28.01.2015 Views

3PL สู่ 4PL - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

3PL สู่ 4PL - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

3PL สู่ 4PL - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

49<br />

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยนี้คือ แบบสอบถาม ซึ่งเปนคําถาม<br />

แบบปลายปด และขอเสนอแนะที่เปนคําถามปลายเปด ซึ่งมีขั้นตอนการดําเนินการในการจัดสราง<br />

ตามลําดับดังนี้<br />

1. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับแนวคิดดานโลจิสติกส และการจัดการดานโลจิสติกส แบบ <strong>3PL</strong><br />

และ <strong>4PL</strong> จากตําราตางๆ ทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งงานวิจัยตางๆที่เกี่ยวของเพื่อนํามาใชในการ<br />

สรางแบบสอบถาม<br />

2. กําหนดขอบเขตของแบบสอบถามที่จะเกี่ยวของกับตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขต<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

3. แบบสอบถามที่สรางขึ้นนี้จะเปนแบบปลายปด โดยแบงออกเปน 3 สวน ซึ่งมี<br />

รายละเอียดดังนี้<br />

สวนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกับปจจัยพื้นของกลุมตัวอยาง เปนคําถามแบบตรวจสอบ<br />

รายการ (Check-list)<br />

สวนที่ 2 เปนคําถามที่เกี่ยวกับปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ที่มีอิทธิพลตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกสจากความ<br />

คิดเห็นของกลุมตัวอยาง การสรางแบบสอบถามเปนคําถามแบบ มาตราสวนประมาณคา (Rating<br />

scale) โดยมีคําตอบใหเลือก 5 ตัวเลือก เปนการเรียงลําดับความสําคัญจากความสําคัญมากไปนอย<br />

คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด<br />

สวนที่ 3 เปนคําถามเกี่ยวกับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>4PL</strong> ของ<br />

บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกสดานตางๆ ซึ่งแบบสอบถามเปนคําถามแบบมาตราสวนประมาณคา<br />

(Rating scale) โดยมีคําตอบใหเลือก 5 ตัวเลือก เปนการเรียงลําดับความสําคัญจากความสําคัญมาก<br />

ไปนอย คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด<br />

วิธีการหาคุณภาพของเครื่องมือที่จัดทําขึ้นนี้ ประกอบดวย การหาความเที่ยงตรงและคาความ<br />

เชื่อถือได (Validity) และคาความเชื่อถือได (Reliability) โดยใชวิธีการดังนี้<br />

1. การทดสอบความเที่ยงตรง (Validity) ผูวิจัยไดนําแบบสอบถาม (Questionnaire) ที่ราง<br />

ขึ้นใหอาจารยที่ปรึกษาพิจารณาตรวจสอบเนื้อหา และโครงสรางแบบสอบถาม จากนั้นนํา<br />

แบบสอบถามที่แกไขแลวเสนอตอผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญดานการสรางเครื่องมือและดาน<br />

การศึกษา เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรง ของเนื้อหาพรอมทั้งพิจารณาความถูกตองชัดเจนของภาษา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!