20.01.2019 Views

ASA CREW VOL.11

ASA CREW Vol.11 : New Faces วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ฉบับนี้จึงเป็นความพยายามในการรวบรวมกลุ่มสถาปนิกหน้าใหม่ ที่เกิดขึ้นในวงการออกแบบสถาปัตยกรรมของพวกเรา เพื่อฉายให้เห็นภาพรวมของสถาปนิกกลุ่มนี้แบบพอสังเขป และถือเป็นโอกาสอันดีที่จะได้มาทำความรู้จักกับพวกเขาเหล่านี้ว่า มีความสนใจในเรื่องใด มีแนวทาง วิธีคิด และวิธีการทำงานอย่างไรบ้าง ประกอบกับวัตถุประสงค์หลักอันหนึ่งของทางสมาคมสถาปนิกสยามฯ ที่ต้องการผลักดันและสนับสนุนให้สถาปนิกหน้าใหม่-รุ่นใหม่มีพื้นที่ในการนำเสนอผลงานของพวกเขาให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะทำให้เกิดการเรียนรู้ในแวดวงของสถาปนิกด้วยกันเองแล้ว ก็น่าจะช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษาสถาปัตยกรรมและผู้ที่สนใจในงานด้านสถาปัตยกรรมและการออกแบบในสังคมประเทศไทยอีกด้วย

ASA CREW Vol.11 : New Faces วารสารสถาปัตยกรรมของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ฉบับนี้จึงเป็นความพยายามในการรวบรวมกลุ่มสถาปนิกหน้าใหม่ ที่เกิดขึ้นในวงการออกแบบสถาปัตยกรรมของพวกเรา เพื่อฉายให้เห็นภาพรวมของสถาปนิกกลุ่มนี้แบบพอสังเขป และถือเป็นโอกาสอันดีที่จะได้มาทำความรู้จักกับพวกเขาเหล่านี้ว่า มีความสนใจในเรื่องใด มีแนวทาง วิธีคิด และวิธีการทำงานอย่างไรบ้าง ประกอบกับวัตถุประสงค์หลักอันหนึ่งของทางสมาคมสถาปนิกสยามฯ ที่ต้องการผลักดันและสนับสนุนให้สถาปนิกหน้าใหม่-รุ่นใหม่มีพื้นที่ในการนำเสนอผลงานของพวกเขาให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น ซึ่งนอกจากจะทำให้เกิดการเรียนรู้ในแวดวงของสถาปนิกด้วยกันเองแล้ว ก็น่าจะช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษาสถาปัตยกรรมและผู้ที่สนใจในงานด้านสถาปัตยกรรมและการออกแบบในสังคมประเทศไทยอีกด้วย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

หน้าที่ของสถาปนิกมากขึ ้นและเปิดรับความคิด<br />

สร้างสรรค์ ทำให้วิชาชีพเราเริ่มมีอิสระทางความ<br />

คิดและการแสดงออกทำให้ผลงานใหม่ๆ ที่น่าสนใจ<br />

กรณ์: แต่ผมรู้สึกว่าความเข้าใจของคนทั่วไปต่อ<br />

บทบาทของสถาปนิกยังมีน้อยมาก หลายคนเข้าใจ<br />

ว่าทำเองได้ ซึ่งเอาเข้าจริงๆ พอพวกเขาต้องดีลกับ<br />

ผู้รับเหมาเอง หลายคนมักจะถอดใจ เพราะว่ามัน<br />

ไม่มีแบบ ไม่มีสื่อกลาง ไม่มีสถาปนิก<br />

นันทพจน์: จากที่ดูผลงานของประเทศไทยและผล<br />

งานของต่างประเทศที่ได้รับรางวัล มันมีความแตก<br />

ต่างกัน ในส่วนของต่างประเทศผู้ที่ได้รับรางวัลส่วน<br />

ใหญ่จะเป็นหน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานขององค์กร<br />

ต่างๆ หรือทางทีมมหาวิทยาลัยที่เขามีออฟฟิศ<br />

ของมหาวิทยาลัยเอง งานเป็นลักษณะเพื่อสังคม<br />

และเพื่อสาธารณะ ถ้าเปรียบเทียบกับบ้านเราจะ<br />

เป็นเอกชนเสียส่วนใหญ่ ผมว่าในอนาคตถ้ามีการ<br />

ทำงานร่วมกัน หรือการบูรณาการหลายๆ ภาคส่วน<br />

มากกว่านี้คงเป็นเรื่องที่ดี<br />

ตั้งแต่ทำงานจริง อะไรที่ทำให้เรามีความสุขมาก<br />

ที่สุด<br />

ภูมิภัทร: ก็น่าจะเป็นเวลาที่งานที่เราทำมาตลอด<br />

มันได้เป็นรูปเป็นร่างจริงๆ เป็นความน่าภูมิใจ<br />

ชนากานต์: มีที่ผ่านมาล่าสุดค่ะ ได้ออกแบบบ้าน<br />

แล้วเจ้าของบ้านเขาชอบมากๆ นั่นเป็นความดีใจ<br />

ที่สุด<br />

สฤษดิ์: ส่วนผมชอบเบื้องหลังในการทำงาน เวลาที่<br />

เราได้คิด ได้พัฒนาความคิดไปเรื่อยๆ มันเริ่มรู้สึก<br />

สนุก พอเรานำไป present แล้วลูกค้าชอบ และ<br />

เข้าใจงานของเรา ถือเป็นผลตอบรับที่ดี มันก็แฮปปี้<br />

แล้วความทุกข์ล่ะ ไม่ต้องถึงขั้นทรมานเหมือน<br />

ตอนเรียนก็ได้ คิดว่ามันมีอะไรหนักหนาบ้าง<br />

กรณ์: ความทุกข์ที่สุดในการทำอาชีพนี้ ไม่ใช่การ<br />

ทำงานหนักแน่นอน เพราะคือสิ่งที่เราต้องเจออยู่<br />

แล้ว ความทุกข์คือเมื่อเราไม่สามารถสร้างความ<br />

เข้าใจกับลูกค้าได้ หรือเมื่อเราไม่สามารถอ่านลูกค้า<br />

ได้ขาดว่าเขาต้องการอะไร<br />

นันทพจน์: ของผมจะเป็นช่วงแรกที่ได้รับโจทย์<br />

มา มันอาจจะไม่เชิงทุกข์ แต่จะเป็นความเครียด<br />

มากกว่า ว่าจะคิดยังไงให้มันตอบโจทย์มากที่สุด<br />

ภูมิภัทร: น่าจะเป็นเวลาที่คิดงานไม่ออก หรือเรา<br />

รู้สึกว่ายังไม่พอใจกับงานที่เราทำอยู่ อยากทำให้<br />

มันดีกว่านี้<br />

ชนากานต์: การเขียนแบบค่ะ เพราะว่า<br />

ประสบการณ์ยังน้อย บางทีคิดว่าจะออกแบบอย่าง<br />

นี้ แต่ยังไม่รู้ว่าวัสดุจริงจะเป็นอย่างไร ทำให้เครียด<br />

ต้องคอยถามรุ่นพี่ตลอด<br />

ถ้าย้อนกลับไป คิดว่าอะไรที่โรงเรียนสอนแล้วมี<br />

ประโยชน์ หรืออะไรที ่ไม่ได้สอนแต่จริงๆ แล้วก็<br />

มีความสำคัญเหมือนกัน<br />

ภูมิภัทร: สิ่งที่โรงเรียนสอนแล้วดีมากเลย คือ<br />

นอกจากจะมีอาจารย์เป็นคนสอนแล้ว เรายังมี<br />

เพื่อนแต่ละคนที่ทำงานออกมาไม่เหมือนกัน ทำให้<br />

เราได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ จากเพื่อนๆ ด้วยตอนตรวจ<br />

แบบ ส่วนสิ่งที่โรงเรียนหาโอกาสสอนได้ยาก น่าจะ<br />

เป็นทักษะการพูดคุยกับคนในสายอาชีพอื่น บางที<br />

เราใช้คำว่า space ลูกค้าไม่เข้าใจว่าหมายถึงอะไร<br />

ถ้ามีวิชาให้คนนอกเข้ามาคุยกับนักศึกษาได้น่าจะ<br />

เป็นเรื่องที่ดี<br />

กรณ์: ผมได้มีโอกาสไปเป็นอาจารย์พิเศษด้วย ที่<br />

มหาวิทยาลัยที่ตัวเองเรียน ก็เลยได้เห็นสองมุม<br />

มองสำหรับคำถามนี้ คือสิ่งที่โรงเรียนสอนมันก็<br />

ค่อนข้างได้ใช้ แต่บอกว่าเป็นความรู้จากโรงเรียน<br />

ทั้งหมดเลยมันก็ไม่ใช่ ผมมองว่ามันขึ ้นกับความ<br />

ขวนขวายของตัวเด็กด้วย<br />

นันทพจน์: สิ่งที่มหาวิทยาลัยน่าจะสอนแต่ไม่ได้<br />

สอน คือการพาออกไปข้างนอก เพื่อให้เกิดการ<br />

เรียนรู้ที่มากกว่าแค่อยู่ในห้องเรียนหรือในประเทศ<br />

การได้ไปดูตัวอย่างงานจริงเป็นสิ่งสำคัญ ไม่ใช่ดู<br />

รูปแต่จากหนังสือ<br />

อย่างตึกที่เราสร้างอย่างน้อยก็ต้องคงอยู่ไปอีก<br />

ประมาณ 30 ปี ถ้าเราออกแบบดี คนที<br />

่เดินผ่าน<br />

ไปผ่านมา เขาก็จะเห็นภาพของตึกไปอีกนาน<br />

เมื่อได้ลองเรียนและทำงานจริงแล้ว เมื่อได้ลองเรียนและทางานจริงแล้ว ยังรู้สึก<br />

ว่าการเป็นสถาปนิก “เท่” อยู่ไหม<br />

นันทพจน์: ตอนแรกก็คิดว่ามันเท่นะครับ แต่พอ<br />

เรียนไปแล้วมันเหนื่อยจนไม่มีเวลาคิดเรื่องนั้น เลย<br />

คิดแค่ว่าจะทำงานออกมายังไงให้ดีได้เรื่อยๆ คิดแค่ว่าจะทางานออกมายังไงให้ดีได้เรื่อยๆ แค่นั้น<br />

ชนากานต์: ก็เท่นะคะ เพราะคิดว่ายังไงอาชีพ<br />

สถาปนิกก็มีความสำคัญกับโลก สถาปนิกก็มีความสาคัญกับโลก อย่างตึกที่เรา ่เรา<br />

สร้างอย่างน้อยก็ต้องคงอยู่ไปอีกประมาณ 30 ปี<br />

ถ้าเราออกแบบดี คนที่เดินผ่านไปผ่านมา เขา<br />

ก็จะเห็นภาพของตึกไปอีกนาน สถาปนิกจึงเป็น<br />

อาชีพที่สำคัญ อาชีพที่สาคัญ<br />

ในฐานะที่เราก็เป็นกลุ่มคนทำงานที่ได้รับการ<br />

่เราก็เป็นกลุ่มคนทางานที่ได้รับการ<br />

ยอมรับ ผ่านงานมาหลายอย่าง เรามองว่าจริงๆ<br />

แล้ว สถาปัตยกรรมมันคืออะไร<br />

กรณ์: ผมมองว่าปัจจุบันนี้สถาปัตยกรรมคือการ<br />

ออกแบบบรรยากาศ<br />

สฤษดิ์: น่าจะคือการออกแบบการใช้ชีวิต เพื่อให้<br />

เจ้าของโครงการได้ตามความต้องการ<br />

ชนากานต์: สถาปัตยกรรมคือสิ่งที่เกิดจาก<br />

พฤติกรรมของมนุษย์ สถาปัตยกรรมจะพัฒนา<br />

ได้หากมีองค์ประกอบ 3 อย่างที่สำคัญมาก อย่างที่สาคัญมาก คือ<br />

เจ้าของโครงการ ผู้รับเหมา และสถาปนิก จึงควร<br />

พัฒนา 3 สิ่งนี้ควบคู่ไปกับสถาปัตยกรรมด้วยค่ะ<br />

132<br />

133

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!