26.09.2017 Views

หลากมุมมอง ชายแดนใต้

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การพัฒนาเพื่อสร้างความมั่นคงของชุมชนในสถานการณ์ความขัดแย้ง<br />

3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จังหวัดปัตตานี ยะลาและนราธิวาส)<br />

The development of community security in conflict and<br />

insurgency situation of the three southern border provinces<br />

(Pattani, Yala and Narathiwat)<br />

ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์1<br />

บทคัดย่อ<br />

แวรอมลี แวบูละ 2<br />

มณีรัตน์ มิตรปราสาท 3<br />

วัตถุประสงค์ของบทความเพื่อวิเคราะห์แนวคิดและทิศทางการพัฒนาเพื่อสร้าง<br />

ความมั่นคงของชุมชน การศึกษาใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ และใช้ทฤษฎีความ<br />

มั่นคงของมนุษย์ และการพัฒนาเพื่อสร้างความมั่นคงของชุมชน เป็นกรอบแนวคิดใน<br />

การศึกษา<br />

ผลการศึกษาพบว่าการแก้ไขปัญหาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ถูกนิยาม<br />

ให้ความหมาย และจัดวางต าแหน่งแห่งที่ของปัญหาด้วยการทาบทับแนวคิดความมั่นคงใน<br />

ความหมายแคบ ท าให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชน<br />

การก่อตัวของเครือข่ายชุมชนศรัทธา หรือ กัมปง ตักวา จากประสบการณ์การ<br />

เรียนรู้ในแนวทางและกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ภายใต้แนวคิดที่เน้นการใช้หลัก<br />

ศาสนาและศรัทธาในงานพัฒนา การสร้างรูปแบบการพัฒนาสี่เสาหลัก การพัฒนาที่มี<br />

ชุมชนเป็นศูนย์กลาง และการสร้างการเปลี่ยนแปลงระดับชุมชนเพื่อหนุนสร้างสันติสุข<br />

โดยมีแนวทางการขับเคลื่อนทั้งระดับชุมชนและระดับเครือข่าย ท าให้สามารถสร้างความ<br />

มั่นคงของชุมชน ที่เรียกว่า “ความเป็นชุมชนศรัทธา” ครอบคลุมมิติและองค์ประกอบด้าน<br />

เศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดล้อม และจิตวิญญาณ<br />

1 รองศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ อ าเภอเมือง จังหวัดสงขลา<br />

2 เลขานุการเครือข่ายชุมชนศรัทธา<br />

3 อาจารย์ สาขาการปกครองท้องถิ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ อ าเภอเมือง จังหวัดสงขลา<br />

<strong>หลากมุมมอง</strong> : <strong>ชายแดนใต้</strong> 109

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!