26.09.2017 Views

หลากมุมมอง ชายแดนใต้

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ในพื้นที่ถึงขั้นสูญเสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บ ทุพลภาพ พบว่า ส่วนใหญ่เป็นประชาชนทั่วไป<br />

รองลงมาเป็นเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงอันประกอบด้วยทหารและต ารวจ ถัดมาเป็นเจ้า<br />

หน้ารักษาความปลอดภัยหมู่บ้าน (ชรบ.) และก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ล าดับถัดมาเป็นลูกจ้าง<br />

เจ้าหน้าที่จากหน่วยงานราชการในพื้นที่ และอื่น ๆ<br />

ขณะที่แนวทางการแก้ไขปัญหายังถูกนิยาม ให้ความหมายและจัดวางต าแหน่ง<br />

แห่งที่ของปัญหาด้วยการทาบทับแนวคิดความมั่นคงในความหมายแบบเดิมที่หมายถึง<br />

สงคราม ความรุนแรง การทหารและการใช้อาวุธยุทโธปกรณ์ ดังจะเห็นได้จากการบริหาร<br />

จัดการงบประมาณเพื่อการแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่มีอัตราที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง<br />

รายงานของส านักงบประมาณ กระทรวงการคลัง (อ้างถึงในกองบรรณาธิการ กรุงเทพธุรกิจ,<br />

2553) ระบุว่านับแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547-2553 รัฐบาลได้จัดสรรงบประมาณสูงถึง<br />

125,496 ล้านบาท แยกเป็น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547 จ านวน 13,450 ล้านบาท<br />

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2548 จ านวน 13,674 ล้านบาท ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 จ านวน<br />

13,674 ล้านบาท ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 จ านวน 17,526 ล้านบาท ปีงบประมาณ<br />

2551จ านวน 22,977 ล้านบาท ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 จ านวน 27,144 ล้านบาท<br />

และ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จ านวน 16,507 ล้านบาท เมื่อพิจารณาเฉพาะ<br />

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2547-2552 จะพบว่างบประมาณเพื่อความมั่นคงมีสัดส่วนที่สูงมาก<br />

เช่น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 งบประมาณเพื่อความมั่นคงสูงถึง 56 เปอร์เซ็นต์ อย่างไร<br />

ก็ตาม เมื่อพิจารณาการกระจายตัวของงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรให้กับกระทรวงและ<br />

หน่วยงานต่าง ๆ กลับกระจุกตัวอยู่สองหน่วยงานหลักด้านความมั่นคง คือ<br />

กระทรวงกลาโหม และกองอ านวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) เท่านั้น<br />

การตอบโต้ทางการทหารและการเสริมก าลังฝ่ายความมั่นคง ท าให้แม้ว่าใน<br />

ภาพรวมของความรุนแรงเชิงปริมาณจะลดลง แต่ก่อให้เกิดความรุนแรงแบบใหม่ที่ศรีสมภพ<br />

(2553) เรียกว่า “ความรุนแรงในเชิงคุณภาพ” ขณะที่นโยบายและกลไกเชิงสถาบันในการ<br />

แก้ไขปัญหามีลักษณะแกว่งเปลี่ยน และไม่มั่นคง เมื่อพิจารณาจากนโยบาย โครงสร้าง และ<br />

การปฏิบัติการในระดับพื้นที่ ขณะที่การพัฒนาในมิติความมั่นคงของมนุษย์และชุมชนกลับ<br />

ไม่ปรากฏเด่นชัดมากนัก รวมทั้งรูปธรรมการปฏิบัติงานพัฒนาในพื้นที่ มักด าเนินการผ่าน<br />

ขั้นตอนของระบบราชการในกระทรวงต่าง ๆ ท าให้ไม่สามารถแก้ไขปัญหา ตอบสนอง<br />

ความต้องการของประชาชน ทั้งยังขาดความต่อเนื่องและการมีส่วนร่วมของประชาชน ใน<br />

แง่มุมหนึ่งโครงการพัฒนาของรัฐจึงมักถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่า “มุ่งสนองความต้องการของ<br />

116 <strong>หลากมุมมอง</strong> : <strong>ชายแดนใต้</strong>

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!