับตําแหนงงาน<br />

๒ จัดทําโครงการพัฒนาและทบทวนสมรรถนะของบุคลากรสํานักงานฯ ในรูปแบบการประชุม<br />

เชิงปฏิบัติการโดยมีผูแทนทุกสํานัก/กอง/กลุมในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

จํานวน ๙ สายงาน เขารวมประชุมหารือเพื่อจัดทํารายละเอียดสมรรถนะ และจัดเทียบสมรรถนะ<br />

เขากับตําแหนงงาน<br />

๑ ติดตอทีมงานที่ปรึกษาหรือวิทยากรที่มีความรูความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบสมรรถนะเพื่อวิเคราะห<br />

ขอมูลการดําเนินงานในป ๕๒-๕๕ พรอมทั้งกําหนดทิศทางการพัฒนาและทบทวนสมรรถนะของ<br />

บุคลากรสํานักงานฯ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการจัดทําขีดสมรรถนะของบุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ,<br />

เอกสาร/คูมือ Competency Dictionary<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กอง ช./สล./ทุกสํานัก/กอง/กลุม เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : (๑) คาเปาหมาย ปที่ ๑ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ระดับความสําเร็จ = ๑<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๒ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ระดับความสําเร็จ = ๒ หรือ ๓<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๓ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ระดับความสําเร็จ = ๔ หรือ ๕<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๔ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ระดับความสําเร็จ = ๕ นําสมรรถนะไปใชเพื่อการพัฒนา<br />

(๒) สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

63


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการจัดทํา Training and Development Road Map ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๕) กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

เปาประสงค (๑๑) มีระบบการพัฒนาบุคลากร (เนน การเปลี่ยนแปลง)<br />

ตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของการจัดทํา Training and Development Road Map<br />

คําอธิบาย<br />

Training and Development Road Map เปนเสนทางการฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่กําหนดไวอยางเปน<br />

ระบบแบบแผน โดยระบุวาบุคลากรในแตละตําแหนง/สายงาน จะตองหรือควรจะไดรับการพัฒนาและฝกอบรมเรื่องใด<br />

หลักสูตรอะไรบาง และเมื่อใดที่เหมาะสมเพื่อใหสามารถพัฒนาองคความรูใหทันตอการทํางานในหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย<br />

Training and Development Road Map จึงเปรียบเสมือนแผนที่ในการเดินทาง และความกาวหนาในสายอาชีพ<br />

ที่จะบอกวา การจะเดินทางไปยังจุดหมายหนึ่ง ตองมีความรูความสามารถอะไรติดตัวไปบาง และเมื่อเดินทางผานไปในแตละ<br />

ชวงตองมีการเติมเต็มความรูและประสบการณในเรื่องใดเพิ่มเติม กองแผนงานและวิชาการเล็งเห็นความสําคัญของ<br />

การจัดเตรียมแผนที่ดังกลาวใหกับบุคลากร โดยวางแผนดําเนินการรวบรวมขอมูลตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ เปนตนไป<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการจัดทํา Training and Development Road Map<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ กําหนดหลักสูตรฝกอบรม และพัฒนาตามตําแหนงงานที่สอดคลองกับเสนทางความกาวหนา<br />

ในสายอาชีพ จํานวน ๒ สายงาน คือ (๑) สายเภสัชกร และ (๒) สายนักวิชาการอาหารและยา<br />

๔ Training Development Road Map Master Plan ไดรับการอนุมัติกําหนดหลักสูตรฝกอบรม<br />

และพัฒนาตําแหนงงานที่สอดคลองกับเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ จํานวน ๒ สายงาน คือ<br />

(๑) สายเภสัชกร และ (๒) สายนักวิชาการอาหารและยา<br />

๓ Mapping หลักสูตรการอบรมตามสมรรถนะ (Competency) พรอม (ราง) Training<br />

Development Road Map Master Plan<br />

๒ วิเคราะหขอมูลตามสมรรถนะ (Competency) ตําแหนงงาน และ Job description จํานวน<br />

๒ สายงาน คือ (๑) สายเภสัชกร และ (๒) สายนักวิชาการอาหารและยา<br />

๑ รวมรวบขอมูลหลักสูตรการฝกอบรมของบุคลากรภายในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

ในชวง ๓ - ๕ ปที่ผานมา ประกอบกับแผนเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพของตําแหนงงาน<br />

(Career path) จํานวน ๒ สายงาน คือ (๑) สายเภสัชกร และ (๒) สายนักวิชาการอาหารและยา<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

64


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

หมายเหตุ : ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ เริ่มวางแผนและรวมรวบขอมูล<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๑ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ระดับความสําเร็จ = ๒ - ๓<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๒ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ระดับความสําเร็จ = ๔<br />

คาเปาหมาย ปที่ ๓ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ระดับความสําเร็จ = ๕<br />

สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

65


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๕) กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

เปาประสงค (๑๑) มีระบบการพัฒนาบุคลากร (เนน การเปลี่ยนแปลง)<br />

๑๐<br />

โครงการพัฒนาบุคลากรตามแผน IDP<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

ตัวชี้วัด9<br />

รอยละของขาราชการที่ไดรับการพัฒนาสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร<br />

รอยละความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร<br />

๑๑<br />

ตัวชี้วัด10 ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนพัฒนาสมรรถนะรายบุคคลของสํานักงานฯ ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ..........(รายป)<br />

คําอธิบาย<br />

สํานักงาน ก.พ. ไดกําหนดแนวทางปฏิบัติในการประเมินผลการปฏิบัติราชการของขาราชการพลเรือน<br />

สามัญใหมีการประเมินความสําเร็จของงาน อันเปนผลมาจากการปฏิบัติงานของเจาหนาที่แตละคนตลอดรอบการประเมินดวย<br />

วิธีการที่องคกรกําหนด โดยเปรียบเทียบผลงานกับเปาหมายที่กําหนดไวในแผนการปฏิบัติราชการ ตามเกณฑมาตรฐานผลงาน<br />

ที่ผูบังคับบัญชาและผูปฏิบัติงานกําหนดรวมกันไวตั้งแตตนรอบการประเมิน การประเมินผลการปฏิบัติราชการจะมาจากการ<br />

พิจารณา องคประกอบหลักของการประเมิน ๒ สวนไดแก การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน และการประเมินพฤติกรรมการ<br />

ปฏิบัติราชการหรือสมรรถนะ ซึ่งทั้ง ๒ สวนนี้นอกจากจะนําไปประกอบการพิจารณาความดีความชอบของผูปฏิบัติงานแลว ยัง<br />

ใชเปนขอมูลในการปรึกษาหารือรวมกันระหวางผูบังคับบัญชากับผูใตบังคับบัญชาเพื่อพัฒนาปรับปรุงการปฏิบัติราชการ และ<br />

นําไปจัดทําแผนพัฒนาตัวผูปฏิบัติงาน แตละรายหรือที่เรียกวา การจัดทําแผนพัฒนารายบุคคล (Individual Development<br />

Plan: IDP) เพื่อเปนการผลักดันใหบุคลากรของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสามารถพัฒนาตนเองไปสูเปาหมายตาม<br />

กลยุทธขององคกรไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

๑๐ ตัวชี้วัด สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙)<br />

๑๑ ตัวชี้วัด สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

66


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ชื่อตัวชี้วัด : รอยละของขาราชการที่ไดรับการพัฒนาสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร<br />

เกณฑการใหคะแนน : ขาราชการที่ไดรับการพัฒนาสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร คิดเปนรอยละ ๘๖<br />

ขึ้นไปของจํานวนขาราชการที่วางแผนการพัฒนาสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะรายบุคคล ในทุกปงบประมาณ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานผลประเมินและติดตามการพัฒนาสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของ<br />

บุคลากร<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กอง ช./สล./ทุกสํานัก/กอง/กลุม เบอรติดตอ ๗๒๖๓<br />

ชื่อตัวชี้วัด : รอยละความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร<br />

ปงบประมาณ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๒๕๕๖ รอยละ ๗๐<br />

๒๕๕๗ รอยละ ๗๒<br />

๒๕๕๘ รอยละ ๗๔<br />

๒๕๕๙ รอยละ ๗๖<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : สรุปผลการสํารวจความพึงพอใจในการพัฒนาบุคลากร<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนพัฒนาสมรรถนะรายบุคคลของสํานักงานฯ ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ..........(รายป)<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ รายงานผลการพัฒนาพรอมทั้งประเมินความสําเร็จของแผนฯ ใหผูบริหารทราบ<br />

๔ ติดตามผลการพัฒนาฯ รายไตรมาสและสรุปผล<br />

๓ แจงเวียนเกณฑหรือแนวทาง และวิธีการการพัฒนาสมรรถนะฯ ใหทุกหนวยงานทราบ<br />

๒ กําหนดเกณฑหรือแนวทาง และวิธีการการพัฒนาสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของ<br />

บุคลากร<br />

๑ ประเมินผลขาราชการที่ไดรับการสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร ในปที่ผานมา<br />

เพื่อนําผลการประเมินมาใชในการปรับปรุงการจัดทําเกณฑหรือแนวทางในการพัฒนาฯ ในปถัดไป<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานผลประเมินและติดตามการพัฒนาสมรรถนะตามแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของ<br />

บุคลากร<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กอง ช./สล./ทุกสํานัก/กอง/กลุม เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

67


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการพัฒนาความรูดานการบริหารการเปลี่ยนแปลง<br />

หลักสูตร Change Management<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๕) กิจกรรมและกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลมีความถูกตองและทันเวลา<br />

เปาประสงค (๑๑) มีระบบการพัฒนาบุคลากร (เนน การเปลี่ยนแปลง)<br />

ตัวชี้วัด จํานวนเจาหนาที่กลุมเปาหมาย(หัวหนากลุมงานของสํานัก/กอง/กลุม) ที่ไดรับการพัฒนา<br />

ดานการบริหารการเปลี่ยนแปลง<br />

คําอธิบาย<br />

เนื่องจากกระแสความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยูตลอดเวลา และมีความรุนแรง รวดเร็วขึ้นอยางมากในยุค<br />

ปจจุบัน ผลกระทบที่เกิดขึ้นมีทั้งดานเศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งเห็นตัวอยางไดจากการเสื่อม การลมสลายขององคการจํานวนมาก<br />

โดยไมมีขอจํากัดในเรื่องขนาด (ใหญ/เล็ก) ความเปนเจาของ (ภาครัฐ/ภาคเอกชน) หรือระดับการพัฒนาของประเทศ<br />

(U.S.A/ไทย) องคการที่จะดํารงอยูไดนั้นจะตองมีความสามารถในการรับมือกับความเปลี่ยนแปลงตางๆ ที่เกิดขึ้นอยาง<br />

เหมาะสมทั้งในดานกลยุทธ ภาวะผูนํา โครงสราง ระบบ วัฒนธรรมองคกร การบริหารทรัพยากรบุคคล มิเชนนั้น การดํารงอยู<br />

อาจเปนเพียงเพื่อรอการเสื่อมสลายในวันขางหนา<br />

องคการที่มีประสิทธิภาพ คือ องคกรที่สามารถปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอมที่มีการเปลี่ยนแปลงตางๆ<br />

เกิดขึ้นอยางสม่ําเสมอ ดังนั้น ขาราชการมีความตระหนักในวิถีของความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา และความจําเปน<br />

เรงดวนที่จะตองมีการปรับเปลี่ยนเพื่อใหการทํางานที่มีประสิทธิภาพ โดยการใหบุคลากรกลุมเปาหมายเขารวมการอบรม<br />

หลักสูตร การบริหารการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองคการ (Change Management) เพื่อใหรับทราบและตระหนักในการ<br />

เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น พรอมรับมือและปรับเปลี่ยนในเชิงรุกเพื่อการจัดการความเสี่ยงนั้นๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

กลุมเปาหมาย (๑) ผูบริหารที่ปฏิบัติหนาที่ในตําแหนงผูอํานวยการกอง/กลุม หรือขาราชการระดับชํานาญการพิเศษ<br />

ที่ปฏิบัติงานในฐานะหัวหนากลุมงานของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(๒) เจาหนาที่อื่นๆ ที่เกี่ยวของ เชน เจาหนาที่กลุมพัฒนาระบบ<br />

ตัวชี้วัด จํานวน ๒๕ คน/๑ รุน ในทุกปงบประมาณ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ,<br />

โครงการอบรม , รายงานผล/รายชื่อผูผานการอบรมจากฐานขอมูล <strong>HR</strong>D ในระบบ OA<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ ๗๒๖๓<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

68


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการพัฒนาระบบฐานขอมูลดานการบริหารทรัพยากรบุคคล (DPIS)<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๖) มีระบบฐานขอมูลถูกตอง เที่ยงตรง ทันสมัย<br />

เปาประสงค (๑๒) มีระบบการจัดการฐานขอมูลดานทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพ<br />

ตัวชี้วัด รอยละความถูกตองของขอมูลรายบุคคลในระบบ DPIS ที่สามารถนําไปใชประโยชนได<br />

คําอธิบาย<br />

โปรแกรมระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลระดับกรม Departmental Personnel Information System (DPIS)<br />

เปนโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๓๑ เพื่อเปนเครื่องมือชวยในการบริหารจัดการเกี่ยวกับ<br />

ขาราชการและลูกจางประจําระดับกรม ภายใตโครงการ Government Manpower Planning and Information System<br />

มีการพัฒนาและปรับปรุงหลายครั้ง เพื่อใหทันกับความตองการ กฎ ระเบียบและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง จนไดระบบ DPIS<br />

Version ๒.๘ เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๒ Version ๓ ในป พ.ศ. ๒๕๔๖ และไดเปลี่ยนชื่อโปรแกรมเปน “โปรแกรมระบบสารสนเทศ<br />

ทรัพยากรบุคคลระดับกรม” และเผยแพรใหสวนราชการ นําไปปรับใชหลังคณะรัฐมนตรีมีมติในการประชุมเมื่อวันที่ ๒ มีนาคม<br />

๒๕๔๗ เห็นชอบกับระบบ DPIS Version ๓.๐ ที่สํานักงาน ก.พ. เสนอ และใหสวนราชการนําไปปรับใช จากนั้นสํานักงาน ก.พ.<br />

ไดพัฒนา DPIS Version ๓.๕ เพื่อใหสวนราชการไดใชระบบที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น<br />

สําหรับในป พ.ศ. ๒๕๕๑ ไดมีการประกาศ ใชพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

สํานักงาน ก.พ. จึงไดพัฒนาระบบ DPIS Version ๔.๐ เพื่อใชเปนระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลที่รองรับการบริหารงาน-<br />

บุคคลตาม พ.ร.บ. ฉบับใหม<br />

วัตถุประสงค<br />

๑. เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานประจําวันของกรมในสวนที่เกี่ยวของกับงานการเจาหนาที่<br />

๒. เพื่อใหสวนราชการมีระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลที่ใชเปนฐานในการวางแผนและการบริหารทรัพยากรบุคค<br />

๓. เพื่อสรางระบบสารสนเทศทรัพยากรบุคคลที่มีมาตรฐาน และสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางหนวยงาน<br />

ทั้งนี้ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามุงปรับปรุงและพัฒนาขอมูลบุคคลในระบบ DPIS ใหมีมีความถูกตอง<br />

ทันสมัยในเรื่อง ชื่อ – สกุล /ระดับ / ตําแหนง / สังกัด / และเงินเดือน สามารถนําไปใชในการบริหารงานบุคคลไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

69


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ชื่อตัวชี้วัด : รอยละความถูกตองของขอมูลรายบุคคลในระบบ DPIS ที่สามารถนําไปใชประโยชนได<br />

เกณฑการใหคะแนน : วัดจากรอยละความถูกตองของขอมูลรายบุคคลในระบบ DPIS ที่สามารถนําไปใชประโยชนได<br />

เปน ๕ ระดับ ดังนี้ (ป พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙)<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ ขอมูลมีความถูกตองรอยละ ๙๕<br />

๔ ขอมูลมีความถูกตองรอยละ ๙๐<br />

๓ ขอมูลมีความถูกตองรอยละ ๘๕<br />

๒ ขอมูลมีความถูกตองรอยละ ๘๐<br />

๑ ขอมูลมีความถูกตองรอยละ ๗๕<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : ระบบ DPIS<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายการเจาหนาที่สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๒๔๑<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : ฝายการเจาหนาที่สํานักงานเลขานุการ เบอรติดตอ : ๗๒๔๑<br />

กรม<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : (๑) คาเปาหมายปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ระดับความสําเร็จ = ๔<br />

คาเปาหมายปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ ระดับความสําเร็จ = ๔<br />

คาเปาหมายปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ ระดับความสําเร็จ = ๕<br />

คาเปาหมายปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ ระดับความสําเร็จ = ๕<br />

(๒) สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการโดย<br />

ความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะทํางานบริหารทรัพยากรบุคคล สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

70


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศดานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๒ ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๘) นําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช<br />

เปาประสงค (๑๒) มีระบบการจัดการฐานขอมูลดานทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพ<br />

ตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทรัพยากรบุคคล<br />

คําอธิบาย<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศ ถือเปนเครื่องมือหนึ่งที่ใชในการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานในโลกยุคปจจุบัน<br />

อีกทั้งทรัพยากรมนุษย ถือเปนสวนสําคัญที่มีผลตอการขับเคลื่อนการปฏิบัติงานและกําหนดทิศทางขององคกรนั้นวาจะเปนไป<br />

ในลักษณะใด ดังนั้น การนําเอาเทคโนโลยีสารสนเทศเขามาชวยในการพัฒนาระบบงานบริหารทรัพยากรมนุษย<br />

ใหมีประสิทธิภาพจึงมีสวนสําคัญกับการทํางานในยุคปจจุบัน เพื่อประสิทธิผลอันสูงสุดของการบริหารทรัพยากรบุคคลภายใน<br />

หนวยงานนั้นๆ<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศทรัพยากรบุคคล<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จในการทําสํารองขอมูลจากโปรแกรม DPIS ในรูปแบบ<br />

File นามสกุล .dmp โดยไมสงผลกระทบตอการใชงานของ User โดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ สํารองขอมูลวันละ ๑ ครั้ง<br />

๔ สํารองขอมูลสัปดาหละ ๑ ครั้ง<br />

๓ สํารองขอมูลเดือนละ ๑ ครั้ง<br />

๒ สํารองขอมูล ๓ เดือน/๑ ครั้ง<br />

๑ สํารองขอมูลจากโปรแกรม DPIS ในรูปแบบไฟลที่มีนามสกุล .dmp<br />

๖ เดือน/๑ ครั้ง<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ,<br />

รายงานขอมูลการสํารองขอมูล<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๕๙<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : น.ส.แกวตา แตงออน (ศูนย IT) เบอรติดตอ : ๗๐๗๑<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : (๑) ในชื่อโครงการเดิมจะมี (DPIS) ตอทาย แตในสวนที่ศูนย IT รับผิดชอบนั้นขอตัดคํายอภาษาอังกฤษออก<br />

เนื่องจากระบบสารสนเทศที่เกี่ยวของกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลมีหลายระบบ จึงไมควรจํากัดการพัฒนา<br />

อยูแคโปรแกรม DPIS เทานั้น<br />

(๒) สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

71


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการสํารวจความตองการ/ความพึงพอใจ<br />

ของหัวหนากลุมงาน และผูปฏิบัติงานที่มีตองานบริหารทรัพยากรบุคคลดาน <strong>HR</strong>M<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๓ ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๑๐) ความพึงพอใจของขาราชการตอนโยบาย มาตรการการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

เปาประสงค (๑๓) ความตองการของหัวหนากลุมงาน และผูปฏิบัติงาน ที่มีตองานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ตัวชี้วัด รอยละความพึงพอใจของหัวหนากลุมงาน และผูปฏิบัติงานที่มีตองานบริหารทรัพยากรบุคคล ดาน <strong>HR</strong>M<br />

คําอธิบาย<br />

-<br />

ชื่อตัวชี้วัด : รอยละความพึงพอใจของหัวหนากลุมงาน และผูปฏิบัติงานที่มีตองานบริหารทรัพยากรบุคคล ดาน <strong>HR</strong>M<br />

ปงบประมาณ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๒๕๕๖ รอยละ ๖๐<br />

๒๕๕๗ รอยละ ๖๓<br />

๒๕๕๘ รอยละ ๖๖<br />

๒๕๕๙ รอยละ ๖๙<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : สรุปผลการสํารวจความพึงพอใจของหัวหนากลุมงาน และผูปฏิบัติงานที่มีตองาน<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล ดาน <strong>HR</strong>M<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายการเจาหนาที่สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๑<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : ฝายการเจาหนาที่สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๑<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

72


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการสงเสริมและพัฒนาการจัดการความรูของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๓ ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๑๑) การสนับสนุนใหเกิดการเรียนรูและพัฒนา<br />

เปาประสงค (๑๔) มีระบบการจัดการความรู และสงเสริมใหเกิดบรรยากาศของการเรียนรู<br />

ตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จในการจัดการความรูของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

ตัวชี้วัด รอยละความพึงพอใจจากการจัดการความรู ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ......(รายป)<br />

คําอธิบาย<br />

“องคกรที่เปนเลิศดานการคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ” เปนหนึ่งในวิสัยทัศนของสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา ที่แสดงใหเห็นถึงการมุงสูองคกรสมรรถนะสูง (High Performance Organization) การวัด<br />

วิเคราะห และการจัดการความรู ถือวาเปนเครื่องมือหนึ่งในการที่จะบรรลุวิสัยทัศนดังกลาว อีกทั้งความรูเปนตนทุนและ<br />

สินทรัพยที่สําคัญขององคกร ซึ่งจําเปนตองดําเนินการบริหารจัดการความรูภายในองคกรใหเปนระบบและมีประสิทธิภาพ<br />

ปจจุบันสํานักงานฯ ไดมีกิจกรรมเพื่อใหเกิดการสรางองคความรูและนวัตกรรมใหมๆ ที่จะสนับสนุนงานคุมครองผูบริโภคดาน<br />

ผลิตภัณฑสุขภาพใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ นําไปสูองคกรแหงการเรียนรู (Learning Organization) ตอไป<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

73


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จในการจัดการความรูของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ สรุปและประเมินผล<br />

๔ สรางเครือขายและเผยแพรองคความรู (โดยจัดประกวดและเผยแพร KM) ประจําปงบประมาณ<br />

พ.ศ. ......<br />

๓ กํากับ ติดตาม ผลการจัดการความรู<br />

๒ ประชาสัมพันธและมีกิจกรรมการจัดการความรู<br />

๑ คณะทํางานดําเนินการแผนบริหารความรู วางแผนในการจัดการความรู<br />

(Knowledge Management Action Plan)<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : แบบประเมินและติดตามผล “การจัดการความรู”<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ชื่อตัวชี้วัด : รอยละความพึงพอใจจากการจัดการความรู ประจําปงบประมาณ พ.ศ......(รายป)<br />

ปงบประมาณ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๒๕๕๖ รอยละ ๗๓<br />

๒๕๕๗ รอยละ ๗๕<br />

๒๕๕๘ รอยละ ๗๗<br />

๒๕๕๙ รอยละ ๗๙<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : สรุปผลการสํารวจความพึงพอใจจากการจัดการความรู<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : กองแผนงานและวิชาการ (ฝ.๕) เบอรติดตอ : ๗๒๖๓<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

74


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management System: PMS)<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๓ ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๑๒) การมีระบบบริหารผลงาน และมีวิธีการประเมินผล การปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผล ซึ่งเชื่อมโยงกับ<br />

ผลตอบแทน<br />

เปาประสงค (๑๕) มีระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานที่มีรางวัลจูงใจสอดคลองตามผลการปฏิบัติงานของบุคลากร<br />

ตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของการพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน<br />

คําอธิบาย<br />

ระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน (PMS) เปนกระบวนการบริหารแบบบูรณาการที่เชื่อมโยงการวางแผน<br />

ยุทธศาสตร และเปาหมายขององคการ การพัฒนาผลการปฏิบัติงานการติดตามผลการปฏิบัติงานและการประเมินผลการ<br />

ปฏิบัติงาน โดยมุงเนน ความสอดคลองของผลการปฏิบัติงานของบุคคลใหเปนไปในทิศทางเดียวกับเปาหมายรวมขององคกร<br />

ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จึงไดดําเนินการจัดทํามาตรฐานตัวชี้วัด รายบุคคลของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาในการประเมินผลการปฏิบัติราชการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานบุคคล และ<br />

ลดปญหาในการประเมินผลการปฏิบัติราชการที่ไมไดมาตรฐาน<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการพัฒนาระบบการบริหารผลการปฏิบัติงาน<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ เสนออนุมัติมาตรฐานตัวชี้วัดรายบุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

๔ จัดทํา (ราง)มาตรฐานตัวชี้วัด<br />

๓ ประชุมคณะทํางานเพื่อพิจารณาตัวชี้วัดรายบุคคล<br />

๒ สํารวจหนาที่ความรับผิดชอบของขาราชการตามสายงานประเภทและตําแหนง<br />

๑ มีคําสั่งแตงตั้งคณะทํางาน จัดทํามาตรฐานตัวชี้วัดของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : เก็บและรวบรวมขอมูลจากทุกสํานัก/กอง/กลุม<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๒๔๑<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : นางไทรทอง ศิลาภัย เบอรติดตอ : ๗๒๔๑<br />

ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : (๑) คาเปาหมายปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ (จัดทํามาตรฐานตัวชี้วัด) ระดับความสําเร็จ = ๕<br />

คาเปาหมายปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ (ประกาศใชมาตรฐานตัวชี้วัด) ระดับความสําเร็จ = ๕<br />

คาเปาหมายปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ (ทบทวนมาตรฐานตัวชี้วัด) ระดับความสําเร็จ = ๕<br />

คาเปาหมายปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๙ (ทบทวนมาตรฐานตัวชี้วัด) ระดับความสําเร็จ = ๕<br />

(๒) สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

75


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

กิจกรรมการจัดทําแผนปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐพรอมทั้งกํากับติดตาม<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๔ ความพรอมรับผิดดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๑๓) การรับผิดชอบตอการตัดสินใจและผลของการตัดสินใจดานการบริหารทรัพยากรบุคคล และ<br />

การดําเนินการทางวินัยบนหลักการของความสามารถ หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม หลักมนุษยธรรม<br />

เปาประสงค (๑๖) สงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของบุคลากร<br />

๑๒<br />

ตัวชี้วัด11 ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙)<br />

ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาและทบทวนทุกป<br />

๑๓<br />

ตัวชี้วัด12 ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ประจําป-<br />

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕... (รายปงบประมาณ)<br />

คําอธิบาย<br />

แผนปองกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ 4 ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และแผนปฏิบัติการประจําป<br />

งบประมาณ พ.ศ. .... ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา จัดทําขึ้นตามแนวทางของสํานักงานคณะกรรมการปองกัน<br />

และปราบปรามการทุจริตแหงชาติ (ป.ป.ช.) และสํานักงานคณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ (ป.ป.ท.)<br />

และตามการสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม ของสํานักงาน ก.พ. โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหสํานักงานฯ มีแผนสรางจิตสํานึกแก<br />

เจาหนาที่ใหยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาลและตระหนักถึงภัยของการทุจริตและประพฤติมิชอบ และสรางระบบ<br />

เตือนและปองกันภัยของการทุจริตและประพฤติมิชอบ ตลอดจนสรางความโปรงใสในการบริหารและปฏิบัติราชการ โดยมี<br />

เปาประสงคเพื่อใหมีระบบงานที่มีประสิทธิภาพ โปรงใส เปนธรรมและตรวจสอบได สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

เปนหนวยงานที่ยอมรับทั้งดานประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน เกิดภาพลักษณที่ดีและมีเครือขายรวมกับหนวยงานอื่น เพื่อสงเสริม<br />

การดําเนินงานดานนี้รวมกัน<br />

๑๒ ตัวชี้วัด สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙)<br />

๑๓ ตัวชี้วัด สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล(<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

76


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการจัดทําแผนปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙)<br />

ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา และทบทวนทุกป<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ รวบรวมขอสรุปเสนอและเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงแผน ๔ ในปงบประมาณถัดไป<br />

๔ แจงหนวยงานที่เกี่ยวของรับทราบ และดําเนินการ<br />

๓ เสนออนุมัติแผนปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ๔ ป<br />

๒ คณะทํางานฯ วิเคราะห ทบทวน ผลการดําเนินการและจัดทําแผนปองกันปราบปรามการทุจริต<br />

ภาครัฐ ๔ ป<br />

๑ รวบรวมขอมูลผลการดําเนินงานที่ผานมาและขอมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อประกอบการวิเคราะห<br />

จัดทําแผนปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ๔ ป<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : 1. รายงานรวบรวมขอมูลการดําเนินงานจากคณะทํางานที่เกี่ยวของ ๒. เอกสาร/<br />

รูปเลมแผนปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙) ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายการเจาหนาที่สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๒<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : ฝายการเจาหนาที่สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๒<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ประจําป<br />

งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ วิเคราะหสรุปผล และจัดทําขอเสนอแนะเสนอผูบริหาร ภายใน ๓๐ ก.ย. .....ของทุกปงบประมาณ<br />

๔ ติดตามผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการฯ ป.....<br />

๓ แผนปฏิบัติการฯ ป..... ไดรับการอนุมัติจากผูบริหารและเผยแพร ภายใน ๓๑ มี.ค. ป.....<br />

๒ จัดทําแผนปฏิบัติการปองกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ..........(รายป)<br />

๑ ทบทวนผลและขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงการดําเนินการในปที่ผานมา<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : ๑. เอกสาร/เลมแผนปฏิบัติการการปองกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐประจําป<br />

งบประมาณ พ.ศ. ..... ๒. รายงานผลการดําเนินงาน<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายการเจาหนาที่สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๒<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : ฝายการเจาหนาที่สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๒<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

77


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

กิจกรรมการสงเสริมคานิยม “PROTECT” และวัฒนธรรมองคกร<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๔ ความพรอมรับผิดดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัย (๑๓) การรับผิดชอบตอการตัดสินใจและผลของการตัดสินใจดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

และการดําเนินการทางวินัยบนหลักการของความสามารถ หลักคุณธรรม หลักนิติธรรม หลักมนุษยธรรม<br />

เปาประสงค (๑๖) สงเสริมคุณธรรมและจริยธรรมของบุคลากร<br />

ตัวชี้วัด ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามกิจกรรมสงเสริมคานิยม "PROTECT" และวัฒนธรรมองคกร<br />

คําอธิบาย<br />

คานิยมสรางสรรคสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (PROTECT) คือ<br />

หวงใยประชา (Public Centric) สรางศรัทธาความเชื่อมั่น (Reliability) มุงมั่นเรียนรู (Ongoing Learning) เชิดชูทีมงาน<br />

(Team work) ยึดหลักการคุณธรรม (Ethics) พรอมพัฒนาขีดสมรรถนะ (Competency) และไมลดละความโปรงใส<br />

(Transparency)<br />

วัฒนธรรมองคกรที่ดี ๔ ประการ ดังนี้<br />

ประการที่ ๑ การมีจิตอาสา (Volunteer Spirit) มีพฤติกรรมที่แสดงออก ไดแก<br />

๑.๑ การมีจิตใจรักการบริการ มีน้ําใจ เอื้ออาทร เอื้อเฟอ สุภาพ พูดจาไพเราะ ชวยเหลือทั้งกับคนในและ<br />

นอกองคกร<br />

๑.๒ อาสาทํางานที่ไมใชหนาที่โดยตรงแตไมมีผูรับผิดชอบ<br />

๑.๓ การรับผิดชอบตอสังคม ใหความชวยเหลือตอสังคม<br />

ประการที่ ๒ การมีจริยธรรม (Ethics) มีพฤติกรรมที่แสดงออก ไดแก<br />

๒.๑ การคํานึงถึงประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตน และการยืนหยัดยึดมั่นในสิ่งที่ถูกตอง ตามกฎระเบียบ<br />

และหลักการ ประมวลจริยธรรม จรรยา และขอบังคับวาดวยจรรยาวิชาชีพ<br />

๒.๒ การมีความยุติธรรมใหบริการโดยเสมอภาคไมเอื้อประโยชนแกพวกพอง<br />

๒.๓ การไมนําเอาทรัพยสินของราชการมาใชสวนตัว รวมทั้งใหใชอยางคุมคาและสมประโยชน<br />

๒.๔ มีความซื่อสัตย โปรงใส ตรวจสอบได<br />

๒.๕ รักษาความลับของทางราชการ<br />

ประการที่ ๓ การเปนมืออาชีพ (Professionalism) มีพฤติกรรมที่แสดงออก ไดแก<br />

๓.๑ มีความรูความสามารถอยางลึกซึ้งในงานที่รับผิดชอบ มีมาตรฐานในการบริการตามหลักวิชาการ และ<br />

หลักกฎหมาย<br />

๓.๒ การใฝเรียนรูตลอดเวลา มีความรูที่เทาทันเหตุการณและเทคโนโลยีที่สามารถประยุกตใชโดยมีองค<br />

ความรูในการทํางาน<br />

๓.๓ มีความสามารถในการถายทอด สอนงาน และเปนที่ปรึกษาใหแกบุคคลอื่น<br />

๓.๔ มีความคิดสรางสรรคเพื่อการพัฒนางาน<br />

๓.๕ มีความกระตือรือรน ตรงตอเวลา มุงมั่นในการทํางานใหบรรลุเปาหมาย<br />

ประการที่ ๔ ความสามัคคี (Unity) มีพฤติกรรมที่แสดงออก ไดแก<br />

๔.๑ มีความรวมแรงรวมใจในการทํางานใหความรวมมือกับองคกรในการทํางานเพื่อสาธารณะ<br />

๔.๒ การทํางานเปนทีม (การทํางานโดยยอมรับความเห็นซึ่งกันและกัน) ทั้งในบทบาทของผูนําและผูตาม<br />

๔.๓ การยอมรับความคิดเห็นของคนสวนใหญ หรือมติที่ประชุม<br />

๔.๔ มีความรักและเชื่อมั่นในองคกร<br />

๔.๕ การใหเกียรติ และเคารพซึ่งกันและกัน<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

78


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการดําเนินการตามกิจกรรมสงเสริมคานิยม "PROTECT" และวัฒนธรรมองคกร<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ สรุปผลการดําเนินการการ ประเมินกิจกรรมเพื่อปรับปรุงในปงบประมาณถัดไป<br />

๔ ดําเนินการตามแผนสงเสริมคานิยม "PROTECT" และวัฒนธรรมองคกร<br />

๓ เสนออนุมัติแผนสงเสริมคานิยม "PROTECT" และวัฒนธรรมองคกร ภายใน ๓๐ มี.ค. ...... (รายป)<br />

๒ คณะทํางานฯ วิเคราะห ทบทวนขอมูลการดําเนินการที่ผานมาเพื่อกําหนด กิจกรรม<br />

๑ แตงตั้งคณะทํางานแผนสงเสริมคานิยม "PROTECT" และวัฒนธรรมองคกร<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : เก็บและรวบรวมขอมูลจากทุกสํานัก/กอง/กลุม<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายการเจาหนาที่สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๒<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : ฝายการเจาหนาที่สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๒<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

79


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

โครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสรางความผาสุก ความพึงพอในของบุคลากรในสํานักงานฯ<br />

สําหรับแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ระยะ ๔ ป (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙) และ<br />

สําหรับแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

มิติที่ ๕ คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางาน<br />

ปจจัย (๑๕) ความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในการทํางานและระบบงาน<br />

(๑๖) การจัดสวัสดิการและสิ่งอํานวยความสะดวกจากสวัสดิการที่กฎหมายกําหนด และ<br />

(๑๗) ความสัมพันธอันดีระหวางฝายบริหารกับขาราชการผูปฏิบัติงาน และระหวางขาราชการผูปฏิบัติงาน<br />

ดวยกัน<br />

เปาประสงค การปฏิบัติงานมีความสมดุลระหวางคุณภาพชีวิตและการทํางาน<br />

ตัวชี้วัด ประกอบดวย ๖ ตัวชี้วัด ดังนี้<br />

จํานวนผูเขารวมโครงการการพัฒนาความรูเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อใหขาราชการมีคุณภาพชีวิตที่ดี<br />

ระดับความสําเร็จของการจัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต และทบทวนทุกป<br />

(หมายเหตุ : รวมเรื่องแผนสงเสริมสุขอนามัยที่ดี การตรวจสุขภาพประจําป)<br />

ระดับความสําเร็จของการจัดทําระบบยกยองเชิดชูเกียรติขาราชการที่ดีแลวเสร็จภายในเวลาที่กําหนด<br />

เชน คนดีศรี อย. / คนดีศรี สธ. / ขาราชการพลเรือนดีเดน<br />

รอยละความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานใน อย.<br />

จํานวนชองทางที่ใหฝายบริหารและบุคลากรผูปฏิบัติงานสื่อสารกันไดอยางสะดวก<br />

(อยางเปนทางการและไมเปนทางการ เชน web board/e-mail/ประชุมรับฟงความคิดเห็น/การเขาพบ<br />

ผูบริหาร เปนตน)<br />

จํานวนโครงการหรือกิจกรรมเพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางผูบริหารกับบุคลากรผูปฏิบัติงานและ<br />

ระหวางบุคลากร (เชน งานปใหม, กีฬาสี, Organization Development Grouping เปนตน)<br />

คําอธิบาย<br />

ตามการพัฒนาคุณภาพบริหารจัดการภาครัฐ PMQA หมวด ๕ การมุงเนนบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ขอ <strong>HR</strong> ๑ สวนราชการตองกําหนดปจจัยที่มีผลตอความผาสุก และความพอใจของบุคลากร รวมทั้งตองมีการวิเคราะหและ<br />

ปรับปรุงปจจัยดังกลาวใหเหมาะสม เพื่อสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงานและใหเกิดความผูกพันตอองคกร การดําเนินการตาม<br />

ขอ <strong>HR</strong> ๑ ที่สอดคลองตามการประเมินระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ในมิติอื่นๆ อันไดแก<br />

มิติที่ ๓ ประสิทธิผลของการบริหารทรัพยากรบุคคล ในขอ (ข) ความพึงพอใจของบุคลากรตอนโยบาย<br />

แผนงาน โครงการ และมาตรการดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

มิติที่ ๕ คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหวางชีวิตกับการทํางานในขอตางๆ รวม ๓ ขอ ไดแก ขอ (ก)<br />

บุคลากรมีความพึงพอใจตอสภาพแวดลอมในการทํางาน ระบบงานและบรรยากาศการทํางาน ตลอดจนมีการนําเทคโนโลยี<br />

การสื่อสารเขามาใชในการบริหารราชการและการใหบริการแกประชาชน ซึ่งจะสงเสริมใหบุคลากรไดใชศักยภาพอยางเต็มที่<br />

โดยไมสูญเสียรูปแบบการใชชีวิตสวนตัว ขอ (ข) มีการจัดสวัสดิการและสิ่งอํานวยความสะดวกเพิ่มเติมที่ไมใชสวัสดิการ<br />

ภาคบังคับตามกฎหมาย ซึ่งมีความเหมาะสมสอดคลองกับความตองการและสภาพของสวนราชการ และขอ (ค) มีการสงเสริม<br />

ความสัมพันธอันดีระหวางฝายบริหารขององคกรกับบุคลากร และระหวางบุคลากรดวยกันเอง<br />

อีกทั้ง เพื่อใหการพัฒนาคุณภาพชีวิตขาราชการตอบสนองตอบริบทของสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป<br />

อยางรวดเร็วทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และการบริหารราชการ และเพื่อเปนการเตรียมความพรอมใหระบบราชการ<br />

มีความเขมแข็ง ขาราชการมีภูมิคุมกันที่ดีเพียงพอที่จะตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิภาพ ตามยุทธศาสตร<br />

การพัฒนาคุณภาพชีวิตขาราชการพลเรือนสามัญ พ.ศ. ๒๕๕๔ – ๒๕๕๖ ดังนั้นสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาจึงมี<br />

การจัดทําโครงการการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสรางความผาสุก ความพึงพอในของบุคลากรในสํานักงานฯ ขึ้น<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

80


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ชื่อตัวชี้วัด : จํานวนผูเขารวมโครงการการพัฒนาความรูเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อใหขาราชการมีคุณภาพชีวิตที่ดี<br />

ตัวชี้วัด จํานวน ๑๐๐ คน ในทุกปงบประมาณ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนสรางความผาสุกและความพึงพอใจของ<br />

บุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา , รายชื่อบุคลากรที่ผานการอบรมจากฐานขอมูล <strong>HR</strong>D ในระบบ OA ,<br />

โครงการอบรม<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการจัดทําและดําเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต และทบทวนทุกป<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ ติดตาม / สรุปผลการดําเนินการแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต (สรางความผาสุก)<br />

๔ ดําเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต / กิจกรรมสรางความผาสุก<br />

๓ จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพชีวิต (สรางความผาสุก)<br />

๒ สํารวจขอมูลเพื่อหาปจจัยแหงความผาสุก ประจําปงบประมาณ พ.ศ. .......<br />

๑ วิเคราะห / สรุปขอมูลในปงบประมาณที่ผานมา<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนสรางความผาสุกและความพึงพอใจของ<br />

บุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา , แผนผาสุกประจําปงบประมาณ , ผลสํารวจความผาสุก , รายงานการ<br />

ดําเนินการตามแผน , สรุปผลการดําเนินการ<br />

ชื่อตัวชี้วัด : ระดับความสําเร็จของการจัดทําระบบยกยองเชิดชูเกียรติขาราชการที่ดีดําเนินการแลวเสร็จภายในเวลา<br />

ที่กําหนด<br />

เกณฑการใหคะแนน : กําหนดเปนระดับความสําเร็จโดยแบงเกณฑเปน ๕ ระดับ ดังนี้<br />

ระดับความสําเร็จ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๕ อนุมัติผูไดรับการคัดเลือก ดําเนินการยกยองชมเชย<br />

๔ เสนอที่ประชุมพิจารณาคัดเลือกแตละประเภท<br />

๓ แจงเวียนระบบ/หลักเกณฑ ใหสวนที่เกี่ยวของทราบ และดําเนินการเสนอผูสมควรไดรับการ<br />

คัดเลือก<br />

๒ เสนออนุมัติระบบ/หลักเกณฑ<br />

๑ ประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อยกรางระบบ/หลักเกณฑยกยองเชิดชูเกียรติขาราชการทีดี<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนสรางความผาสุกและความพึงพอใจของ<br />

บุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา , รายชื่อขาราชการที่ไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติประจําปงบประมาณ<br />

ชื่อตัวชี้วัด : รอยละความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานใน อย. ประจําปงบประมาณ พ.ศ......(รายป)<br />

ปงบประมาณ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๒๕๕๖ รอยละ ๕๐<br />

๒๕๕๗ รอยละ ๕๕<br />

๒๕๕๘ รอยละ ๖๐<br />

๒๕๕๙ รอยละ ๗๐<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : สรุปผลการสํารวจความพึงพอใจตอการปฏิบัติงานใน อย.<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

81


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ชื่อตัวชี้วัด : จํานวนชองทางที่ใหฝายบริหารและบุคลากรผูปฏิบัติงานสื่อสารกันไดอยางสะดวก<br />

ปงบประมาณ<br />

เกณฑการใหคะแนน<br />

๒๕๕๖ จํานวน ๔ ชองทาง และดําเนินการสํารวจการรับรู และความพึงพอใจ<br />

๒๕๕๗ จํานวน ๔ ชองทาง พรอมปรับปรุงและพัฒนา<br />

๒๕๕๘ จํานวน ๔ ชองทาง และสรางชองทางใหม<br />

๒๕๕๙ จํานวน ๔ ชองทาง และประเมินชองทาง<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนสรางความผาสุกและความพึงพอใจของ<br />

บุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา , ผลสํารวจการรับรูชองทาง , ผลสํารวจความพึงพอใจ , แผนปรับปรุง<br />

ชองทาง<br />

ชื่อตัวชี้วัด : จํานวนโครงการหรือกิจกรรมเพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางผูบริหารกับบุคลากรผูปฏิบัติงานและ<br />

ระหวางบุคลากร<br />

ตัวชี้วัด จํานวนอยางนอย ๒ โครงการ ในทุกปงบประมาณ<br />

แหลงขอมูล/วิธีการจัดเก็บขอมูล : รายงานการประชุมคณะทํางานจัดทําแผนสรางความผาสุกและความพึงพอใจของ<br />

บุคลากรสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา , รายงานผลกิจกรรม<br />

ผูกํากับตัวชี้วัด : ฝายบริหารทั่วไป/ฝายการเจาหนาที่ สํานักงานเลขานุการกรม เบอรติดตอ : ๗๑๐๑<br />

ผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ : ฝายบริหารทั่วไป/ฝายการเจาหนาที่ เบอรติดตอ : ๗๑๐๑<br />

สํานักงานเลขานุการกรม<br />

ทุกหนวยงานรายงานผลความคืบหนา และกองแผนงานและวิชาการสรุปผลเมื่อสิ้นปงบประมาณ<br />

หมายเหตุ : สามารถปรับเปลี่ยนขอมูลไดตามความเหมาะสมและดุลยพินิจของผูรับผิดชอบแผนงาน/โครงการ ที่ไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) แลว<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

82


มิติ ปจจัย เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด เปาหมาย<br />

ป 55<br />

1: ความ<br />

สอดคลองเชิง<br />

ยุทธศาสตร<br />

(Strategic<br />

Allignment)<br />

ปจจัยที่ 1<br />

นโยบาย แผนงาน<br />

และมาตรการดานการ<br />

บริหารทรัพยากร<br />

บุคคล สอดคลองกับ<br />

เปาหมาย<br />

พันธกิจของสวน<br />

ราชการและจังหวัด<br />

ผลการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติการการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555<br />

1.1 มีการวางแผน 1. การจัดทําแผนกลยุทธการ<br />

กลยุทธการบริหาร บริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ทรัพยากรบุคคลที่ ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 - 2559<br />

สอดคลองและ<br />

สนับสนุนยุทธศาสตร<br />

2. การจัดทําแผนปฏิบัติการการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล ประจําป<br />

งบประมาณ พ.ศ. 2555 (ภายใต<br />

แผนกลยุทธฯ <strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong> ป<br />

54-57)<br />

1. ระดับความสําเร็จในการจัดทํา<br />

แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคล ปงบประมาณ พ.ศ. 2556 -<br />

2559<br />

2. ระดับความสําเร็จในการ<br />

ดําเนินการตามแผนฯ ป 55<br />

ผลการดําเนินงาน ผูรับ<br />

ผิดชอบ<br />

5 ระดับ 4 = นํารางแผนกล<br />

ยุทธ ผานคณะทํางานฯ<br />

เพื่อใหความเห็นชอบ<br />

ภายในสค. 55<br />

5 ระดับ 5 = วิเคราะหสรุปผล<br />

และจัดทําขอเสนอแนะ<br />

เสนอผูบริหาร ภายใน<br />

30 กย. 55<br />

กองแผนฯ ฝ.5<br />

(สาวิตรี)<br />

กองแผนฯ ฝ.5<br />

(ภวัญญา)<br />

งบ<br />

ประมาณ<br />

15,000<br />

6,000<br />

ปจจัยที่ 2<br />

มีการวางแผนและ<br />

บริหารกําลังคน<br />

(Workforce<br />

Planning and<br />

Management)<br />

1.2 มีโครงสรางและ<br />

กรอบอัตรากําลังที่<br />

เหมาะสมและ<br />

สอดคลองกับภารกิจ<br />

3. โครงการวางแผนและบริหาร<br />

กําลังคน<br />

4. แผนพัฒนา/ทบทวนโครงสราง<br />

อย. ป 2554 - 2556<br />

3. ระดับความสําเร็จของการจัดทํา<br />

แผน<br />

อัตรากําลังคนที่สอดคลองกับ<br />

ภารกิจองคกร (ป55-57)<br />

4. รอยละความสําเร็จของการ<br />

จัดทํา/พัฒนา/ ทบทวน/ปรับเปลี่ยน<br />

โครงสรางของ อย. ในป 55 - 56<br />

5 ระดับ 5 = ขอเสนอ<br />

อัตรากําลังไดรับอนุมัติจาก<br />

อกพ. กรมภายในกย.55<br />

5 ระดับ 5 รายงานผลการ<br />

ทบทวนเสนอผูบริหาร<br />

สล. ฝายการ<br />

เจาหนาที่<br />

(นพรดา)<br />

กันเงิน<br />

เหลื่อมป 54<br />

(1,200,000)<br />

กพร. อย. - -<br />

ปจจัยที่ 3<br />

มีการบริหารกําลังคน<br />

กลุมที่มีทักษะและ<br />

สมรรถนะสูง (Talent<br />

Management)<br />

1.3 พัฒนาบุคลากร<br />

ตรงตามสมรรถนะ<br />

ที่กําหนด<br />

5. กิจกรรมการทบทวน<br />

ขีดสมรรถนะบุคลากร<br />

(2 ตัวชี้วัด)<br />

5. ระดับความสําเร็จการทบทวนขีด<br />

สมรรถนะดานเทคนิค (Technical<br />

-) และสมรรถนะดานลักษณะงาน<br />

ที่ปฏิบัติ (Functional<br />

Competency) ของบุคลากร อย.<br />

5 ระดับ 5 = สรุปผลการ<br />

พัฒนาและนําเสนอผูบริหาร<br />

ภายใน 30 กย. 55<br />

กองแผนฯ ฝ.5<br />

(พรทิพย)<br />

12,000<br />

ไตรมาสที่<br />

1-2 ใชงบ<br />

6,000 บาท


มิติ ปจจัย เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด เปาหมาย<br />

ป 55<br />

1: ความ<br />

สอดคลองเชิง<br />

ยุทธศาสตร<br />

(Strategic<br />

Allign-ment)<br />

ปจจัยที่ 3<br />

มีการบริหารกําลังคน<br />

กลุมที่มีทักษะและ<br />

สมรรถนะสูง (Talent<br />

Management)<br />

1.3 พัฒนาบุคลากร<br />

ตรงตามสมรรถนะ<br />

ที่กําหนด<br />

6. ระดับความสําเร็จของการจัดทํา<br />

แผนพัฒนารายบุคคล (<strong>HR</strong> IDPs)<br />

ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2555<br />

ผลการดําเนินงาน ผูรับ<br />

ผิดชอบ<br />

5 ระดับ 4 = ติดตามผลการ<br />

พัฒนารายไตรมาส (9/12<br />

เดือน)<br />

พรอมสรุปผล<br />

กองแผนฯ ฝ.5<br />

(พรทิพย/<br />

สิริมา)<br />

งบ<br />

ประมาณ<br />

6. แผนงานพัฒนาขาราชการผูมี<br />

ผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPs)<br />

7. ระดับความสําเร็จของการ<br />

ดําเนินการตามระบบขาราชการผูมี<br />

ผลสัมฤทธิ์สูง (HiPPs รุน 3,4,5,6,7<br />

และ/หรือรุน 8)<br />

5 ระดับ 4 = แกไขตาม<br />

ขอเสนอคณะกรรมการขอ<br />

อนุมัติแนวทาง การพัฒนา<br />

ระบบ HiPPS ภายใน 30<br />

เมย. 55 และนําไปปฏิบัติ<br />

กองแผนฯ ฝ. 5<br />

(สาวิตรี) และ<br />

สล. ฝายการ<br />

เจาหนาที่<br />

(ไทรทอง)<br />

2,500<br />

ไตรมาสที่ 1<br />

และ 2 ใชไป<br />

1,785 บาท<br />

ปจจัยที่ 4<br />

มีแผนสรางและพัฒนา<br />

ผูบริหาร และแผน<br />

สรางความตอเนื่องใน<br />

การบริหารราชการ<br />

1.4 รักษาและจูงใจ<br />

บุคลากรที่มี<br />

ศักยภาพสูงไวใน<br />

องคกร<br />

7. โครงการพัฒนาบุคลากรดาน <strong>HR</strong><br />

(เชน หลักสูตรการสอนงาน, ภาวะ<br />

ผูนํา, การบริหารการเปลี่ยนแปลง)<br />

8. โครงการจัดทําเสนทาง<br />

ความกาวหนา<br />

ในสายอาชีพ<br />

8. รอยละเจาหนาที่กลุมเปาหมายที่<br />

ไดรับการพัฒนา (หัวหนากลุม/ฝาย)<br />

9.ระดับความสําเร็จของการจัดทํา<br />

และพัฒนาเสนทางความกาวหนาใน<br />

สายอาชีพ (Career Path)<br />

80 ระดับ 5 = ประเมินผลการ<br />

พัฒนาหลังการฝกอบรม 3<br />

เดือน<br />

5<br />

ปรับ<br />

เปน 3<br />

ระดับ 2 = ปรับปรุงแผน<br />

Career Path ของสายงาน<br />

เภสัชกรและนักวิชาการ<br />

อาหารและยาใหถูกตอง<br />

ทันสมัย<br />

กองแผนฯ ฝ.5<br />

(ภวัญญา)<br />

สล. ฝายการ<br />

เจาหนาที่<br />

(บงกชเกษ/วริ<br />

นทรพัชร) และ<br />

คณะทํางาน<br />

Career Path<br />

180,000<br />

120,000<br />

- การบงชี้กําลังคนคุณภาพของ อย. : Talent Group และพัฒนา<br />

(Talent Group และผูมีศักยภาพสูง<br />

- แผนการสรางความตอเนื่องในการบริหารราชการ (Succession Plan)<br />

(จัดทําในป 56-59) - -<br />

(จัดทําในป 56-59) - -


มิติ ปจจัย เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด เปาหมาย<br />

ป 55<br />

2:<br />

ประสิทธิภาพ<br />

ของการ<br />

บริหาร<br />

ทรัพยากร<br />

บุคคล (<strong>HR</strong><br />

Opera-tional<br />

Efficiency)<br />

ปจจัยที่ 5<br />

กิจกรรมและ<br />

กระบวนการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลมี<br />

ความถูกตองและ<br />

ทันเวลา<br />

2.1 พัฒนาระบบ<br />

บริหารทรัพยากร<br />

บุคคลใหมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

9. แผนงาน<br />

การบริหารมาตรฐานงานบุคคล<br />

(เชน สรรหา คัดเลือกทุนฝกอบรม<br />

ศึกษาตอ ดูงาน ฯลฯ)<br />

10. กิจกรรมการพัฒนาระบบการ<br />

จัดการขอรองเรียนดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

10. จํานวนกระบวนงานการจัดทํา<br />

มาตรฐาน/ปรับปรุงกระบวนงาน<br />

การปฏิบัติ งานดานบุคคลที่มีการ<br />

เผยแพรบน website<br />

11. ระดับความสําเร็จ(เฉลี่ย) ใน<br />

การจัดการขอรองเรียนที่เกี่ยวของ<br />

กับกระบวนงาน <strong>HR</strong> (ถูกตองและ<br />

ทันเวลา)<br />

ผลการดําเนินงาน ผูรับ<br />

ผิดชอบ<br />

5 ระดับ 5 = มีขอมูล<br />

มาตรฐานงานฯ และ<br />

แบบฟอรมที่เกี่ยวของ<br />

ประชาสัมพันธใน<br />

Website อย. พรอมใชงาน<br />

5 ระดับ 5 = ดําเนินการ<br />

ถูกตองและทันเวลา เฉลี่ย<br />

ภายใน 1 เดือน<br />

สล. ฝายจ.<br />

(ไทรทอง)<br />

สล. ฝายจ.<br />

(บงกชเกษ)<br />

งบ<br />

ประมาณ<br />

10,000<br />

- -<br />

ปจจัยที่ 6<br />

ระบบฐานขอมูลการ<br />

บริหารทรัพยากร<br />

บุคคลมีความถูกตอง<br />

เที่ยงตรงและทันสมัย<br />

2.2 พัฒนาระบบ<br />

การจัดการ<br />

ฐานขอมูลดาน<br />

ทรัพยากรบุคคลให<br />

มีประสิทธิภาพ<br />

11.การปรับปรุงขอมูลขาราชการใน<br />

ฐานขอมูลโปรแกรม DPIS ใหมี<br />

ความครอบคลุม ถูกตอง และ<br />

ทันสมัย<br />

(ดานเงินเดือน ระดับ และสังกัด)<br />

12. รอยละความสําเร็จของการ<br />

ดําเนินการปรับปรุงขอมูลประวัติ<br />

บุคคลใน DPIS ใหมีความครอบคลุม<br />

ถูกตอง และทันสมัย<br />

5 ระดับ 4 = ขอมูลฯ ถูกตอง<br />

95-99%<br />

สล. ฝายจ.<br />

(ไทรทอง)<br />

- -<br />

ปจจัยที่ 7<br />

สัดสวนคาใชจายของ<br />

กิจกรรมการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

มีความถูกตอง<br />

เที่ยงตรงและทันสมัย<br />

12. การประเมินประสิทธิผลและ<br />

ความคุมคาของการฝกอบรม (ดาน<br />

พัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของกับ<br />

ตนทุนผลผลิต)<br />

13. ระดับความสําเร็จของการ<br />

ประเมินประสิทธิผลและความ<br />

คุมคาของการฝกอบรม<br />

5 ระดับ 5 = ติดตามผลและ<br />

สรุปผลเสนอผูบริหาร<br />

กองแผนฯ ฝ.5<br />

(พรทิพย/สิริ<br />

มา)


มิติ ปจจัย เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด เปาหมาย<br />

ป 55<br />

3:ประสิทธิผล<br />

ของการ<br />

บริหาร<br />

ทรัพยากร<br />

บุคคล (<strong>HR</strong>M<br />

Program-me<br />

Effectiveness)<br />

ปจจัยที่ 8<br />

มีการนําเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศ<br />

มาใชในการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

ปจจัยที่ 9 การรักษาไวซึ่งขาราชการที่<br />

จําเปนตอการบรรลุเปาหมายและพันธกิจ<br />

ของสวนราชการ<br />

13. โครงการพัฒนาเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศ<br />

ดานบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

- Suceesion Plan<br />

- Career Path<br />

- Retention<br />

ปจจัยที่ 10<br />

14. การสํารวจความพึงพอใจ<br />

ความพึงพอใจของขาราชการตอนโยบาย ตอนโยบายและมาตรการดานการ<br />

และมาตรการดานการบริหารทรัพยากรบุคคล บริหารทรัพยากรบุคคล<br />

14. ระดับความสําเร็จของการ<br />

ปรับปรุงระบบเทคโนโลยีดานการ<br />

บริหารบุคคล-DPIS (การนําขอมูล<br />

กพ.7 เขาสูระบบ DPIS)<br />

15. ระดับความพึงพอใจตอนโยบาย<br />

และมาตรการดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล (สํารวจรวมกับ<br />

กพร.)<br />

ผลการดําเนินงาน ผูรับ<br />

ผิดชอบ<br />

5 ระดับ 5 = สง<br />

Username–Password<br />

และคูมือการใชงานใหแก<br />

ผูบริหารระดับสํานัก/กอง<br />

และหัวหนาฝายบริหารของ<br />

สํานัก/กอง<br />

กองแผนฯ<br />

ศูนย<br />

เทคโนโลยี<br />

สารสนเทศ<br />

(แกวตา)<br />

งบ<br />

ประมาณ<br />

- -<br />

(จัดทําในป 56-59) - -<br />

5 ความพึงพอใจ<br />

ระดับ 4 = รอยละ 66-68<br />

สล. ฝายจ.<br />

(บงกชเกษ)<br />

- -<br />

ปจจัยที่ 11<br />

การสนับสนุนใหเกิด<br />

การเรียนรูและพัฒนา<br />

15. แผนการจัดการความรู (KM)<br />

ของกรมที่เปนระบบและมีความ<br />

ตอเนื่อง<br />

16. จํานวนองคความรูหรือ<br />

นวัตกรรมที่จัดทําขึ้นในองคกร<br />

5 ระดับ 5 = 16 ชิ้นงาน กองแผนฯ ฝ. 5<br />

(สาวิตรี)<br />

70,000<br />

ปจจัยที่ 12<br />

การมีระบบการ<br />

บริหารผลงาน และ<br />

วิธีการประเมินผลการ<br />

ปฏิบัติงานที่มี<br />

ประสิทธิผล<br />

ซึ่งเชื่อมโยงกับ<br />

ผลตอบแทน<br />

3.1 มีระบบการ<br />

บริหาร<br />

ผลการปฏิบัติงานที่<br />

มีประสิทธิภาพ<br />

16. โครงการพัฒนาระบบการ<br />

บริหารผลการปฏิบัติงาน<br />

(Performance Management<br />

System: PMS)<br />

17. ระดับความสําเร็จของการ<br />

พัฒนาระบบการบริหาร<br />

ผลการปฏิบัติงาน ของ อย.<br />

5 ระดับ 4 = ประกาศผลการ<br />

ประเมินและใหรางวัล<br />

(Reward) ทั้งรอบ 1 และ 2<br />

เลขานุการกรม,<br />

สล. ฝายจ.<br />

(ไทรทอง),<br />

กองแผนฯ ฝ.2<br />

(ธนศักดิ์) และ<br />

กพร.<br />

(ภัทราภรณ)


มิติ ปจจัย เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด เปาหมาย<br />

ป 55<br />

4: ความพรอม<br />

รับผิด<br />

ดานการ<br />

บริหาร<br />

ทรัพยากร<br />

บุคคล (<strong>HR</strong><br />

Account<br />

ability)<br />

ปจจัยที่ 13<br />

การรับผิดชอบตอการ<br />

ตัดสินใจและผลของ<br />

การตัดสินใจดานการ<br />

บริหารทรัพยากร<br />

บุคคลและดําเนินการ<br />

ทางวินัยบนหลักของ<br />

ความสามารถ หลักนิติ<br />

ธรรม และหลักสิทธิ<br />

มนุษยชน<br />

4.1 สงเสริม<br />

คุณธรรม จริยธรรม<br />

ของระบบบุคลากร<br />

17. โครงการ/แผนงานสงเสริม<br />

คุณธรรม จริยธรรม<br />

18. ระดับความสําเร็จของการ<br />

พัฒนาสงเสริม<br />

คุณธรรม จริยธรรม ภายใต<br />

คณะกรรมการอย.ใสสะอาด<br />

ผลการดําเนินงาน ผูรับ<br />

ผิดชอบ<br />

5 ระดับ 5 = ดําเนินการแลว<br />

เสร็จ 100%และเสนอ<br />

ผูบริหารรับทราบ<br />

สล. ฝายจ.<br />

(นพรดา)<br />

งบ<br />

ประมาณ<br />

25,000<br />

ปจจัยที่ 14<br />

ความโปรงใสของ<br />

กระบวนการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลและ<br />

ความพรอมใหมีการ<br />

ตรวจสอบ<br />

4.2 พัฒนาระบบ<br />

การบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลให<br />

มีความโปรงใส<br />

18. โครงการพัฒนาระบบการ<br />

จัดการขอรองเรียน<br />

ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

19. ระดับความสําเร็จของการ<br />

พัฒนาระบบการจัดการขอรองเรียน<br />

/รองทุกข<br />

5 ระดับ 5 = ประเมินผลและ<br />

วิเคราะหระบบเพื่อการ<br />

ปรับปรุง<br />

สล. ฝายจ.<br />

(บงกชเกษ)<br />

- -


มิติ ปจจัย เปาประสงค แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตัวชี้วัด เปาหมาย<br />

ป 55<br />

5: คุณภาพ<br />

ชีวิตและความ<br />

สมดุลระหวาง<br />

ชีวิตกับการ<br />

ทํางาน<br />

(Quality of<br />

Work-life<br />

and Worklife<br />

Balance)<br />

ปจจัยที่ 15<br />

ความพึงพอใจตอ<br />

สภาพแวดลอมในการ<br />

ทํางานและระบบงาน<br />

5.1 บุคลากรใน อย.<br />

มีคุณภาพชีวิตที่ดี<br />

ในการปฏิบัติงาน<br />

19. โครงการพัฒนา<br />

คุณภาพชีวิต / สรางความผาสุข<br />

ความพึงพอใจของบุคลากรใน<br />

สํานักงานฯ<br />

(2 ตัวชี้วัด,2 ปจจัย)<br />

20. รอยละความพึงพอใจตอการ<br />

ปฏิบัติงานในสํานักงานฯ<br />

ผลการดําเนินงาน ผูรับ<br />

ผิดชอบ<br />

ขอสังเกตจากที่ประชุม<br />

เนื่องจากเปนสวนหนึ่งของการตัวชี้วัด<br />

ระดับความสําเร็จของการพัฒนา<br />

ปรับปรุงวัฒนธรรมองคการ ขอให<br />

ผูรับผิดชอบผนวกกิจกรรมในมิติ<br />

คุณภาพชีวิตฯ เขาดวยกัน<br />

ขอเสนอใหการสํารวจความพึงพอใจที่<br />

มีการศึกษาวิเคราะห SWOT กําหนด<br />

วัตถุประสงคเปาหมายและแผนงานที่<br />

ชัดเจน ซึ่งอาจทําเปนแผนกลยุทธ<br />

ระยะ 3 ป<br />

สล. ฝายจ.<br />

(วรินทรพัชร)<br />

งบ<br />

ประมาณ<br />

- -<br />

ปจจัยที่ 16 การจัด<br />

สวัสดิการและสิ่ง<br />

อํานวยความสะดวก<br />

เพิ่มเติมที่ไมใช<br />

สวัสดิการภาคบังคับ<br />

ตามกฎหมาย<br />

21. ระดับความสําเร็จ ของการ<br />

พัฒนาหรือปรับปรุงคุณภาพชีวิต<br />

ความผาสุข ความพึงพอใจของ<br />

บุคลากรในสํานักงานฯ<br />

5 ระดับ 3 = ผูบริหารอนุมัติ<br />

แผนและเผยแพร ภายใน<br />

30 มีค. 55<br />

สล. ฝายจ.<br />

(วรินทรพัชร)<br />

กพร. อย. และ<br />

คณะกรรมการ<br />

สวัสดิการ อย.<br />

ปจจัยที่ 17<br />

การสงเสริม<br />

ความสัมพันธอันดี<br />

ระหวางฝายบริหารกับ<br />

ขาราชการผูปฏิบัติงาน<br />

และระหวาง<br />

ขาราชการ<br />

ผูปฏิบัติงานดวยกัน<br />

20. โครงการสายสัมพันธ อย. 22. ระดับความพึง-พอใจตอ<br />

กิจกรรมการสรางความสัมพันธ<br />

ระหวางบุคลากรทุกระดับภายใน<br />

องคกร เชน กีฬาสี ปใหม<br />

3 ระดับ 5 = ตั้งแตรอยละ 80<br />

ขึ้นไป<br />

สล. ฝาย<br />

บริหารทั่วไป<br />

(อวิกา)<br />

- -<br />

งานปใหม<br />

265,550


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ภาคผนวก 1<br />

ทบทวนขอมูลความคาดหวังของผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders)<br />

- สรุปประเด็นการสัมภาษณผูบริหารระดับสูงของ<br />

สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

- สรุปผลแบบสอบถามความตองการและความคาดหวังของผูมีสวนได<br />

สวนเสียดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

89


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

สรุปประเด็นการสัมภาษณผูบริหารระดับสูง<br />

ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

การสัมภาษณผูบริหารระดับสูง (เลขาธิการฯ และรองเลขาธิการฯ 2 ทาน) มีประเด็น<br />

ความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพการบริหารทรัพยากรบุคคลและความคาดหวังตอระบบการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคลของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ดังนี้<br />

(1) ดานกระบวนงาน<br />

องคกรจะเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานใหมีประสิทธิผลได จําเปนตองมีการวางแผน<br />

กลยุทธหรือมุมมองที่ชัดเจนในการพัฒนาปรับปรุงกระบวนงานดานคุมครองผูบริโภค ที่อยูในความ<br />

รับผิดชอบของ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาใหมีคุณภาพ มาตรฐาน มีขั้นตอนการดําเนินงานที่<br />

ชัดเจน ตรวจสอบได รวดเร็ว ทันสมัยเกิดประโยชนสูงสุดแกประชาชน และผูประกอบการ รวมถึงการนํา<br />

ปญหาของผูมารับบริการมาปรับปรุงใหเปนรูปธรรม ชัดเจน รวมทั้งการกํากับดูแลตามขั้นตอน เพื่อใหการ<br />

ดําเนินงานดานคุมครองผูบริโภคมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยแสดงถึงจุดยืนในการปรับกระบวนงานทํางานลด<br />

ขั้นตอนตอ ก.พ.ร. โดยสามารถแบงแยกระหวาง กระบวนงานที่ไมสําคัญ ที่สามารถยนระยะเวลาได และ<br />

กระบวนงานที่สําคัญ ที่ไมสามารถยนระยะเวลาได เพราะอาจเกิดความเสี่ยงตอผูบริโภค อย. จําเปนตอง<br />

ยืนยันความจําเปนของแตละขั้นตอน รวมทั้งตองวิเคราะหหาปจจัยที่จะชวยเพิ่มประสิทธิภาพของ<br />

กระบวนงานใหตอบสนองตอผูประกอบการและผูบริโภค (ผูรองเรียน) ไดอยางเทาเทียมกันเพื่อมุงสูวิสัยทัศน<br />

ขององคกรตามเปาหมายสูงสุด<br />

(2) ดานคน<br />

การพัฒนาขีดสมรรถนะหลักและรองของรายบุคคลและสายอาชีพใหมีความกาวหนา<br />

นั้น ซึ่งบุคลากรแตละคนมีความรู ความสามารถ ทักษะและคุณลักษณะพิเศษอื่น ๆ หรือมีสมรรถนะที่<br />

แตกตางกัน การจะพัฒนาบุคลากรใหเปนมืออาชีพ มีความเปนผูนํา สามารถตัดสินใจในการใหขอมูล<br />

ขอเสนอแนะที่เปนประโยชนตอองคกร มีนโยบาย วิสัยทัศน ที่เปนประโยชนตอการพัฒนาองคกรจะตอง<br />

กระตุนใหบุคลากรตระหนักวาตนเองมีคุณคาตอความสําเร็จขององคกรและเกิดแรงจูงใจที่ปฏิบัติงานอยาง<br />

เต็มความรู ความสามารถ มีจรรยาบรรณ ดังนั้น การวางแผนกําลังคนที่มีประสิทธิภาพและมีการทดแทน<br />

เริ่มตั้งแตการสรรหา โดยการประเมินความตองการกําลังคน การกําหนดลักษณะงาน และคุณสมบัติของ<br />

บุคลากรที่ชัดเจน วิเคราะหตามปริมาณงาน/ความรูความชํานาญที่ยังขาดหรือที่ตองการเพิ่ม/แนวโนมของ<br />

บุคลากรตอการกาวทันตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี โดยใชเครื่องมือที่มีคุณภาพในการคัดเลือก เมื่อ<br />

มาปฏิบัติงานไดระยะหนึ่งก็จะจัดใหมีการพัฒนา เพื่อเพิ่มพูนความรูและทักษะที่ประโยชนตอการปฏิบัติงาน<br />

องคกรจะตองหาวิธีการที่จะรักษาคนดี และคนเกง รวมทั้งการสงเสริมคุณภาพชีวิต เพื่อเปนขอมูล<br />

ประกอบการวางแผนจัดหาแหลงทุนศึกษา/ฝกอบรมระยะสั้น ระยะยาว ทั้งในและตางประเทศ โดยมีการวัด<br />

และประเมินผลในการปฏิบัติงานเพื่อใหทราบปญหาและอุปสรรคตาง ๆ อันนําไปสูการการปรับปรุงและ<br />

พัฒนาใหมีประสิทธิภาพ<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

90


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

(3) ดานทรัพยากร<br />

การพัฒนาบุคลากรและทรัพยากรใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ตองมีการใช<br />

ประโยชนจากอุปกรณ IT รวดเร็ว ทันสมัย และงบประมาณที่ไดรับอยางคุมคา มีฐานขอมูลที่มีประสิทธิภาพ<br />

และใชอยางคุมคาเพื่อใหเกิดสังคมการเรียนรูงานดานผลิตภัณฑสุขภาพดานวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาให<br />

ทันสมัย ทันเวลา ขอมูลที่จะใหกับผูบริโภค เนนขอมูลฉลากผลิตภัณฑ และนําเสนอขอมูลผานสื่อตางๆ ให<br />

เหมาะสมกับผูรับสื่อ สอนใหประชาชนเลือกบริโภคแตสิ่งที่ดี สรางทางเลือกในการผลิตอาหารใหประชาชน<br />

สามารถเลือกบริโภคไดตามสภาพเศรษฐกิจ ปลูกฝงคานิยมชาวบานใหเลือกบริโภคตามคุณคาโภชนาการ<br />

นอกจากนั้นตองมีการปฐมนิเทศเพื่อใหขอมูลแกผูประกอบการรายใหมใหเขาใจขั้นตอนการทําธุรกรรมกับ<br />

อย. อยางถูกตอง ซึ่งจะเปนการลดภารกิจที่ไมจําเปนลงและชวยเพิ่มประสิทธิภาพงานได<br />

(4) ดานลูกคา/ผูรับบริการ<br />

ใหบุคลากรของ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยามีใจในดานการบริการ โดยทํา<br />

ใหลูกคา/ผูรับบริการมีความพึงพอใจจากการไดรับบริการที่ดี โปรงใสและเปนธรรม รวมทั้งการสรางชอง<br />

ทางการสื่อสาร การสรางความสัมพันธและมนุษยสัมพันธ เชน ทํา mail box หรือตูรับฟงความคิดเห็น<br />

เพื่อใหผูบริโภค/ผูรับบริการ ไดมีโอกาสใหขอเสนอแนะและเสนอความคิดเห็นตอเจาหนาที่เพื่อการพัฒนา<br />

องคกรและบุคลากรในสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาใหดียิ่งขึ้น<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

91


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

สิ่งที่ผูมีสวนไดสวนเสีย<br />

ตองการจากสวนราชการ<br />

คุณลักษณะของกําลังคนที่สวนราชการ<br />

ตองมีเพื่อใหสามารถปฏิบัติงานตอบสนอง<br />

ความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย<br />

ผูมีสวนไดสวนเสีย : ผูบริหารสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

1) ระบบงานสามารถตอบสนอง<br />

ตอปญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น<br />

ไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

2) ระบบงานมีระบบคุณภาพ<br />

รวดเร็ว ทันสมัย ตรวจสอบได<br />

มีการปรับปรุงงานอยาง<br />

สม่ําเสมอ โปรงใสและเปนธรรม<br />

3) ผูรับบริการมีความพึงพอใจ<br />

4) พัฒนาศักยภาพผูบริโภค<br />

1) บุคลากรมีคุณภาพและขีดสมรรถนะ<br />

2) บุคลากรมีการเรียนรูและพัฒนาตนเอง<br />

อยางตอเนื่อง<br />

3) บุคลากรตองมีความตระหนักในหนาที่<br />

ที่รับผิดชอบ<br />

4) บุคลากรตองมีความตระหนักในหนาที่<br />

ที่รับผิดชอบ<br />

5) บุคลากรมีความเปนวิชาชีพ มีจุดยืน<br />

มีความเปนผูนํามีวิสัยทัศนที่เปนประโยชน<br />

ตอการพัฒนาองคกร<br />

ผูมีสวนไดสวนเสีย : เจาหนาที่ที่ปฏิบัติการที่เกี่ยวของกับการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

1) มีแผนพัฒนาบุคลากร<br />

2) มีระบบฐานขอมูลที่รวดเร็ว<br />

ทันสมัย<br />

3) สรางแรงจูงใจ<br />

4) มีสิ่งแวดลอมที่ดีในการ<br />

ปฏิบัติงาน<br />

5) มีระบบคาตอบแทนที่<br />

เหมาะสม<br />

สรุปผลแบบสอบถามความตองการและความคาดหวัง<br />

ของผูมีสวนไดสวนเสียดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

1) มีความคิดสรางสรรค เปนระบบ<br />

มีวิสัยทัศนกวางไกล<br />

2) มีการเรียนรูและพัฒนาตนเองอยาง<br />

ตอเนื่อง สามารถสอนงานได<br />

3) มีความสามารถในการประสานงานและ<br />

บริหารความ ขัดแยงได<br />

4) มีวินัย ทํางานแบบมืออาชีพ มีความรู<br />

ความชํานาญอยางแทจริง<br />

5) ความสามารถดาน IT<br />

6) ความคิดเชิงบวก<br />

7) มีจิตใจบริการที่ดี กระตือรือรน<br />

และรับผิดชอบในการทํางาน<br />

8) รักองคกร<br />

9) สํานึกในเรื่องการบริหารจัดการบานเมือง<br />

ที่ดี<br />

10) มีจริยธรรม คุณธรรม มีความพอเพียง<br />

นึกถึงประโยชนสวนรวม โอบออมอารี<br />

11) มีสุขภาพจิตที่ดี รางกายแข็งแรง<br />

12) มี E.Q. และวุฒิภาวะทางอารมณ<br />

13) ไมเห็นแกอามิสสินจาง<br />

14) อดทน อดกลั้น และอดออม<br />

ระบบ โครงสราง กระบวนการ<br />

เทคโนโลยีดานการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคล ที่สวนราชการตองมี เพื่อให<br />

สามารถปฏิบัติงานตอบสนองความ<br />

ตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย<br />

1) การวางแผนกําลังคนที่มี<br />

ประสิทธิภาพเพื่อสามารถ พัฒนา<br />

กําลังคน การวางแผนทดแทนกําลังคน<br />

ที่สอดคลองกับ กลยุทธขององคกร<br />

2) การวางแผนกลยุทธ การบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคลที่มีประสิทธิภาพทําให<br />

การพัฒนาบุคลากร<br />

มีความเจริญกาวหนาในสายอาชีพ<br />

3) กระบวนการสรางแรงจูงใจ สามารถ<br />

สนับสนุนใหบุคลากรไดพัฒนาตนเอง<br />

1) ระบบบริหารอัตรากําลังคน การสรร<br />

หาคนที่มีความสามารถตรงกับภารกิจ<br />

ขององคกรที่ไดรับมอบหมาย และมี<br />

แผนอัตรากําลังทดแทนที่สอดคลองกัน<br />

รวมทั้งการรักษาคนเกง<br />

2) มีขบวนการพัฒนาที่คุมคา<br />

และประหยัดสอดคลองกับแผนพัฒนา<br />

บุคลากรของหนวยงาน รวมทั้งการ<br />

ศึกษาตอระยะสั้น และระยะยาว<br />

3) มีระบบการประเมิน performance<br />

ชัดเจน โปรงใส เปดเผย เปนธรรม<br />

4) มีโครงสรางที่เอื้อตอการทํางาน <strong>HR</strong><br />

ที่มีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว<br />

5) มีระบบการสอนงาน ถายทอด<br />

องคความรู<br />

6) มีระบบ IT ที่มีประสิทธิภาพ และ<br />

ฐานขอมูล เพื่อทันตอความตองการ<br />

ของบุคลากรในองคกร<br />

7) Talent Management + แรงจูงใจ<br />

และคาตอบแทนที่เหมาะสม<br />

8) มีระบบสวัสดิการที่ดี<br />

9) มีกระบวนการในการปลูกฝง<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

92


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

สิ่งที่ผูมีสวนไดสวนเสีย<br />

ตองการจากสวนราชการ<br />

ผูมีสวนไดสวนเสีย : ผูประกอบการ<br />

1) ปรับปรุงกฎหมาย ประกาศ<br />

หลักเกณฑ ฯลฯ ใหทันสมัย<br />

2) ระบบการทํางาน/บริการที่มี<br />

คุณภาพ ประสิทธิภาพ รวดเร็ว<br />

โปรงใส เปนธรรม<br />

3) มีคูมือหลักเกณฑการ<br />

ดําเนินการที่ชัดเจน<br />

4) ความรวมมือและให<br />

ผูประกอบการมีสวนรวมในการ<br />

ใหความคิดเห็นเพื่อการพัฒนา<br />

งาน คบส.<br />

คุณลักษณะของกําลังคนที่สวนราชการ<br />

ตองมีเพื่อใหสามารถปฏิบัติงานตอบสนอง<br />

ความตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย<br />

1) บุคลากรมีการใหบริการที่มีมาตรฐาน<br />

เดียวกัน และเสมอภาค<br />

2) บุคลากรมีจิตสํานึกในการบริการ<br />

(service mind)<br />

3) บุคลากรมีความสามารถ และศักยภาพ<br />

ในการปฏิบัติงาน ทันตอสถานการณ<br />

(แมนยํากฎระเบียบ ถายทอดความรู<br />

แกผูประกอบการ มีความสามารถทาง<br />

วิชาการและดานผลิตภัณฑที่ดูแล)<br />

ระบบ โครงสราง กระบวนการ<br />

เทคโนโลยีดานการบริหารทรัพยากร<br />

บุคคล ที่สวนราชการตองมี เพื่อให<br />

สามารถปฏิบัติงานตอบสนองความ<br />

ตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย<br />

วัฒนธรรม คานิยมที่ดี ในองคกร<br />

10) Talent Management +<br />

แรงจูงใจและคาตอบแทนที่เหมาะสม<br />

1) ระบบการพัฒนาศักยภาพบุคลากร<br />

ใหมี service mind ความสามารถทาง<br />

วิชาการ กฎระเบียบ และประสิทธิภาพ<br />

การทํางาน ฯลฯ<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

93


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ภาคผนวก 2<br />

แผนยุทธศาสตรการพัฒนาขาราชการพลเรือน ประจําป พ.ศ. 2552–2556<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

94


¬ÿ∑∏»“ µ√å ∑’Ë 3:°“√æ—≤π“ºŸâπ”°“√‡ª≈’ˬπ·ª≈ß∑ÿ°√–¥—∫„πÕߧ尓√<br />

‚¥¬ºà“π°√–∫«π°“√‡√’¬π√Ÿâ∑’ËÀ≈“°À≈“¬„Àâ “¡“√∂<br />

‡ªìπºŸâπ”µπ‡Õß ºŸâπ”∑’¡ ºŸâπ”Õߧ尓√ ·≈–ºŸâ𔇧√◊Õ¢à“¬<br />

°≈¬ÿ∑∏å<br />

1. √â“ß√–∫∫°“√<br />

æ—≤π“„Àâ¢â“√“°“√<br />

∑ÿ°√–¥—∫√Ÿâ®—°<br />

°“√π”µπ‡Õß π”∑’¡<br />

π”Õߧ尓√<br />

·≈–𔇧√◊Õ¢à“¬<br />

2. æ—≤π“„Àâ¡’§«“¡√Ÿâ<br />

‡√◊ËÕß°“√∫√‘À“√<br />

°“√‡ª≈’ˬπ·ª≈ß<br />

‡æ◊ËÕ‡µ√’¬¡<br />

§«“¡æ√âÕ¡<br />

∑’Ë®–√Õß√—∫<br />

°“√‡ª≈’ˬπ·ª≈ß<br />

‡ªÑ“À¡“¬ : ºŸâπ”∑ÿ°√–¥—∫¢Õß∑ÿ° à«π√“°“√‰¥â√—∫°“√æ—≤π“Õ¬à“ßµàÕ‡π◊ËÕß<br />

„À⇪ìπºŸâπ”°“√‡ª≈’ˬπ·ª≈ß “¡“√∂º≈—°¥—πÕߧ尓√‰ª Ÿà‡ªÑ“À¡“¬∑’Ë°”Àπ¥<br />

‰¥âÕ¬à“ß¡’ª√– ‘∑∏‘¿“æ<br />

·π«∑“ߪؑ∫—µ‘/¡“µ√°“√<br />

1. æ—≤π“√–∫∫°“√§—¥‡≈◊Õ°°àÕπ‡¢â“ Ÿà<br />

µ”·Àπàß∑ÿ°√–¥—∫ ‚¥¬«‘∏’»Ÿπ¬å<br />

ª√–‡¡‘𧫓¡‡À¡“– ¡<br />

2. √â“ß√–∫∫æ—≤π“‡æ◊ËÕ √â“ߺŸâπ”<br />

Õ¬à“ßµàÕ‡π◊ËÕß ‚¥¬¡’°“√‡◊ËÕ¡‚¬ß<br />

µ—Èß·µà‡√‘Ë¡‡¢â“√—∫√“°“√ ®π∂÷ß<br />

‡¢â“ Ÿàµ”·ÀπàߺŸâ∫√‘À“√√–¥—∫µâπ<br />

√–¥—∫°≈“ß ·≈–√–¥—∫ Ÿß<br />

3. ¡’°“√«“ß·ºπæ—≤π“‡æ◊ËÕ°“√<br />

◊∫∑Õ¥µ”·Àπàß<br />

1. ¡’À≈—° Ÿµ√·≈–Õߧ姫“¡√Ÿâ¥â“π<br />

°“√∫√‘À“√ °“√‡ª≈’ˬπ·ª≈ß ·≈–<br />

¡’°“√¥”‡π‘π°“√æ—≤π“¢Õß<br />

Àπ૬ߓπÕ¬à“ßµàÕ‡π◊ËÕß µ≈Õ¥®π<br />

¡’√–∫∫°“√ª√–‡¡‘𵑥µ“¡º≈<br />

°“√æ—≤π“<br />

2. æ—≤π“¢â“√“°“√„Àâ√Ÿâ·≈–‡¢â“„®<br />

°√–· ‚≈°“¿‘«—µπå ¡’«‘ —¬∑—»πå<br />

∑—π ¡—¬ ·≈–∑—πµàÕ§«“¡<br />

‡ª≈’ˬπ·ª≈ߢÕß‚≈°<br />

3. √â“߇§√◊Õ¢à“¬°“√æ—≤π“ºŸâπ”‚¥¬<br />

®—¥‡«∑’·≈–°‘®°√√¡·≈°‡ª≈’ˬπ<br />

§«“¡√Ÿâ·≈–ª√– ∫°“√≥å√–À«à“ß<br />

Àπ૬ߓπ∑’˪ؑ∫—µ‘¿“√°‘®„π≈—°…≥–<br />

‡¥’¬«°—π ∑—Èß¿“¬„π·≈–¿“¬πÕ°<br />

Àπ૬ߓπ√«¡∑—ÈßÀπ૬ߓπµà“ߪ√–‡∑»<br />

µ—«’È«—¥<br />

1. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß√–∫∫<br />

°“√§—¥‡≈◊Õ°·≈–°“√„â«‘∏’<br />

»Ÿπ¬åª√–‡¡‘𧫓¡‡À¡“– ¡°àÕπ<br />

‡¢â“ Ÿàµ”·Àπàß∑ÿ°√–¥—∫<br />

2. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß√–∫∫æ—≤π“<br />

‡æ◊ËÕ √â“ߺŸâπ”Õ¬à“ßµàÕ‡π◊ËÕß<br />

3. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√®—¥∑”·ºπ<br />

æ—≤π“‡æ◊ËÕ°“√ ◊∫∑Õ¥µ”·Àπàß<br />

·≈–°“√¢—∫‡§≈◊ËÕπ<br />

„âª√–‚¬πåÕ¬à“ßµàÕ‡π◊ËÕß®“°·ºπ œ<br />

1. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√®—¥∑”<br />

À≈—° Ÿµ√°“√¥”‡π‘π°“√ ·≈–°“√<br />

ª√–‡¡‘𵑥µ“¡º≈°“√æ—≤π“<br />

¢â“√“°“√¥â“π°“√∫√‘À“√°“√<br />

‡ª≈’ˬπ·ª≈ß<br />

2. √âÕ¬≈–¢Õߢâ“√“°“√∑’Ë√Ÿâ·≈–‡¢â“„®<br />

°√–· ‚≈°“¿‘«—µπå ¡’«‘ —¬∑—»πå ∑—π ¡—¬<br />

·≈–∑—πµàÕ§«“¡‡ª≈’ˬπ·ª≈ߢÕß‚≈°<br />

3. ®”π«π‡§√◊Õ¢à“¬ ·≈–°‘®°√√¡¥â“π<br />

°“√æ—≤π“ºŸâπ”·≈–°“√·≈°‡ª≈’ˬπ<br />

‡√’¬π√Ÿâ √–À«à“ßÀπ૬ߓπ∑’˪ؑ∫—µ‘<br />

¿“√°‘® „π≈—°…≥–‡¥’¬«°—π ∑—Èß„π<br />

·≈–πÕ°Àπ૬ߓπ √«¡∑—ÈßÀπ૬<br />

ß“πµà“ߪ√–‡∑»<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å ∑’Ë 4:°“√ à߇ √‘¡°“√æ—≤π“§ÿ≥¿“æ’«‘µ¢Õߢâ“√“°“√∑ÿ°§π<br />

∑ÿ°√–¥—∫„Àâ¡’æ≈—ß°“¬∑’ˇ¢â¡·¢Áß·≈–æ≈—ß„®∑’Ëæ√âÕ¡Õÿ∑‘»<br />

‡æ◊ËÕº≈ —¡ƒ∑∏‘Ï¢Õßß“π<br />

‡ªÑ“À¡“¬ : ¢â“√“°“√‡°‘¥§«“¡µ√–Àπ—° ¡’·π«∑“ߪ√—∫ª√ÿß æ—≤π“§ÿ≥¿“æ’«‘µ¢Õßµπ‡Õß<br />

·≈–¡’®‘µ ”π÷°¡’ à«π√à«¡„π°“√·°â‰¢ ‘Ëß·«¥≈âÕ¡°“√∑”ß“π„À⥒¢÷Èπ “¡“√∂ªØ‘∫—µ‘µπ<br />

‰¥âÕ¬à“߇À¡“– ¡ ‡æ◊ËÕ à߇ √‘¡ ‘Ëß·«¥≈âÕ¡¢Õßµπ‡Õß ‡æ◊ËÕπ√à«¡ß“π·≈–Õߧ尓√<br />

°≈¬ÿ∑∏å<br />

1. æ—≤𓇠√‘¡ √â“ß<br />

§«“¡√Ÿâ‡√◊ËÕß<br />

°“√æ—≤π“<br />

§ÿ≥¿“æ’«‘µ<br />

∑’ˇÀ¡“– ¡<br />

·≈–®”‡ªìπ„Àâ°—∫<br />

¢â“√“°“√<br />

2. æ—≤π“√–∫∫‡ √‘¡<br />

‡æ◊ËÕ„Àâ¢â“√“°“√<br />

¡’§ÿ≥¿“æ’«‘µ∑’Ë¥’<br />

·π«∑“ߪؑ∫—µ‘/¡“µ√°“√<br />

1. ®—¥∑”À≈—° Ÿµ√·≈–¥”‡π‘π°“√<br />

æ—≤𓧫“¡√Ÿâ ‡√◊ËÕß°“√æ—≤π“<br />

§ÿ≥¿“æ’«‘µ‡æ◊ËÕ„Àâ¢â“√“°“√<br />

¡’§ÿ≥¿“æ’«‘µ∑’Ë¥’À≈—° Ÿµ√∑’˧«√¡’<br />

䴉ᡈ<br />

1) °“√§‘¥‡‘ß∫«°<br />

2) °“√∑”ß“π∑’Ë“≠©≈“¥<br />

3) °“√∫√‘À“√®—¥°“√¥â“π°“√‡ß‘π<br />

4) °“√∫√‘À“√‡«≈“<br />

5) °“√æ—≤π“®‘µ<br />

6) °“√∑”ß“π‡ªìπ∑’¡<br />

1. ¡’·ºπ à߇ √‘¡§«“¡ —¡æ—π∏å∑’Ë¥’<br />

„πÀπ૬ߓπ<br />

2. ¡’°“√ ”√«®°“√¡’ à«π√à«¡<br />

¢Õߢâ“√“°“√<br />

3. ®—¥∑”√–∫∫¬°¬àÕ߇‘¥Ÿ‡°’¬√µ‘<br />

¢â“√“°“√∑’Ë¥’·≈–¡’‡°≥±å„π°“√<br />

≈ß‚∑…¢â“√“°“√ ∑’ˉ¡àª√–惵‘<br />

µ“¡«‘π—¬<br />

4. ®—¥∑”‚§√ß°“√„Àâ°“√¥Ÿ·≈ ·π–π”<br />

·≈–ª√÷°…“·°à¢â“√“°“√<br />

5. ®—¥∑”·ºπ à߇ √‘¡ ÿ¢Õπ“¡—¬∑’Ë¥’<br />

·≈–°‘®°√√¡æ—≤π“„Àâ¢â“√“°“√¡’<br />

ÿ¢Õπ“¡—¬∑’Ë¥’<br />

µ—«’È«—¥<br />

1. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√®—¥∑”<br />

À≈—° Ÿµ√·≈–¡’°“√¥”‡π‘π°“√æ—≤π“<br />

§«“¡√Ÿâ ‡√◊ËÕß°“√æ—≤π“§ÿ≥¿“æ’«‘µ<br />

‡æ◊ËÕ„Àâ¢â“√“°“√¡’§ÿ≥¿“æ’«‘µ∑’Ë¥’<br />

2. √âÕ¬≈–¢Õߢâ“√“°“√∑’ˉ¥â√—∫<br />

°“√æ—≤π“ ·≈–√âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®<br />

¢Õß°“√æ—≤π“<br />

1. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√®—¥∑”·ºπ<br />

à߇ √‘¡§«“¡ —¡æ—π∏å∑’Ë¥’„πÀπ૬ߓπ<br />

2. √âÕ¬≈–¢Õߢâ“√“°“√∑’Ë¡’ à«π√à«¡<br />

„π°‘®°√√¡µà“ß Ê ¢ÕßÀπ૬ߓπ<br />

3. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√®—¥∑”<br />

√–∫∫¬°¬àÕ߇‘¥Ÿ‡°’¬√µ‘¢â“√“°“√<br />

∑’Ë¥’·≈–‡°≥±å°“√≈ß‚∑…¢â“√“°“√<br />

∑’ˉ¡àª√–惵‘ µ“¡«‘π—¬<br />

4. ®”π«π‚§√ß°“√œ·≈–√âÕ¬≈–<br />

§«“¡æ÷ßæÕ„®¢Õߢâ“√“°“√∑’ˉ¥â√—∫<br />

°“√¥Ÿ·≈ ·≈–§”·π–π”ª√÷°…“<br />

5. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√®—¥∑”·ºπ<br />

à߇ √‘¡ ÿ¢Õπ“¡—¬∑’Ë¥’·≈–°‘®°√√¡<br />

æ—≤π“„Àâ¢â“√“°“√¡’ ÿ¢Õπ“¡—¬∑’Ë¥’<br />

æ√–√“∫—≠≠—µ‘<br />

√–‡∫’¬∫¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ<br />

æ.». 2551<br />

¡“µ√“ 8 (1)<br />

∫—≠≠—µ‘„Àâ°.æ ¡’Õ”π“®Àπâ“∑’ˇ πÕ·π–·≈–„À⧔ª√÷°…“·°à§≥–√—∞¡πµ√’‡°’ˬ«°—∫<br />

π‚¬∫“¬·≈–¬ÿ∑∏»“ µ√å°“√∫√‘À“√∑√—欓°√∫ÿ§§≈¿“§√—∞ „π¥â“π¡“µ√∞“π<br />

§à“µÕ∫·∑π °“√∫√‘À“√·≈–æ—≤π“∑√—欓°√∫ÿ§§≈ °“√«“ß·ºπ°”≈—ߧπ ·≈–<br />

¥â“πÕ◊Ëπ Ê ‡æ◊ËÕ„Àâ à«π√“°“√„⇪ìπ·π«„π°“√¥”‡π‘π°“√<br />

¡“µ√“ 72<br />

„Àâ à«π√“°“√¡’Àπâ“∑’Ë¥”‡π‘π°“√„Àâ¡’°“√‡æ‘Ë¡æŸπª√– ‘∑∏‘¿“æ ·≈–‡ √‘¡ √â“ß<br />

·√ß®Ÿß„® ·°à¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ “¡—≠‡æ◊ËÕ„Àâ¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ “¡—≠¡’§ÿ≥¿“æ<br />

§ÿ≥∏√√¡ ®√‘¬∏√√¡ §ÿ≥¿“æ’«‘µ ¡’¢«—≠ ·≈–°”≈—ß„®„π°“√ªØ‘∫—µ‘√“°“√„Àâ<br />

‡°‘¥º≈ —¡ƒ∑∏‘ϵàÕ¿“√°‘®¢Õß√—∞ ∑—Èßπ’È µ“¡À≈—°‡°≥±å·≈–«‘∏’°“√∑’Ë °.æ. °”Àπ¥<br />

„π°√≥’∑’ˇÀÁπ ¡§«√ ·≈–‡æ◊ËÕ°“√ª√–À¬—¥ ”π—°ß“π °.æ. ®–®—¥„Àâ¡’°“√‡æ‘Ë¡æŸπ<br />

ª√– ‘∑∏‘¿“æ·≈–‡ √‘¡ √â“ß·√ß®Ÿß„®·∑π à«π√“°“√µ“¡«√√§Àπ÷Ëß°Á‰¥â


¡µ‘§≥–√—∞¡πµ√’<br />

❑ „À⧫“¡‡ÀÁπÕ∫°—∫¬ÿ∑∏»“ µ√å°“√æ—≤π“¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ æ.». 2552-2556<br />

·≈–„Àâ à«π√“°“√∑’ˇ°’ˬ«¢âÕß∂◊ժؑ∫—µ‘ ·≈–¥”‡π‘π°“√µ“¡¬ÿ∑∏»“ µ√å°“√æ—≤π“¢â“√“°“√<br />

æ≈‡√◊Õπ<br />

❑ ‡ÀÁπÕ∫„Àâ à«π√“°“√®—¥ √√ß∫ª√–¡“≥‡æ◊ËÕ°“√æ—≤π“¢â“√“°“√‰¡àπâÕ¬°«à“√âÕ¬≈– 3<br />

¢ÕßÀ¡«¥‡ß‘π‡¥◊Õπ·≈–§à“®â“ߪ√–®” ‚¥¬·¬°‡ªìπ√“¬°“√§à“„â®à“¬ ”À√—∫°“√æ—≤π“<br />

¢â“√“°“√‚¥¬‡©æ“–Õ¬à“ß—¥‡®π„π‡Õ° “√ß∫ª√–¡“≥ ´÷Ë߇ªìπ°“√¥”‡π‘π°“√µàÕ‡π◊ËÕß<br />

µ“¡¡µ‘§≥–√—∞¡πµ√’ ‡¡◊ËÕ«—π∑’Ë 27 °√°Æ“§¡ æ.». 2547<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å°“√æ—≤π“¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ æ.». 2552-2556<br />

À≈—°°“√ : ‡ √‘¡ √â“ß„Àâ¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ¡’§ÿ≥¿“æ §ÿ≥∏√√¡ ®√‘¬∏√√¡ §ÿ≥¿“æ’«‘µ<br />

·≈–¡’¢«—≠°”≈—ß„®„π°“√ªØ‘∫—µ‘√“°“√‡æ◊ËÕ„À⇰‘¥º≈ —¡ƒ∑∏‘ϵàÕ¿“√°‘®¿“§√—∞<br />

·≈–ª√–‚¬πå ÿ¢¢Õߪ√–“π<br />

«‘ —¬∑—»πå : „πªï æ.». 2556 ¢â“√“°“√æ≈‡√◊ÕπµâÕß¡’ ¡√√∂π–„π°“√ªØ‘∫—µ‘√“°“√<br />

Õ¬à“ß¡◊ÕÕ“’懪ìπ∑’ˇ◊ËÕ∂◊Õ»√—∑∏“¢Õߪ√–“π<br />

æ—π∏°‘® : ‡ √‘¡ √â“ßæ—≤π“ºŸâπ”·≈–¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ∑ÿ°√–¥—∫µ“¡ ¡√√∂π–<br />

·≈–„â„À⇰‘¥ª√–‚¬πå Ÿß ÿ¥‚¥¬¬÷¥ª√–“π‡ªìπ»Ÿπ¬å°≈“ß<br />

‡ªÑ“ª√– ߧå : ‡æ◊ËÕæ—≤π“·≈–‡æ‘Ë¡æŸπ§«“¡√Ÿâ ∑—°…– ·≈– ¡√√∂π–¢Õߢâ“√“°“√∑ÿ°√–¥—∫<br />

„ÀâªØ‘∫—µ‘ß“πÕ¬à“ß¡◊ÕÕ“’æ ‡°‘¥º≈ —¡ƒ∑∏‘Ï §ÿâ¡§à“ ‡ªìπ∑’ˇ◊ËÕ∂◊Õ»√—∑∏“<br />

¢Õߪ√–“π<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å∑’Ë 1 °“√æ—≤π“§ÿ≥¿“æ¢â“√“°“√„π°“√ªØ‘∫—µ‘ß“π∫πæ◊Èπ∞“π¢Õß ¡√√∂π–<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å∑’Ë 2 °“√æ—≤π“¢â“√“°“√„À⇪ìπ§π¥’ ¡’§«“¡´◊ËÕ —µ¬å ÿ®√‘µ¡’§ÿ≥∏√√¡®√‘¬∏√√¡<br />

¡’«‘π—¬ ·≈–‡¢â“∂÷ߪ√–“π<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å∑’Ë 3 °“√æ—≤π“ºŸâπ”°“√‡ª≈’ˬπ·ª≈ß∑ÿ°√–¥—∫„πÕߧ尓√‚¥¬ºà“π°√–∫«π°“√‡√’¬π√Ÿâ<br />

∑’ËÀ≈“°À≈“¬„Àâ “¡“√∂‡ªìπºŸâπ”µπ‡Õß ºŸâπ”∑’¡ ºŸâπ”Õߧ尓√ ·≈–ºŸâ𔇧√◊Õ¢à“¬<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å∑’Ë 4 °“√ à߇ √‘¡°“√æ—≤π“§ÿ≥¿“æ’«‘µ¢Õߢâ“√“°“√∑ÿ°§π∑ÿ°√–¥—∫ „Àâ¡’æ≈—ß°“¬<br />

∑’ˇ¢â¡·¢Áß·≈–æ≈—ß„®∑’Ëæ√âÕ¡Õÿ∑‘»‡æ◊ËÕº≈ —¡ƒ∑∏‘Ï¢Õßß“π<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å ∑’Ë 1:°“√æ—≤π“§ÿ≥¿“æ¢â“√“°“√„π°“√ªØ‘∫—µ‘ß“π∫πæ◊Èπ∞“π<br />

¢Õß ¡√√∂π–<br />

‡ªÑ“À¡“¬ : ¢â“√“°“√„π à«π√“°“√µà“ß Ê ‰¥â√—∫°“√æ—≤π“„Àâ¡’§ÿ≥¿“æ„π°“√ªØ‘∫—µ‘<br />

ß“πµ“¡ ¡√√∂π–À≈—°·≈– ¡√√∂π–ª√–®”°≈ÿà¡ß“πµ“¡§«“¡®”‡ªìπ<br />

·≈–§ÿ⡧à“<br />

°≈¬ÿ∑∏å<br />

1. æ—≤π“ ¡√√∂π–<br />

¢â“√“°“√<br />

2. æ—≤π“∑“ß°â“«Àπâ“<br />

„πÕ“’æ<br />

·π«∑“ߪؑ∫—µ‘/¡“µ√°“√<br />

1. ®—¥∑”¬ÿ∑∏»“ µ√å°“√æ—≤π“<br />

¢â“√“°“√¢Õß à«π√“°“√<br />

„Àâ Õ¥§≈âÕß°—∫¬ÿ∑∏»“ µ√å<br />

°“√æ—≤π“¢â“√“°“√æ≈‡√◊Õπ<br />

æ.». 2552-2556<br />

¢Õß ”π—°ß“π °.æ.<br />

2. °”Àπ¥·≈–ª√–‡¡‘π ¡√√∂π–<br />

¢ÕßÕߧ尓√ µ“¡∫∑∫“∑·≈–<br />

Àπâ“∑’˧«“¡√—∫º‘¥Õ∫·≈–<br />

¡√√∂π–¢Õߢâ“√“°“√<br />

„Àâ Õ¥§≈âÕßµ“¡°≈ÿࡪ√–‡¿∑<br />

·≈–√–¥—∫µ”·Àπàß<br />

3. «“ß√–∫∫·≈–¥”‡π‘π°“√æ—≤π“<br />

¢â“√“°“√„Àâ¡’ ¡√√∂𖵓¡<br />

§«“¡®”‡ªìπ √«¡∑—Èß¡’°“√ª√–‡¡‘π<br />

µ‘¥µ“¡º≈°“√æ—≤π“ ¡√√∂π–<br />

¢â“√“°“√<br />

1. ®—¥∑”·ºπæ—≤π“√“¬∫ÿ§§≈<br />

„Àâ‡◊ËÕ¡‚¬ß°—∫°“√∫√‘À“√º≈°“√<br />

ªØ‘∫—µ‘ß“π ·ºπ∑“ß°â“«Àπâ“„π<br />

Õ“’æ ·≈–·ºπ°“√ ◊∫∑Õ¥µ”·Àπàß<br />

2. ª√–‡¡‘𵑥µ“¡º≈°“√æ—≤π“<br />

√“¬∫ÿ§§≈‡æ◊ËÕ„âª√–‚¬πå„π<br />

°“√ √√À“ æ—≤π“·≈–·µàßµ—Èß<br />

µ—«’È«—¥<br />

1. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√®—¥∑”<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å°“√æ—≤π“¢â“√“°“√ œ<br />

¢Õß à«π√“°“√<br />

2. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√°”Àπ¥<br />

·≈–ª√–‡¡‘π ¡√√∂π–¢ÕßÕߧ尓√<br />

·≈–¢â“√“°“√<br />

3. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√«“ß√–∫∫<br />

·≈–¥”‡π‘π°“√ ·≈–°“√ª√–‡¡‘π<br />

µ‘¥µ“¡º≈<br />

4. √âÕ¬≈–¢Õߢâ“√“°“√∑’ˉ¥â√—∫°“√<br />

æ—≤π“ ¡√√∂𖵓¡§«“¡®”‡ªìπ<br />

1. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√®—¥∑”·ºπ<br />

æ—≤π“√“¬∫ÿ§§≈·≈–√âÕ¬≈–¢Õß<br />

¢â“√“°“√∑’Ë¡’·≈–‰¥â√—∫°“√æ—≤π“<br />

µ“¡·ºπæ—≤π“√“¬∫ÿ§§≈<br />

2. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√„â<br />

ª√–‚¬πå·ºπæ—≤π“√“¬∫ÿ§§≈<br />

„π°“√ √√À“æ—≤π“·≈–·µàßµ—Èß<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å ∑’Ë 2:°“√æ—≤π“¢â“√“°“√„À⇪ìπ§π¥’ ¡’§«“¡´◊ËÕ —µ¬å ÿ®√‘µ<br />

¡’§ÿ≥∏√√¡ ®√‘¬∏√√¡ ¡’«‘π—¬·≈–‡¢â“∂÷ߪ√–“π<br />

°≈¬ÿ∑∏å<br />

1. √√À“·≈–§—¥‡≈◊Õ°<br />

∫ÿ§§≈∑’Ë¡’§«“¡<br />

“¡“√∂·≈–<br />

§ÿ≥ ¡∫—µ‘<br />

¢Õß°“√‡ªìπ §π¥’<br />

¡’§«“¡´◊ËÕ —µ¬å<br />

ÿ®√‘µ ¡’§ÿ≥∏√√¡<br />

®√‘¬∏√√¡<br />

µ“¡√–∫∫§ÿ≥∏√√¡<br />

‡¢â“√—∫√“°“√<br />

2. °”Àπ¥À≈—°‡°≥±å<br />

·≈–°√Õ∫¡“µ√∞“π<br />

∑“ߧÿ≥∏√√¡<br />

®√‘¬∏√√¡<br />

¢âÕ∫—ߧ—∫®√√¬“·≈–<br />

°“√ª√–‡¡‘π∑—Èߥâ“π<br />

§ÿ≥≈—°…≥–¿“¬„π<br />

¢Õß∫ÿ§§≈ ·≈–«‘∏’<br />

ªØ‘∫—µ‘ß“π √«¡∑—Èß<br />

¡’°“√∫—ߧ—∫„â<br />

Õ¬à“߇ªìπ√Ÿª∏√√¡<br />

‡ªÑ“À¡“¬ : ¢â“√“°“√„π à«π√“°“√µà“ß Ê ‰¥â√—∫°“√æ—≤π“„À⇪ìπ§π¥’<br />

¡’§«“¡´◊ËÕ —µ¬å ÿ®√‘µ ¡’§ÿ≥∏√√¡®√‘¬∏√√¡ ¡’«‘π—¬ ·≈–‡¢â“∂÷ߪ√–“π<br />

·π«∑“ߪؑ∫—µ‘/¡“µ√°“√<br />

1. æ—≤𓧫“¡ “¡“√∂„π°“√ √√À“<br />

·≈–§—¥‡≈◊Õ°∫ÿ§§≈ ∑’Ë¡’§«“¡ “¡“√∂<br />

·≈–§ÿ≥ ¡∫—µ‘¢Õß°“√‡ªìπ<br />

¢â“√“°“√∑’Ë¥’µ“¡√–∫∫§ÿ≥∏√√¡<br />

‡¢â“√—∫√“°“√<br />

1. ®—¥∑”¬ÿ∑∏»“ µ√å°“√ à߇ √‘¡<br />

§ÿ≥∏√√¡®√‘¬∏√√¡¢Õß<br />

à«π√“°“√∑’Ë Õ¥§≈âÕß°—∫<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å°“√ à߇ √‘¡§ÿ≥∏√√¡<br />

®√‘¬∏√√¡„π¿“§√—∞<br />

¢Õß ”π—°ß“π °.æ.<br />

2. ®—¥∑”¡“µ√∞“π∑“ߧÿ≥∏√√¡<br />

®√‘¬∏√√¡ ·≈–¢âÕ∫—ߧ—∫®√√¬“<br />

¢ÕßÀπ૬ߓπ<br />

3. „âÀ≈—°∏√√¡“¿‘∫“≈¿“§√—∞<br />

„π°“√∫√‘À“√®—¥°“√·≈–¢—∫‡§≈◊ËÕπ<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å¢ÕßÀπ૬ߓπ<br />

4. °”Àπ¥„Àâ¡’°“√∫—ߧ—∫„â¡“µ√∞“π<br />

§ÿ≥∏√√¡ ®√‘¬∏√√¡ ¢âÕ∫—ߧ—∫<br />

®√√¬“·≈–«‘π—¬¢â“√“°“√<br />

‡ªìπ°√Õ∫°“√ª√–惵‘ªØ‘∫—µ‘<br />

Õ¬à“ß—¥‡®π<br />

µ—«’È«—¥<br />

1. ®”π«π‡§√◊ËÕß¡◊Õ/«‘∏’°“√∑’Ë„â<br />

„π°“√ √√À“ ·≈–§—¥‡≈◊Õ°<br />

∑’ˉ¥â¡“µ√∞“π<br />

1. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√®—¥∑”<br />

¬ÿ∑∏»“ µ√å°“√ à߇ √‘¡§ÿ≥∏√√¡<br />

®√‘¬∏√√¡¢Õß à«π√“°“√<br />

2. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√®—¥∑”<br />

¡“µ√∞“π∑“ߧÿ≥∏√√¡ ®√‘¬∏√√¡<br />

·≈–¢âÕ∫—ߧ—∫®√√¬“ ¢ÕßÀπ૬ߓπ<br />

3. √“¬ß“π°“√„âÀ≈—°∏√√¡“¿‘∫“≈<br />

¿“§√—∞„π°“√∫√‘À“√®—¥°“√ ·≈–<br />

¢—∫‡§≈◊ËÕπ¬ÿ∑∏»“ µ√å¢ÕßÀπ૬ߓπ<br />

4. √“¬ß“π°“√∫—ߧ—∫„â¡“µ√∞“π<br />

§ÿ≥∏√√¡ ®√‘¬∏√√¡ ¢âÕ∫—ߧ—∫®√√¬“<br />

·≈–«‘π—¬ ·≈–√âÕ¬≈–¢Õߢâ“√“°“√<br />

∑’ˉ¡àªØ‘∫—µ‘µ“¡<br />

°≈¬ÿ∑∏å<br />

3. ‡ √‘¡ √â“ß®‘µ ”π÷°<br />

°“√‡ªìπ¢â“√“°“√<br />

∑’Ë¥’Õ¬à“ßµàÕ‡π◊ËÕß<br />

·≈–æ—≤π“<br />

ºŸâ∫—ߧ—∫∫—≠“<br />

∑ÿ°√–¥—∫<br />

„À⇪ìπ·∫∫Õ¬à“ß∑’Ë¥’<br />

“¡“√∂®Ÿß„® ·≈–<br />

æ—≤π“§ÿ≥∏√√¡<br />

®√‘¬∏√√¡<br />

ºŸâ„µâ∫—ߧ—∫∫—≠“ ·≈–<br />

π—∫ πÿπ°“√ªØ‘∫—µ‘<br />

µ“¡¡“µ√∞“π∑“ß<br />

§ÿ≥∏√√¡ ®√‘¬∏√√¡<br />

·≈–®√√¬“<br />

·π«∑“ߪؑ∫—µ‘/¡“µ√°“√<br />

1. ®—¥„Àâ¡’√–∫∫°“√æ—≤π“¢â“√“°“√<br />

√–À«à“ß∑¥≈Õߪؑ∫—µ‘Àπâ“∑’Ë<br />

√“°“√<br />

2. ¡’À≈—° Ÿµ√Ωñ°Õ∫√¡¥â“π§ÿ≥∏√√¡<br />

®√‘¬∏√√¡ ·≈–°“√æ—≤π“§ÿ≥∏√√¡<br />

®√‘¬∏√√¡ ∑’Ë Õ¥§≈âÕß°—∫√–¥—∫<br />

·≈–§«“¡µâÕß°“√ ¢Õߢâ“√“°“√<br />

Õ¬à“߇ªìπ√–∫∫·≈–µàÕ‡π◊ËÕß<br />

3. ®—¥„Àâ¡’°“√‡√’¬π√ŸâÀ≈—°°“√∫√‘À“√<br />

ß“π®“°Õߧ尓√∑’Ë¡’°“√«“ß·ºπ<br />

°“√∫√‘À“√ß“πÕ¬à“߇ªìπ√–∫∫<br />

·≈–¡’«—≤π∏√√¡Õߧå°√<br />

¡’§«“¡‡æ’¬√ §«“¡√Õ∫§Õ∫ √Õ∫√Ÿâ<br />

‡√’¬∫ßà“¬ ·≈–ª√–À¬—¥<br />

4. ®—¥„Àâ¡’°“√‡√’¬π√Ÿâ‡√◊ËÕßÀ≈—°<br />

∏√√¡“¿‘∫“≈¿“§√—∞<br />

5. ®—¥„Àâ¡’°“√‡√’¬π√Ÿâù‡°’ˬ«°—∫‚§√ß°“√<br />

Õ—π‡π◊ËÕß¡“®“°æ√–√“¥”√‘<br />

6. à߇ √‘¡‡‘¥Ÿ·≈–∂à“¬∑Õ¥<br />

ª√– ∫°“√≥å¢Õߢâ“√“°“√<br />

∑’ˇªìπ·∫∫Õ¬à“ß∑’Ë¥’<br />

µ—«’È«—¥<br />

1. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√æ—≤π“<br />

√–∫∫°“√æ—≤π“¢â“√“°“√√–À«à“ß<br />

∑¥≈Õߪؑ∫—µ‘Àπâ“∑’Ë√“°“√<br />

2. ®”π«πÀ≈—° Ÿµ√Ωñ°Õ∫√¡¥â“π§ÿ≥∏√√¡<br />

®√‘¬∏√√¡ ·≈–√âÕ¬≈–¢Õߢâ“√“°“√<br />

∑’ˉ¥â√—∫°“√æ—≤π“ µ“¡À≈—° Ÿµ√<br />

¥—ß°≈à“«<br />

3. √“¬ß“πº≈°“√‡√’¬π√ŸâÀ≈—°°“√∫√‘À“√<br />

ß“π®“°Õߧ尓√∑’Ë¡’°“√«“ß·ºπ°“√<br />

∫√‘À“√ß“π Õ¬à“߇ªìπ√–∫∫ ·≈–¡’<br />

«—≤π∏√√¡Õߧå°√∑’Ë¡’§«“¡‡æ’¬√<br />

§«“¡√Õ∫§Õ∫ √Õ∫√Ÿâ ‡√’¬∫ßà“¬<br />

ª√–À¬—¥ ·≈–°“√π”¡“ª√—∫„â<br />

4. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√‡√’¬π√Ÿâ<br />

‡√◊ËÕßÀ≈—°∏√√¡“¿‘∫“≈¿“§√—∞<br />

5. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß°“√‡√’¬π√Ÿâ<br />

‚§√ß°“√Õ—π‡π◊ËÕß¡“®“°æ√–√“¥”√‘<br />

6. √âÕ¬≈–§«“¡ ”‡√Á®¢Õß‚§√ß°“√<br />

à߇ √‘¡‡‘¥Ÿ·≈–∂à“¬∑Õ¥<br />

ª√– ∫°“√≥å¢Õߢâ“√“°“√<br />

∑’ˇªìπ·∫∫Õ¬à“ß∑’Ë¥’


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ภาคผนวก 3<br />

การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) PMQA หมวด 5<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

97


คูมือคำอธบายตัวช้วัด การพัฒนาคุณภาพการบรหารจัดการภาครัฐ ปงบประมาณ พ.ศ. 2555<br />

1


คูมือคำอธบายตัวช้วัด การพัฒนาคุณภาพการบรหารจัดการภาครัฐ ปงบประมาณ พ.ศ. 2555<br />

หมวด 5 <br />

การมุงเนนทรัพยากรบุคคล<br />

รหัส แนวทางการดําเนินการ <br />

ประเด็นการพิจารณาการดําเนินการที่ครบถวน<br />

<strong>HR</strong> 1<br />

<br />

จังหวัดตองกําหนดปจจัยทีมีผลตอความผาสุก<br />

และความพึงพอใจของบุคลากร รวมทั้งตองมี <br />

<br />

การวิเคราะหและปรับปรุงปจจัยดังกลาวใหมี<br />

ความเหมาะสม <br />

เพื่อสรางแรงจูงใจในการ<br />

<br />

ปฏิบัติงานและใหเกิดความผูกพันตอองคการ<br />

A • <br />

มีกระบวนการกําหนดปจจัยที่มีผลตอ<br />

ความผาสุก <br />

ความพึงพอใจของบุคลากร<br />

ประกอบดวย ปจจัยที่สรางแรงจูงใจ และ<br />

<br />

ปจจัยที่สรางบรรยากาศในการทํางาน<br />

• <br />

มีการจัดลําดับความสําคัญของปจจัยที่มีผล<br />

ตอความผาสุก <br />

ความพึงพอใจของบุคลากร<br />

• มีแผนการสรางความผาสุก และความพึง <br />

พอใจของบุคลากร ที่สอดคลองกับปจจัยที่<br />

<br />

กําหนด<br />

D<br />

<br />

มีการดําเนินการตามแผนการสรางความผาสุก<br />

<br />

และความพึงพอใจของบุคลากร<br />

L<br />

มีระบบการประเมินความผาสุก ความพึงพอใจ<br />

และการสรางแรงจูงใจของบุคลากร เชน การ <br />

สํารวจความพึงพอใจ การกําหนดตัวชี้วัด เปนตน<br />

<strong>HR</strong> 2<br />

<br />

จังหวัดมีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน A<br />

<br />

มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของ<br />

ของบุคลากรที่มีประสิทธิผล และเปนธรรม <br />

บุคลากรทั่วทั้งองคการ<br />

<br />

รวมทั้งมีการแจงผลการประเมินใหบุคลากร D • <br />

บุคลากรทั่วทั้งองคการไดรับการประเมินผล<br />

ทราบ <br />

เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานใหดีขึ้น<br />

การปฏิบัติงาน<br />

• <br />

มีการแจงผลการปฏิบัติงานใหกับบุคลากร<br />

I <br />

มีการจัดสรรแรงจูงใจที่เชื่อมโยงกับการประเมิน<br />

<br />

ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร<br />

<strong>HR</strong> 3<br />

<br />

จังหวัดตองดําเนินการตามแผนกลยุทธการ A<br />

• <br />

มีแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

บริหารทรัพยากรบุคคลที่กําหนดไวใน SP3<br />

ประจําป 2555<br />

ไปปฏิบัติ <br />

เพื่อใหมีขีดสมรรถนะที่เหมาะสม • มีแผนปฏิบัติการ (Action Plan)<br />

<br />

สามารถปฏิบัติงานใหบรรลุผลตาม /<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคลของแผนงาน/<br />

<br />

เปาประสงคเชิงยุทธศาสตร<br />

โครงการปงบประมาณ .. พ.ศ. 2555<br />

• มีแผนพัฒนาขีดสมรรถนะของบุคลากร หรือ<br />

แผนพัฒนาบุคลากร ประจําป 2555<br />

D<br />

<br />

มีรายงานผลการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการ<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคลประจําป 2555<br />

L <br />

มีการสํารวจความพึงพอใจของบุคลากรที่มีตอ<br />

<br />

การพัฒนาบุคลากร<br />

I<br />

<br />

การดําเนินการพัฒนาบุคลากรมีความสอดคลอง<br />

<br />

กับแผนพัฒนาบุคลากร<br />

194


คูมือคำอธบายตัวช้วัด การพัฒนาคุณภาพการบรหารจัดการภาครัฐ ปงบประมาณ พ.ศ. 2555<br />

รหัส แนวทางการดําเนินการ ประเด็นการพิจารณาการดําเนินการที่ครบถวน<br />

<strong>HR</strong> 4 จังหวัดตองมีระบบการประกันคุณภาพของ<br />

การฝกอบรม รวมถึงการประเมินประสิทธิผล<br />

A มีหลักเกณฑการประกันคุณภาพของการ<br />

ฝกอบรม<br />

และความคุมคาของการพัฒนา/ฝกอบรม<br />

บุคลากร<br />

D มีการนําหลักเกณฑดังกลาวไปใชในการจัด<br />

ฝกอบรม<br />

L มีการประเมินประสิทธิผลการพัฒนา/ฝกอบรม<br />

บุคลากร<br />

<strong>HR</strong> 5 จังหวัดตองมีระบบการแลกเปลี่ยนความรู<br />

หรือทักษะระหวางบุคลากรภายในจังหวัดที่มี<br />

ประสิทธิผล<br />

A ระบบการแลกเปลี่ยนความรูหรือทักษะระหวาง<br />

บุคลากรของจังหวัด/แนวทางหรือแผนการจัด<br />

กิจกรรมแลกเปลี่ยนความรูหรือทักษะของ<br />

บุคลากร/ชองทางการแลกเปลี่ยนความรูหรือ<br />

ทักษะของบุคลากร<br />

D รายงานผลการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู<br />

หรือทักษะระหวางบุคลากร<br />

L รายงานผลการติดตามประเมินผลการ<br />

แลกเปลี่ยนความรูหรือทักษะของบุคลากร พรอม<br />

ขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการดําเนินการตอไป<br />

195


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ภาคผนวก 4<br />

สรุปผลการวิเคราะหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

สภาพแวดลอม (SWOT Analysis)<br />

ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

101


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

สรุปผลการวิเคราะหสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาสภาพแวดลอม<br />

(SWOT Analysis) ดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

การประเมินสภาพองคกรดานกาIรบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

(Internal Assessment)<br />

จุดแข็ง (Strengths)<br />

จุดออน (Weaknesses)<br />

(S1) มีระบบสวัสดิการดี (W1) ไมมีเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ<br />

(S2) มีบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในการทํางานดี (W2) ขาดวัฒนธรรมและคานิยมรวมขององคกร<br />

(S3) มีขนาดองคกรเล็ก เอื้อตอการเปลี่ยนแปลงตาม (W3) บุคลากรบางสวนไมรักองคกร<br />

นโยบายภาครัฐ<br />

(S4) เปดโอกาสใหบุคลากรจากหนวยงานภายในมีสวน<br />

รวมในการแสดงความคิดเห็น<br />

(W4) ขาดผูเชี่ยวชาญ ที่มีความรูเฉพาะดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

(S5) บุคลากรมีความเปนวิชาชีพ และมีความรู<br />

ความสามารถ<br />

(W5) ผูบริหารระดับกอง/กลุมขาดทักษะดานการบริหาร<br />

ทรัพยากรมนุษย<br />

(S6) มีอุปกรณเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพียงพอตอบุคลากร (W6) บุคลากรไมชอบการเปลี่ยนแปลง<br />

(S7) มีแหลงขอมูลใหความรูแกบุคลากร (W7) ขาดระบบการสรางแรงจูงใจ ทําใหบุคลากรขาดความ<br />

กระตือรือรนในการพัฒนาตนเอง<br />

(S8) มีความมั่นคงในอาชีพ (W8) ขาดระบบการสอนงาน<br />

(S9) มีความเปนพี่เปนนอง (W9) บุคลากรปฏิบัติหนาที่ไมตรงกับลักษณะงานตาม<br />

ตําแหนง<br />

(S10) องคกรสนับสนุนและใหโอกาสบุคลากรในการ (W10) บุคลากรขาดการมีสวนรวมในกิจกรรมขององคกร<br />

เรียนรู/พัฒนา<br />

(W11) บุคลากรไมสามารถพัฒนาตนเองใหเกิดความ<br />

เชี่ยวชาญเฉพาะดาน เนื่องจากภารกิจงานมาก<br />

(W12) ระบบพัฒนาบุคลากรไมสามารถดําเนินการในเชิงรุก<br />

(W13) ขาดประสิทธิภาพการดําเนินการจางเหมา<br />

(Outsource)<br />

(W14) ขอมูลสารสนเทศดานการบริหารทรัพยากรบุคคลยัง<br />

ไมเพียงพอตอการตัดสินใจ สําหรับวางแผน และ<br />

นโยบาย<br />

(W15) ขาดผลงานวิจัยดานการบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

(W16) การใชงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรไม<br />

สอดคลองกับแผนฯ<br />

(W17) ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานขาด<br />

ประสิทธิภาพ<br />

(W18) ไมมีระบบการใหคุณใหโทษ<br />

(W19) ไมมีแผนสงเสริมรักษาผูมีสมรรถนะสูง<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

102


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

การประเมินสภาพแวดลอมภายนอกดานกาIรบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล(External Assessment)<br />

โอกาส (Opportunities)<br />

ภัยคุกคาม (Threats)<br />

(O1) มีกระแสการปฏิรูประบบราชการ (T1) นโยบายรัฐบาลไมเพิ่มตําแหนง คน งบประมาณ<br />

(O2) เศรษฐกิจไมดีทําใหคนหันเขามารับราชการ (T2) เทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงเร็ว บุคลากรทํางานไมทัน<br />

(O3) ผูนํารัฐบาลเนนคนดี คนเกง และการพัฒนา<br />

บุคลากร<br />

(T3) นโยบายขาดความตอเนื่อง เนื่องมาจากผูบริหาร<br />

เปลี่ยนแปลงบอย<br />

(O4) สํานักงาน กพ. ตื่นตัว และกระจายอํานาจให<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคลใหสวนราชการมากขึ้น<br />

(T4) ทุนการศึกษามีจํานวนนอยและไมทันตอความ<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

(O5) FTA และการเจรจาการคาระหวางประเทศมี<br />

มากขึ้น เปนโอกาสใหกับขาราชการไปรับรู<br />

(T5) เงินเดือนขาราชการนอย ไมสอดคลองกับภาวะคา<br />

ครองชีพ<br />

สิ่งแวดลอมใหม ๆ<br />

(O6) ความกาวหนาดาน IT ชวยพัฒนาการดานบุคคล (T6) ระบบราชการเปนขอจํากัดของการบริหาร<br />

จัดการ<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

(O7) มีเครือขายความรวมมือที่ชวยในการพัฒนา (T7) งบประมาณในการพัฒนาบุคลากรไดรับการจัด<br />

บุคคลมากขึ้น<br />

สรรนอยลง<br />

ที่มา : จากการประชุมระดมสมองคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล ณ หองประชุมกองแผนงาน<br />

และวิชาการ อาคาร 5 ชั้น 4<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

103


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ภาคผนวก 5<br />

5.1 กรอบมาตรฐานความสําเร็จดานการบริหารทรัพยากรบุคคลตาม<br />

กรอบมาตรฐานความสําเร็จ 5 มิติ 17 ปจจัยของสํานักงาน ก.พ.<br />

5.2 กรอบมาตรฐานความสําเร็จดานการบริหารทรัพยากรบุคคลตาม<br />

กรอบมาตรฐานความสําเร็จ 5 มิติ 17 ปจจัย และเปาประสงค<br />

ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

104


กรอบมาตรฐานความสําเร็จดานการบริหารทรัพยากรบุคคล 5 มิติ 17 ปจจัยของสํานักงาน กพ.<br />

1


่<br />

เป้ าประสงค์<br />

ปัจจัย<br />

มิติ<br />

ส่งเสริมคุณธรรมและ<br />

จริยธรรมของบุคลากร<br />

การปฏิบัติงานมี<br />

ความสมดุลระหว่าง<br />

คุณภาพชีวิตและการทํางาน<br />

มีระบบการบริหาร<br />

ผลการปฏิบัติงานที่มีรางวัล<br />

จูงใจสอดคล้องตามผลการ<br />

ปฏิบัติงานของบุคลากร<br />

มติการประชุม 7 ส.ค. 55<br />

พัฒนา<br />

ระบบการรับฟังความคิด-<br />

มีระบบการ เห็นการจัดการข้อร้อง-<br />

ควบคุมภายในด้านการ เรียน ร้องทุกข์ ด้านการ<br />

บริหารทรัพยากร บริหารทรัพยากรบุคคล<br />

บุคคล*****<br />

การรับผิดชอบต่อการ<br />

ตัดสินใจบนหลักการของ<br />

ความสามารถ หลักคุณธรรม<br />

หลักนิติธรรม หลักมนุษยธรรม<br />

สภาพแวดล้อมในการทํางาน<br />

และระบบงาน<br />

การจัดสวัสดิการและ<br />

สิ่งอํานวยความ<br />

สะดวก<br />

ความสัมพันธ์อันดี<br />

ระหว่างผู้ปฏิบัติงาน<br />

ความโปร่งใสของ<br />

กระบวนการการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล<br />

การรักษาไว้ซึ่ง<br />

ข้าราชการที่จํา-<br />

เป็นต่อการบรรลุ<br />

เป้าหมายพันธกิจ<br />

ของส่วนราชการ<br />

นโยบายการ<br />

บริหาร<br />

ทรัพยากร<br />

บุคคล<br />

ประเด็น<br />

ยุทธศาสตร์<br />

ด้านการบริหาร<br />

ทรัพยากรมนุษย์<br />

ประสิทธิผลของ<br />

การบริหารทรัพยากรบุคคล<br />

-ไม่มี-<br />

ความพึงพอใจ<br />

ของข้าราชการ<br />

สามารถรักษาจูงใจ<br />

-ไม่มี-<br />

บุคลากรที ่มีศักยภาพ<br />

ความต้องการของ<br />

สูงไว้ใน อย.***<br />

หัวหน้ากลุ่มงาน<br />

(ผู้ปฏิบัติงาน) ที่มี<br />

ต่องานบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

มีกลยุทธ์การบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคลสอด-<br />

คล้องและสนับสนุน<br />

ยุทธศาสตร์ อย.<br />

วัฒนธรรม<br />

และบรรยากาศ<br />

การเรียนรู้<br />

มีระบบ<br />

จัดการความรู้<br />

และส่งเสริมให้<br />

เกิด<br />

บรรยากาศ<br />

ของการเรียนรู้<br />

การวางแผน<br />

และบริหาร<br />

กําลังคน<br />

มีโครงสร้าง<br />

และกรอบอัตรากําลังที<br />

เหมาะสมและสอด-<br />

คล้องกับภารกิจ<br />

ระบบการ<br />

บริหารผลงาน<br />

และวิธีการ<br />

ประเมินผลงาน<br />

มติการประชุม 7 ส.ค. 55 มติการประชุม 7 ส.ค. 55<br />

การบริหาร<br />

กําลังคนกลุ่ม<br />

ที่มีทักษะและ<br />

สมรรถนะ<br />

สูง<br />

การสร้าง<br />

พัฒนา และ<br />

สืบทอดของ<br />

ตําแหน่ง<br />

สามารถรักษา<br />

จูงใจบุคลากรที่มี<br />

ศักยภาพสูงไว้<br />

ใน อย.***<br />

กิจกรรมและกระบวนการ<br />

บริหารทรัพยากรบุคคล<br />

ค่าใช้จ่าย<br />

-ไม่มี-<br />

ในกิจกรรมการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

เทคโนโลยี<br />

เพื ่อการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล<br />

มีระบบการจัดการ<br />

ฐานข้อมูลด้านทรัพยากร<br />

มีระบบการบริหาร บุคคลที ่มีประสิทธิภาพ**<br />

ผลการปฏิบัติงานที่มีรางวัล<br />

จูงใจสอดคล้องตามผลการ<br />

ปฏิบัติงานของบุคลากร<br />

มีเส้นทางความก้าวหน้า<br />

ของสายอาชีพที่ชัดเจน<br />

มีระบบการพัฒนาบุคลากร (เน้น การเปลี่ยนแปลง)<br />

มีระบบการจัดการฐาน<br />

ข้อมูลด้านทรัพยากร<br />

บุคคลที ่มีประสิทธิภาพ**<br />

-ไม่มี-<br />

Expense Ratio<br />

Return On<br />

(Core VS Support<br />

Investment<br />

Functions)<br />

(Training)<br />

-ไม่มี-


แผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ระยะ 4 ป (พ.ศ. 2556–2559)<br />

ภาคผนวก 6<br />

คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> scorecard)<br />

ของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

(คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ 407/2555 ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2555)<br />

“บุคลากรเปนคนดี มีความเชี่ยวชาญ เรียนรูและพัฒนางานอยางตอเนื่อง”<br />

107


(สําเนาคูฉบับ)<br />

คําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา<br />

ที่ ๔๐๗/๒๕๕๕<br />

เรื่อง แตงตั้งคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>)<br />

เนื่องจากไดมีการปรับเปลี่ยนโครงสรางและบทบาท หนาที่ ของขาราชการในสังกัดสํานักงาน<br />

คณะกรรมการอาหารและยา ดังนั้น เพื่อใหการดําเนินการจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล บรรลุ<br />

วัตถุประสงค และเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ จึงเห็นสมควรปรับปรุงองคประกอบคณะทํางานจัดทําแผน<br />

กลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) โดยออกคําสั่งดังตอไปนี้<br />

๑. ใหยกเลิกคําสั่งสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ที่ ๔๑๖/๒๕๕๔ เรื่อง แตงตั้ง<br />

คณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>) ลงวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๕๔<br />

๒. ใหแตงตั้งคณะทํางานจัดทําแผนกลยุทธการบริหารทรัพยากรบุคคล (<strong>HR</strong> <strong>Scorecard</strong>)<br />

โดยมีองคประกอบและหนาที่ความรับผิดชอบ ดังตอไปนี้<br />

๑. องคประกอบ<br />

๑.๑ รองเลขาธิการฯ ที่กํากับ ดูแลกองแผนงานและวิชาการ ประธานคณะทํางาน<br />

๑.๒ ผูเชี่ยวชาญดานพัฒนาระบบกํากับดูแลผลิตภัณฑหลังออกสูตลาด รองประธานคณะทํางาน<br />

๑.๓ ผูอํานวยการสํานักควบคุมเครื่องสําอางและวัตถุอันตราย หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๔ ผูอํานวยการสํานักดานอาหารและยา หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๕ ผูอํานวยการสํานักยา หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๖ ผูอํานวยการสํานักอาหาร หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๗ เลขานุการกรม หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๘ ผูอํานวยการกองควบคุมเครื่องมือแพทย หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๙ ผูอํานวยการกองควบคุมวัตถุเสพติด หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๑๐ ผูอํานวยการกองแผนงานและวิชาการ หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๑๑ ผูอํานวยการกองพัฒนาศักยภาพผูบริโภค หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๑๒ ผูอํานวยการกองสงเสริมงานคุมครองผูบริโภคดานผลิตภัณฑสุขภาพ ผูทํางาน<br />

ในสวนภูมิภาคและทองถิ่น หรือผูแทน<br />

๑.๑๓ ผูอํานวยการกลุมควบคุมเครื่องสําอาง หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๑๔ ผูอํานวยการกลุมควบคุมวัตถุอันตราย หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๑๕ หัวหนากลุมกฎหมายอาหารและยา หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๑๖ หัวหนากลุมพัฒนาระบบบริหาร หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๑๗ หัวหนากลุมตรวจสอบภายใน หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๑๘ หัวหนาฝายการเจาหนาที่ หรือผูแทน ผูทํางาน<br />

๑.๑๙ น.ส.พรทิพย เจียมสุชน กองแผนงานและวิชาการ ผูทํางานและเลขานุการ<br />

๑.๒๐ น.ส.ภวัญญา มีมั่งคั่ง กองแผนงานและวิชาการ ผูทํางานและผูชวยเลขาฯ<br />

๑.๒๑ น.ส.สาวิตรี…./๒


-๒-<br />

๑.๒๑ น.ส.สาวิตรี มงคลศิลป กองแผนงานและวิชาการ ผูทํางานและผูชวยเลขาฯ<br />

๑.๒๒ นางศรินยา หนูทิม กองแผนงานและวิชาการ ผูทํางานและผูชวยเลขาฯ<br />

๑.๒๓ น.ส.จุฑาทิพ เลาหเรืองชัยยศ กองแผนงานและวิชาการ ผูทํางานและผูชวยเลขาฯ<br />

๑.๒๔ น.ส.นพรดา ธุระแพง สํานักงานเลขานุการกรม ผูทํางานและผูชวยเลขาฯ<br />

๑.๒๕ น.ส.อนงคนาฏ ราชเมืองศรี สํานักงานเลขานุการกรม ผูทํางานและผูชวยเลขาฯ<br />

๒. หนาที่ความรับผิดชอบ<br />

๒.๑ ศึกษา วิเคราะห บทบาทหนาที่ของทรัพยากรบุคคลที่สอดคลองกับแผนกลยุทธการบริหาร<br />

ทรัพยากรบุคคล และแผนพัฒนาบุคลากรของแตละสํานัก/กอง/กลุม<br />

๒.๒ จัดทําแผนบริหารทรัพยากรบุคคล และแผนการพัฒนาบุคลากรตามขีดสมรรถนะของสํานัก/กอง/กลุม<br />

๒.๓ จัดทําแผนงาน/โครงการที่สอดคลองตามแผนการบริหารทรัพยากรบุคคล และแผนพัฒนา<br />

บุคลากรตามขีดสมรรถนะ<br />

๒.๔ เรื่องอื่น ๆ ตามที่ไดรับมอบหมาย<br />

ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไป<br />

สั่ง ณ วันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

นายบุญชัย สมบูรณสุข<br />

(นายบุญชัย สมบูรณสุข)<br />

เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา<br />

รับรองสําเนาถูกตอง<br />

จุฑาทิพ เลาหเรืองชัยยศ<br />

(นางสาวจุฑาทิพ เลาหเรืองชัยยศ)<br />

เภสัชกรปฏิบัติการ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!