01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

และการแบงปนอาหารทั้งระหวางและหลังการเก็บรักษา การใหน้ําตาลกลูโคสชวยให metabolic<br />

activity ภายหลังการเก็บรักษาดําเนินตามปกติ ดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลายเคมี<br />

ขณะเลียนแบบการส งออก มีการบานของดอกตูมมากกวาดอกกลวยไมที่ไมไดรับสารละลายเคมี<br />

ทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP (ภาพที่ 14) นอกจากนี้น้ําตาลสามารถชะลอการเกิดการเสื่อมสภาพ<br />

(senescence) โดยไปชะลอการเสื่อมสภาพของโปรตีน การใหน้ําตาลจะไปยับยั้งการสรางเอทิลีน<br />

ในดอกไมและลดความไวตอเอทิลีน (Goszcynska and Rudnicki, 1988)<br />

เมื่อทดลองใช 1-MCP ที่ความเขน 500 nl/l นาน 4 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส<br />

กับดอกกลวยไมหวายพันธุอื่น ๆ 4 พันธุคือ ‘Wanna’, ‘Anna’, ‘Lady’ และ ‘Pompadour’<br />

พบวาการใช 1-MCP มีแนวโนมทําใหดอกกลวยไม มีคุณภาพดีขึ้น โดยแตละพันธุ ตอบสนอง<br />

ไดไมเทากัน ทั้งในดานอายุการปกแจกัน (ตารางที่ 7) การบานของดอกตูม (ภาพที่ 17)<br />

การรวงของดอกตูม (ภาพที่ 18) และการรวงของดอกบาน (ภาพที่ 19) การที่ดอกกลวยไม<br />

แตละพันธุตอบสนองตอ 1-MCP ไมเหมือนกัน อาจจะเปนเพราะวาดอกกลวยไมแตละพันธุตองการ<br />

1-MCP ที่มีความเขมขน เหมาะสมแตกตางกัน นอกจากนี้สายชล และ นริสา (2543) ยังพบอีกวา<br />

ดอกกลวยไมสกุลหวายพันธุเดียวกัน แตตัดจากสวนกลวยไมในชวงฤดูกาลตางกันในรอบป<br />

ตอบสนองตอ 1-MCP ไมเหมือนกันอีกดวย ดอกกลวยไมสกุลหวายที่ปลูกในประเทศไทย<br />

เพื่อการสงออกนั้นอยูในสภาพกลางแจงโดยไมควบคุมอุณหภูมิและความชื้นสัมพัทธ ในแปลงปลูก<br />

มีเพียงการใชวัสดุพรางแสงจากดวงอาทิตย ทําใหดอกกลวยไมมีการเจริญเติบโตและใหดอกที่มี<br />

คุณภาพแตกตางกันไปตามฤดูกาล ในชวงที่ดอกกลวยไมมีคุณภาพไมดีซึ่งให ดอกในชวงรอยตอ<br />

ระหวางฤดูรอนและฤดูฝน เชนในการทดลองที่ 1 จะเห็นชัดเจนวาดอกกลวยไมที่ผลิตได<br />

ในชวงฤดูกาลนี้ เมื่อไดรับ 1-MCP จะมีการตอบสนองตอ 1-MCP ทั้งในแงการเพิ่มอายุการ<br />

ปกแจกัน (ตารางที่ 2) และลดการรวงของดอกตูมและดอกบาน (ภาพที่ 3 และ 4) ไดดีกวา<br />

ดอกกลวยไมที่ตัดจากตนกลวยไมในชวงฤดูกาลอื่น ๆ เชนการทดลองที่ 3 และ 4<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP นั้นทําใหดอกตูมมีการบานลดลง ซึ่งเกิดกับดอกกลวยไม<br />

ทุกพันธุที่มีการทดลองคือพันธุโซเนียบอม (ภาพที่ 4) ‘Wanna’, ‘Anna’, ‘Lady’ และ ‘Pompadour’<br />

(ภาพที่ 17) ซึ่งเปนไปไดวาเอทิลีนที่ดอกกลวยไมสรางขึ้นนั้นอาจมีสวนเกี่ยวของกับการทําให<br />

ดอกตูมมีการบานและ 1-MCP ยับยั้งไมใหเอทิลีนทําใหดอกตูมบาน บทบาทของเอทิลีน<br />

ที่ดอกกลวยไมสรางขึ้นภายใน (endogenous ethylene) ที่มีผลทําใหดอกตูมของกลวยไมบานนั้น<br />

มีขอมูลที่สนับสนุนเรื่องน ี้คือ ดอกกลวยไมสกุลหวายวัยตาง ๆ มีอัตราการสรางเอทิลีนที่ตางกัน<br />

73

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!