26.09.2017 Views

หลากมุมมอง ชายแดนใต้

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การศึกษานี้ต้องการท าความเข้าใจปรากฏการณ์การย้ายถิ่นระหว่างประเทศของ<br />

แรงงานสตรีมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้ชัดเจนขึ้น ว่าอะไรคือสาเหตุที่ท าให้แรงงาน<br />

สตรีเหล่านี้ตัดสินใจไปท างานร้านอาหารในประเทศมาเลเซีย และการเคลื่อนย้ายแรงงาน<br />

สตรีมีผลกระทบต่อชุมชนต้นทาง และสตรีที่ย้ายถิ่นอย่างไร ระหว่างไปท างานในชุมชน<br />

ปลายทางในประเทศมาเลเซีย ทั้งนี้เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาความรู้ด้านการเคลื่อนย้าย<br />

แรงงาน และเป็นข้อมูลแก่ผู้ก าหนดนโยบายการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างประเทศ<br />

การคุ้มครองและส่งเสริมแรงงานไปท างานในต่างประเทศ รวมทั้งลดปัญหาการว่างงาน<br />

ให้กับกลุ่มคนวัยแรงงานและการพัฒนาความรู้ด้านอาชีพให้กับแรงงานดังกล่าว<br />

แนวคิดและวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการย้ายถิ่นของแรงงานไทยในประเทศ<br />

มาเลเซีย<br />

การอพยพแสวงหาแหล่งท ามาหากินใหม่ ๆ เพื่อให้หลุดพ้นจากความอดอยาก<br />

และยากจนของคนเกิดขึ้นทั่วโลกโดยเฉพาะในระดับภูมิภาค อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนย้าย<br />

แรงงานในยุคสมัยใหม่ไม่ใช่เพียงเพื่อการเอาตัวรอดเท่านั้น หากแต่ยังเป็นการย้ายถิ่นเพื่อ<br />

การปรับเปลี่ยนสถานภาพของตนเองและครอบครัวให้ดีขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ ดังกรณีแรงงาน<br />

ผู้หญิงมลายูมุสลิมชายแดนภาคใต้จ านวนไม่น้อยที่สามารถเลื่อนฐานะของตนจากแรงงาน<br />

รับจ้างไปเป็นผู้ประกอบการร้านอาหาร ทั้งนี้โดยอาศัยช่องทางต่าง ๆ แม้จะเป็นรูปแบบที่<br />

ไม่เป็นทางการก็ตาม เช่น การเขยิบต าแหน่งไปทีละขั้น จากคนล้างจาน ไปเป็นพนักงาน<br />

เสิร์ฟหรือหน้าที่รับรายการอาหาร (Order) ขึ้นไปเป็นผู้ช่วยกุ๊ก และเป็นกุ๊ก จนกระทั่งเก็บ<br />

เงินเช่าร้านอาหารเป็นของตนเอง บางรายขยับขยายจ านวนร้านเพิ่มขึ้น จากหนึ่งร้าน<br />

เป็นสองร้าน หรือมากกว่า บางคนเมื่อเก็บเงินได้ระยะหนึ่งจะน าทุนกลับมาเปิดร้านขาย<br />

อาหารที่บ้านของตนเอง เป็นต้น (สัมภาษณ์เจ้าของร้านอาหารไทยแห่งหนึ่งในรัฐปะลิส<br />

ประเทศมาเลเซีย เมื่อวันที่ 20 มกราคม 2552)<br />

<strong>หลากมุมมอง</strong> : <strong>ชายแดนใต้</strong><br />

25

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!