01.11.2014 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ดอกตูมมีอัตราการสรางเอทิลีนมากกวาดอกบาน และดอกกลวยไมที่กําลังแยมหรือเริ่มบานมีอัตรา<br />

การสรางเอทิลีนมากกวาวัยอื่น ๆ (Ketsa and Thampitakorn, 1995) ดอกที่กําลังเริ่มบาน และมี<br />

อัตราการสรางเอทิลีนมากอาจจะชวยใหดอกตูมบานไดเร็วขึ้น สวนบทบาทของเอทิลีน<br />

ตอการบานของดอกไมชนิดอื่น ๆ นั้นมีทั้งทําใหดอกไมมีการบานเร็วขึ้น เชน ดอกกุหลาบบางพันธุ<br />

(Reid et al., 1989) และดอกสม (Zacarias et al., 1991) สวนดอกไมที่เอทิลีน ไมมีสวนเกี่ยวของ<br />

ทําใหดอกบานเร็วขึ้น เชน ดอกกุหลาบบางพันธุ (Reid et al., 1989) ดอกแกลดิโอลัส (Serek et al.,<br />

1994)<br />

อัตราการสรางเอทิลีนของดอกกลวยไมหวายในสวนตาง ๆ ของดอกกลวยไมมีความ<br />

สัมพันธโดยตรงกับปริมาณ ACC และกิจกรรม ACC synthase และ ACC oxidase สาร ACC<br />

เปนสารตัวกลาง (intermediate) ในกระบวนการสรางเอทิลีนของพืชชั้นสูง ACC synthase และ<br />

ACC oxidase เปน key enzyme ที่ควบคุมการสรางเอทิลีน (rate-limiting step) ในพืชชั้นสูง<br />

(Yang and Hoffman, 1984) ดอกกลวยไมที่ไดรับ 1-MCP สามารถชะลอการผลิตเอทิล ีนได<br />

ทั้งในดอกตูมและดอกบานของดอกกลวยไม (ภาพที่ 26) เหมือนกับในสตรอเบอรี่ (Jiang et al.,<br />

2001) แอปปริคอทและพลัม (Dong et al., 2002) ประสิทธิภาพของ 1-MCP มีผลอยูไดประมาณ 5<br />

ถึง 6 วัน เนื่องจากพืชจะมีการสราง ethylene binding sites ใหม ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลาและ binding<br />

sites ที่ถูกสรางขึ้นมาใหมนี้จะไมไดถูกจับดวย 1-MCP เมื่อเวลาผานไป การยับยั้งเอทิลีนดวย<br />

1-MCP ก็จะลดลงเนื้อเยื่อจะสามารถผลิตเอทิลีนไดอีกครั้ง (Blankenship and Dole, 2003)<br />

แตใหผลขัดแยงกับในผักชีที่ 1-MCP สามารถจับที่ตําแหนง binding sites ไดนานเมื่อเก็บรักษาที่<br />

อุณหภูมิต่ํา (Jiang et al., 2002) เมื่อดอกกลวยไมไดรับ 1-MCP ทําใหการผลิตเอทิลีนลดลง โดย<br />

1-MCP ไปยับยั้งที่เอนไซม ACC synthase ทําใหกิจกรรมของ ACC synthase ลดลง ทั้งในดอกตูม<br />

(ภาพที่ 20) เสาเกสร (ภาพที่ 22) กลีบดอก (ภาพที่ 24) ส งผลใหปริมาณ ACC ลดลง ทั้งในดอกตูม<br />

(ภาพที่ 21) เสาเกสร (ภาพที่ 23) กลีบดอก (ภาพที่ 25)<br />

ดอกกลวยไมที่ไดรับสารละลาย ACC 2.0 mM ทําใหดอกบานแสดงอาการคว่ําอยางรวดเร็ว (ภาพที่<br />

29) และดอกตูมรวงเร็วกวาดอกบาน (ภาพที่ 30) ซึ่งเปนผลจากการให ACC ซึ่งเปนสารต ัวกลาง<br />

ทําใหดอกกลวยไมผลิตเอทิลีนมากและแสดงอาการเสื่อมสภาพอยางรวดเร็ว การที่ดอกกลวยไมไดรับ<br />

ACC ในสารละลายที่แชโคนกานชอดอก สามารถกระตุนใหดอกกลวยไม มีอัตราการสรางเอทิลีน<br />

เพิ่มมากขึ้นและทําใหดอกกลวยไมเสื่อมสภาพได เชนเดียวกับเอทิลีนที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ<br />

และจากการใหจากภายนอก แสดงวาดอกกลวยไมมีกิจกรรมของ ACC oxidase อยูบางแลว<br />

74

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!