20.04.2023 Views

สามหอไตร เล่มที่ 1 : หอไตรวัดระฆังโฆสิตาราม

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การอนุรักษ์์งานสถาปัตยกรรมทีมาจากการตระหนักในคุณคาทางประวััติศาสตร์<br />

(ผานบทสัมภาษณ ์ ดร.สุเมธิ ชุมสาย ณ อยุธิยา)<br />

ที่ไม่ใช่สถาปนิกเข้ามาร่วมกัน มีการประชุมกันที่บ้านของคุณพินิจ สมบัติศิริ<br />

คุณพินิจให้สถานที่และรับตำแหน่งประธาน ผมเป็นเลขา คือตัววิ่งประสานงาน<br />

ต่างๆ”<br />

แม้อาจารย์เฟื้้อ หริพิทักษ์ จะถือว่าเป็นต้นเรื่องในการเริ่มดำเนินการ<br />

อนุรักษ์หอพระไตรปิฎกแห่งนี้ แต่ในขณะเดียวกัน อาจารย์นิจ หิญชีระนันทน์<br />

ก็เป็นอีกผู้หนึ่งที่มีส่วนในการเริ่มต้นการอนุรักษ์หอพระไตรปิฎกแห่งนี้ อาจ<br />

กล่าวได้ว่าเป็นที่ต่างฝ่่ายต่างเห็นคุณค่าความสำคัญโดยไม่ทราบกันมาก่อน<br />

และในท้ายที่สุดก็ได้ร่วมกันทำการบูรณปฏิิสังขรณ์จนหอพระไตรปิฎก<br />

วัดระฆัังกลับมาสวยสง่าดังเดิมอีกครั้ง ดร.สุเมธถ่ายทอดเรื่องราวจุดเริ่มต้น<br />

การบูรณะผ่านมุมมองในฐานะบุคคลที่ใกล้ชิดอาจารย์นิจว่า อาจารย์นิจคือผู้ที่<br />

“จุดเริ่มต้นคือสมัยรับราชการที่สำนักผังเมือง กระทรวงมหาดไทย ทำให้ท่านได้รู้จักกับหอไตรวัดระฆััง โดยการพานั่งเรือข้ามฟื้ากไปฝั่่งธนบุรี<br />

กองผังเมืองรวม หัวหน้ากองคือคุณนิจ ผมเป็นผู้ช่วย ผมเพิ่งกลับมาจาก เพื่อไปดูวัดระฆััง พร้อมชี้ให้ดูเรือนไม้สภาพทรุดโทรมหลังหนึ่งที่ตั้งอยู่กลาง<br />

ยุโรปได้ไม่นาน กลับมารับราชการที่สำนักผังเมือง กระทรวงมหาดไทย ด้วย สระน้ำ<br />

ความที่จากบ้านเมืองไปนานก็ไม่รู้อะไร คุณนิจหัวหน้าก็จูงมือผมไปกิน “มีวันหนึ่งคุณนิจพาข้ามไปฝ่ั่งธนฯ พาไปวัดระฆัังไปขึ้นที่ท่าวัดระฆััง<br />

ก๋วยเตียวรอบกระทรวงมหาดไทย คุณนิจเป็นนักประวัติศาสตร์และนักคิดที่ ไปดูหอไตร ซึ่งอยู่ในสระน้าเน่า เสาผุ ผมแปลกใจว่าอยู่ได้ไงเพราะผุ เสาบางต้น<br />

ลึกมาก เขาชี้ให้ดูถนนแห่งแรกของกรุงเทพคือเจริญกรุงและบำรุงเมือง ขาดไปเลย หอไตรตั้งอยู่ แต่โทรม เดินเข้าไปเห็นจิตรกรรมฝ่าผนังที่แปลกกว่า<br />

ตอนแรกๆ ก็พาไปดูรอบๆ แถวกระทรวงมหาดไทยที่เป็นย่านโบราณ...” ที่อื่นแต่ก็มัวหมอง”<br />

ดร.สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา เริ่มเล่าจุดเริ่มต้นของการเข้ามามี นอกจากนี้อาจารย์นิจยังได้เล่าให้ ดร.สุเมธทราบถึงประวัติของ<br />

ส่วนร่วมในการทำงานอนุรักษ์ โดยบุคคลสำคัญที่มีส่วนในการจุดประกาย เรือนไม้หลังนี้ ที่อ่านพบในหนังสือสาส์นสมเด็จและเอกสารอื่นๆ ว่า แต่เดิม<br />

การทำงานด้านการอนุรักษ์ของ ดร.สุเมธ คือ อาจารย์นิจ หิญชีระนันทน์ เรือนหลังนี้เป็นบ้านของพระราชวรินทร์ ซึ่งรับราชการในพระบาทสมเด็จ<br />

หัวหน้ากองผังเมืองรวม ซึ่งเป็นผู้บังคับบัญชาในขณะนั้น ในช่วงเวลานั้นเอง พระเจ้ากรุงธนบุรี เมื่อพระราชวรินทร์ได้เลื่อนตำแหน่ง จึงได้ถวายเรือนที่<br />

กระแสการอนุรักษ์อาคารโบราณสถานต่างๆ กำลังค่อยๆ ก่อตัวขึ้น ทำให้ อาศัยอยู่ข้างวัดให้กับวัดระฆััง เมื่อถวายให้วัดก็ได้กลายเป็นกุฏิิอยู่ที่วัด ต่อมา<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ในขณะนั้นได้ตั้งคณะกรรมาธิการ พระราชวรินทร์หรือพระยาจักรี ได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระบาทสมเด็จ<br />

ขึ้นคณะหนึ่ง คือ “คณะกรรมาธิการสาขาอนุรักษ์ศิลปกรรม” และโครงการ พระพุทธยอดฟื้้าจุฬาโลกฯ ก็ทรงคิดถึงเรือนเก่า จึงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าฟื้้าฉิม<br />

บูรณปฏิิสังขรณ์หอไตรวัดระฆัังก็เป็นหนึ่งในโครงการที่คณะกรรมาธิการ พระราชโอรสไปดูว่ายังอยู่หรือไม่ เมื่อทรงทราบว่าเรือนยังอยู่จึงโปรดเกล้าฯ<br />

ชุดนี้ได้ริเริ่มทำเกี่ยวกับการอนุรักษ์<br />

ให้เจ้าฟื้้าฉิมดัดแปลงเป็นหอพระไตรปิฎกในสระน้ำ มุงหลังคาใหม่ด้วยกระเบื้อง<br />

“ช่วงนั้นกำลังมีกระแสการอนุรักษ์ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ก็มีการ และอาราธนาพระอาจารย์นาคมาเขียนภาพจิตรกรรมฝ่าผนัง และอีกสิ่งสำคัญ<br />

จัดตั้งกรรมาธิการสาขาอนุรักษ์ศิลปกรรม โดยกรรมาธิการชุดนี้มีทั้งกรรมาธิการอย่างหนึ่งของหอพระไตรปิฎกแห่งนี้คือ ภาพสลักบานประตูนอกชาน<br />

50<br />

<strong>หอไตรวัดระฆังโฆสิตาราม</strong><br />

ปฐมบทอาษา อาสา สถาปัตยกรรมไทย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!