19.09.2017 Views

ASA CREW VOL.4

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ป้ายรถเมล์ตลาดน้อย เป็นป้ายที่ไม่มีที่นั่งหรือหลังคา<br />

อย่างเป็นทางการ มีเพียงเต็นท์ที่ทางกรุงเทพมหานครนำมา<br />

กางให้เนื่องจากเป็นย่านที่มีผู้สูงอายุมาใช้ป้ายเป็นที่พบปะ<br />

พูดคุยและนั่งรอรถเมล์ เต็นท์เล็กๆ ที่มีอยู่เดิมจึงถูกทดลอง<br />

ให้กลายเป็น "ห้องรับแขกของชุมชน" ที่เล่าเรื่องราวของ<br />

ตลาดน้อยผ่านชาวชุมชน ทั้งรูปถ่ายและเรื่องราวที่เกี่ยวกับ<br />

ย่านตลาดน้อย รวมถึงการจัดแสดงผลงานศิลปะ สิ่งประดิษฐ์<br />

และการแสดงดนตรีของเยาวชนในชุมชน เพื่อแสดงออกถึง<br />

ศักยภาพและความสัมพันธ์ของชาวชุมชน<br />

The bus stop at TaladNoi : It is a bus stop without<br />

seats and roof. It’s just a temporary tent that Bangkok<br />

Metropolitan Administration had put up. Because many<br />

senior citizens in this area use this bus stop as a meeting<br />

place and to wait for the buses, the participants<br />

changed the old tent to become a “community living<br />

room” to tell stories about TaladNoi. They used photos<br />

to show the history of people in the area, including an<br />

art invention exhibition and a concert from the youth,<br />

to show the potential and relationship of people in the<br />

community.<br />

พื้นที่สุดท้ายคือ ป้ายรถเมล์ที่อยู่บริเวณใต้สะพาน<br />

ตากสิน ซึ่งมีความสับสนอลหม่านและวุ่นวาย คับคั่งไปด้วย<br />

ระบบขนส่งทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการทีมเวิร์กช็อป<br />

สะพานตากสินจึงได้ทดลองติดตั้งป้ายให้ข้อมูลระบบการขนส่ง<br />

รูปแบบต่างๆ เช่น รถเมล์ สองแถว มอเตอร์ไซค์ เรือ ตุ๊กตุ๊ก<br />

เพื่อตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับความสำคัญและจำเป็นของการ<br />

ขนส่งรูปแบบต่างๆ ที่มี และความสัมพันธ์ระหว่างกัน<br />

“…มีการจัดทำป้ายที่มีใบหน้าของพี่ๆ มอเตอร์ไซค์คน<br />

ขับเรือ คนขับตุ๊กตุ๊ก กระเป๋ารถเมล์คนขับสองแถว บวกด้วย<br />

สโลแกน จุดแข็งของการเดินทางแต่ละประเภทเพื่อให้เห็น<br />

ว่า ‘งาน’ ที่ ‘คน’ เหล่านี้ทำคือกลไกสำคัญของเมืองใหญ่<br />

ที่มีความสัมพันธ์กัน บ้างถูกแต่ช้า บ้างเร็วแต่แพง บ้าง<br />

ความเร็วกลางๆ แต่ขนคนได้เยอะกว่า เป็นต้น<br />

ปัจจุบันพื้นที่ของInformal Transportation Modes ต่างๆ<br />

นี้ยังไม่ค่อยได้ถูกนำมาจัดการร่วมกันอย่างจริงจังในระดับ<br />

นโยบายเท่าไรนัก ที่มากไปกว่านั้นเมืองต้องการ ‘งาน’ จากคน<br />

เหล่านี้ แต่สิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับ ‘คน’ เหล่านี้ไม่มี<br />

อะไรเลย เพราะไม่ถูกมองเห็นอย่างเป็นทางการ” ดร.สุพิชชา<br />

โตวิวิชญ์ กล่าว<br />

* ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/tenforninety<br />

ป้ายรถเมล์ตลาดน้อยที่ถูกทดลองให้กลายเป็น “ห้องรับแขกของชุมชน”<br />

ป้ายรถเมล์บริเวณใต้สะพานตากสินมีการทดลองติดตั้งป้ายให้ข้อมูลระบบการขนส่งรูปแบบต่างๆ<br />

The bus stop under Taksin Bridge : It is a chaotic spot<br />

with people and official and non-official transportation<br />

systems. The workshop team installed signs giving<br />

information about transportation such as buses, mini-buses,<br />

motorcycles, boats, and TukTuks to signify the importance<br />

and necessity of each kind of transportations and relationship<br />

between them.<br />

“… There are signs with pictures of motorcycles,<br />

boats, Tuktuks, mini-bus drivers and ticket takers, with<br />

slogans describing the benefits of each mode of transportation.<br />

This is meant to show that the job these<br />

people are doing is related to the important mechanisms<br />

of the city. Some kind of transportations are fast but<br />

expensive, some have moderate speed but can carry<br />

many passengers.”<br />

“Nowadays the areas of informal transportation<br />

modes are not being used seriously. Other than that,<br />

the city wants these people’s service but there are no<br />

facilities for them because they don’t present formally.”<br />

Dr. Supitcha said.<br />

Look for more information at www.facebook.com/tenforninety<br />

Project no.1 “ทดลองปูเสื่อที่หัวลำโพง”<br />

ปี 2559 โครงการ Ten for Ninety เคยจุดกระแสให้<br />

สังคมหันมาตั้งคำถามกับพื้นที่สาธารณะในระบบขนส่ง<br />

มวลชน กับโครงการ Public Transit Lounge หรือการ<br />

ทดลองสร้างพื้นที่สาธารณะ โดยทดลองนำเสื่อ 40 ผืนและ<br />

bean bag มาวางไว้ในพื้นที่ใจกลางหัวลำโพง ขนาด 144<br />

ตารางเมตร เพื่อศึกษาพฤติกรรมของคนระหว่างรอรถไฟ<br />

ทั้งคนเตรียมเดินทางกลับต่างจังหวัด นักท่องเที่ยวชาวไทย-<br />

ต่างชาติหรือแม้แต่คนไร้บ้านที่พักพิงในหัวล ำโพง<br />

- 53 -<br />

Project no.1 “Public Transit Lounge”<br />

Placing mats at Hua Lumpong model in 2016 The<br />

Ten for Ninety project sparked a trend asking society<br />

to think about public spaces in public transportation<br />

systems in the project “Public Transit Lounge”. They<br />

brought 40 mats and bean bags to place in the 144<br />

sq.m. space in the main hall of Hua Lumpong station<br />

to monitor human behavior while waiting for the trains.<br />

The targets of monitoring are people going back to their<br />

country homes, Thai and foreign tourists, and also the<br />

homeless people.<br />

MAY-JUNE 2017 - ISSUE 04

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!