26.09.2017 Views

หลากมุมมอง ชายแดนใต้

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การย้ายถิ่นของแรงงานสตรีในสี่จังหวัดชายแดนภาคใต้ไปมาเลเซีย<br />

Labour migration of female in four southern border<br />

provinces to Malaysia<br />

นิสากร กล้าณรงค์1<br />

บทน า<br />

การเคลื่อนย้ายแรงงานของประชาชนจากสี่จังหวัดชายแดนภาคใต้เข้าไปรับจ้าง<br />

ท างานในประเทศมาเลเซีย เป็นสิ่งที่ปฏิบัติกันมานาน โดยเฉพาะการเข้าไปรับจ้างด านา<br />

และเกี่ยวข้าวตามฤดูกาลในรัฐ เคดาห์ ปะลิส เปรัค และ กลันตัน ที่อยู่ทางตอนเหนือของ<br />

ประเทศมาเลเซีย และมีพรมแดนติดต่อกับประเทศไทย (Gosling, 1963)<br />

ปัจจุบัน ไม่เฉพาะการเคลื่อนย้ายแรงงานตามฤดูกาล (Seasonal labour<br />

migration) เท่านั้น การเคลื่อนย้ายแรงงานแบบเช้าไป – เย็นกลับ (Commuting labour<br />

migration) และการการเคลื่อนย้ายแรงงานแบบไป ๆ มา ๆ (Circular labour<br />

migration) เข้ามามีบทบาทส าคัญ นอกจากนั้น สถานที่ปลายทางก็ไม่ได้จ ากัดอยู่เพียง<br />

สี่รัฐชายแดนเท่านั้น แต่ได้ขยายไปยังรัฐต่าง ๆ และในหลายเมืองของประเทศมาเลเซีย เช่น<br />

ปีนัง ปาหัง กัวลาลัมเปอร์ หรือ ยะโฮร์ เป็นต้น งานที่เข้าไปรับจ้างก็หลากหลายทั้งงาน<br />

บริการ ค้าขาย และ งานในโรงงานอุตสาหกรรม (Ariffin, 1993) ที่ส าคัญ จ านวนของ<br />

แรงงานสตรีที่เคลื่อนย้ายเข้าไปท างานในประเทศมาเลเซียได้เพิ่มจ านวนสูงขึ้นในช่วงสอง<br />

ทศวรรษที่ผ่านมา และมีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้นในแต่ละปี แรงงานสตรีเหล่านี้เป็นแรงงานไร้<br />

ทักษะ และส่วนใหญ่เข้าไปท างานในประเทศมาเลเซียโดยผิดกฎหมาย (Klanarong, 2003)<br />

รัฐบาลไทยควรให้ความสนใจ และเข้ามามีบทบาทในการจัดการ ป้องกัน และแก้ไขปัญหา<br />

ของแรงงานสตรีอย่างจริงจังและเป็นรูปธรรม<br />

1<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สาขาวิชาภูมิศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ อ าเภอเมือง<br />

จังหวัดสงขลา<br />

<strong>หลากมุมมอง</strong> : <strong>ชายแดนใต้</strong><br />

3

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!