01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เซลเซียส) ตองใชระยะเวลาการรมนาน 12-24 ชั่วโมง แตถารมที่อุณหภูมิที่สูงขึ้น (20-25<br />

องศาเซลเซียส) ระยะเวลาที่ใชรมสามารถลดลงได โดยยังใหประสิทธิภาพการชะลอการชราภาพได<br />

เทากัน อาจเชื่อไดวาที่อุณหภูมิต่ํามีผลทําใหการเขาจับที่ receptor sites ลดต่ําลง<br />

ดอกกลวยไมที่ผานการลดอุณหภูมิที่ 10 องศาเซลเซียส นาน 60 นาที มีอายุการปกแจกัน<br />

นานกวาดอกกลวยไมที่ไมไดลดอุณหภูมิอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (ตารางที่ 5) เนื่องจากการลดอุณหภูมิ<br />

เปนการยับยั้งการผลิตเอทิลีนและ/หรือยับยั้งการทํางานของเอทิลีน (สายชล, 2532) และการลดอุณหภูมิ<br />

เบื้องตนทําใหดอกกลวยไมมีอัตราการหายใจต่ํา และปลดปลอยพลังงานความรอนออกมานอย<br />

เพราะพลังงานความรอนถูกกําจัดออกระหวางการลดอุณหภูมิ (สายชล, 2531; Nowak and<br />

Rudnicki, 1990) เมื่ออัตราการหายใจลดลงจึงทําใหมีการใชอาหารสะสม (น้ําตาล หรือแปง)<br />

ภายในดอกลดลงดวย เพราะการหายใจเปนกระบวนการเปลี่ยนอาหารสะสมเพื่อนําพลังงานมาใช<br />

สําหรับทํากิจกรรมตาง ๆ (จริงแท, 2538) ดังนั้นดอกกลวยไมที่ผานการลดอุณหภูมิ<br />

กอนการเลียนแบบการสงออกทั้งที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP มีการบานของดอกตูมมากกวา<br />

ดอกกลวยไมที่ไมไดผานการลดอุณหภูมิ (ภาพที่ 11) ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP<br />

แตไมไดลดอุณหภูมิ มีการรวงของดอกตูมและการรวงของดอกบานนอยกวาดอกกลวยไม<br />

ที่ไดลดอุณหภูมิแตไมไดรับ 1-MCP ดังนั้น 1-MCP มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการหลุดรวง<br />

ของดอกตูมและดอกบานไดดีกวาการลดอุณหภูมิ แตทั้งน ี้การลดอุณหภูมิของดอกไมกอนให<br />

1-MCP ไมไดทําใหประสิทธิภาพของ 1-MCP เปลี่ยนไป (ภาพที่ 12 และ 13 ตามลําดับ)<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลายเคมีระหวางบรรจุกลองเลียนแบบการสงออกนาน 3 วัน<br />

มีองคประกอบของ HQS 225 mg/l Al 2 (SO 4 ) 3 25 mg/l และน้ําตาลกลูโคส 4 เปอรเซ็นต<br />

ซึ่งเปนสารละลายที่เหมาะกับดอกกลวยไมสกุลหวาย (กรรณารัตน, 2544) มีอายุการปกแจกัน<br />

ไมแตกตางกันทางสถิติกับดอกกลวยไมที่ไมไดรับและไดรับ 1-MCP (ตารางที่ 6) โดย HQS และ<br />

Al 2 (SO 4 ) 3 มีคุณสมบัติยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย HQS มีประสิทธิภาพ<br />

ในการตานทานแบคทีเรีย ยีสต และราไดดี (Larsen and Cromarty, 1967) และมีประสิทธิภาพ<br />

ในการยับยั้งแบคทีเรีย และการอุดตันของระบบทอลําเลียง (Marousky, 1969, 1971) สวน Al 2 (SO 4 ) 3<br />

ทําใหสารละลายมี pH ต่ําลง ซึ่ง pH ที่ต่ําเปนสภาพที่ไมเหมาะสมตอการเจริญของจุลินทรีย (Aarts,<br />

1957) Al 2 (SO 4 ) 3 มีคุณสมบัติเปนโลหะเชนเดียวกับ AgNO 3 แตแตกตางกันที่ AgNO 3<br />

เปนโลหะหนักจึงนําเอา Al 2 (SO 4 ) 3 มาใชแทน AgNO 3 เพื่อลดปญหามลภาวะจากโลหะหนัก<br />

(กรรณารัตน, 2544) และน้ําตาลกลูโคสชวยไปแทนที่ endogenous carbohydrate ที่สูญเสียไป<br />

72

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!