01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ก็มีลักษณะเหนียวขนคลายแปงเปยกขน ฝกกลวยไมหรือที่เรียกวาผลนั้น ภายในมีเมล็ดจํานวน<br />

มากนับหมื่นหรือถึงแสน โดยมีลักษณะเล็กเปนผงละเอียดมากสามารถปลิวกระจายไปตามลม<br />

ไดงาย (ระพี, 2516)<br />

กลวยไมสกุลหวาย<br />

6<br />

กลวยไมสกุลหวาย (Dendrobium spp.) จัดอยูในวงศ Orchidaceae ซึ่งเปนสกุลที่ใหญที่สุด<br />

ในบรรดากลวยไมสกุลตาง ๆ ทั้งหมดที่พบในประเทศไทย มีการแพรกระจายพันธุออกไป<br />

ในบริเวณกวางทั้งในทวีปเอเซีย และบริเวณหมูเกาะในมหาสมุทรแปซิฟค กลวยไมหวาย<br />

ที่มีการเจริญเติบโตและรูปทรงแบบซิมโพเดียลมีระบบรากแบบกึ่งรากอากาศ (semi-epiphyte)<br />

โดยปกติจะอาศัยเกาะอยูตามตนไม รากบางสวนจะชอนไชไปตามเปลือกไม บางสวนเกาะยึด<br />

แนบสนิทกับตนไม (ไพบูลย, 2521) ลักษณะทั่ว ๆ ไปของดอก กลีบนอกบน และกลีบนอกคูลาง<br />

ยาวพอ ๆ กัน แตกลีบนอกบนอยูอยางอิสระเดี่ยว ๆ สวนกลีบนอกคูลางมีสวนประสาน<br />

ติดกันตรงสันหลังของเสาเกสร ซึ่งมีลักษณะยื่นออกไปทางดานหลังของสวนลางของดอก<br />

สวนโคนของกลีบนอกคูลางและสวนฐานของเสาเกสรซึ่งประกอบกันมีลักษณะคลายเดือยที่เรียกวา<br />

เดือยดอก (ระพี, 2530) มีการเจริญเติบโตแบบซิมโพเดียล (sympodial) คือ มีเหงา (rhizome)<br />

ซึ่งเปนตนที่แทจริงเจริญเติบโตตามแนวนอน โดยมีลําลูกกลวย (pseudo-bulb) เจริญเติบโต<br />

เหนือดินทําหนาที่คลายเปนลําตนที่แตกใบออน และชอดอก มีขอ ปลอง ตา อาจแตกหนอ<br />

เกิดเปนเหงาไดใหมอีก (ระพี, 2516)<br />

ขั้นตอนการสรางเอทิลีน<br />

ดอกไมทั้งที่ไมไดผสมเกสรและผสมเกสร และดอกไมที่เกิดบาดแผลมีขั้นตอน (pathway)<br />

ของการสรางเอทิลีนไมแตกตางจากผักและผลไม (Yang and Hoffman, 1984; Abeles et al., 1992)<br />

คือ เอทิลีนที่เกิดจากสารเริ่มตน (precursor) ที่เปนกรดอะมิโน คือ เมไธโอนีน (methionine)<br />

เมไธโอนีนจะถูกเปลี่ยนเปน S-adenosyl methionine (SAM) โดยมีเอนไซม S-adenosyl methionine<br />

transferase เปนตัวเรงปฏิกิริยาเคมี สาร SAM จะถูกเปลี่ยนเปน 1-aminocyclopropane-1-carboxylic<br />

acid (ACC) โดยมีเอนไซม ACC synthase เปนตัวเรงปฏิกิริยา ACC จะถูกเปลี่ยนเปนเอทิลีน<br />

ในสภาพของบรรยากาศที่มีออกซิเจน โดยมี ACC oxidase เปนตัวเรงปฏิกิริยาจุดที่มีการควบคุม<br />

การสรางเอทิลีน (rate-limiting step) ภายในดอกไมมีอยางนอย 3 ทางคือ 1) ปริมาณ ACC

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!