21.11.2019 Views

ASA CREW VOL.17

การออกแบบสถาปัตยกรรม หลายต่อหลายคร้ัง สิ่งที่เจ้าของ อาคารและสถาปนิกมุ่่งหมายที่จะส่ือสาร มีมากกว่าแค่การใช้สอยและการใช้งานทั่วๆ ไปและไม่ใช่เพียงแค่อาคารทางศาสนาเท่าน้ันที่อาจมีเป้าหมายของการสื่อสารไปถึงระดับของความ spiritual วารสารอาษาฉบับนี้ จึงชวนท่านผู้อ่านมาร่วมเปิดบทสนทนาเก่ียวกับการออกแบบ spiritual space ที่มีต่อศาสนาต่างๆ ประเพณี พิธีกรรม การละเล่น รวมถึงความเชื่ออ่ืนๆ ไปพร้อมกัน – ผศ.ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ์ บรรณาธิการวารสารอาษาครู

การออกแบบสถาปัตยกรรม หลายต่อหลายคร้ัง สิ่งที่เจ้าของ อาคารและสถาปนิกมุ่่งหมายที่จะส่ือสาร มีมากกว่าแค่การใช้สอยและการใช้งานทั่วๆ ไปและไม่ใช่เพียงแค่อาคารทางศาสนาเท่าน้ันที่อาจมีเป้าหมายของการสื่อสารไปถึงระดับของความ spiritual วารสารอาษาฉบับนี้ จึงชวนท่านผู้อ่านมาร่วมเปิดบทสนทนาเก่ียวกับการออกแบบ spiritual space ที่มีต่อศาสนาต่างๆ ประเพณี พิธีกรรม การละเล่น รวมถึงความเชื่ออ่ืนๆ ไปพร้อมกัน – ผศ.ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ์ บรรณาธิการวารสารอาษาครู

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

แต่เด็กและผู้สูงอายุก็ให้ความสนใจกับโปรเจคนี้<br />

ไม่น้อยไปกว่ากันในขั้นตอนของการทํางาน<br />

โปรเจคนี้ คุณป้องบอกเราว่าได้เลือกบทสวด<br />

พาหุงมหากา หรือชัยมงคลคาถามาใช้เป็น<br />

เนื้อเรื่องเพราะเป็นบทที่เล่าถึงเรื่องราวการ<br />

เอาชนะอุปสรรคของพระพุทธเจ้า ทําให้<br />

สามารถนํามาทําเป็นภาพประกอบได้ง่ายกว่า<br />

บทอื่นๆ และยังเป็นบทสวดที่ชาวพุทธส่วน<br />

ใหญ่รู้จักดีในส่วนของการตีความเพื่อนํามาทํา<br />

อนิเมชันนั้นทีมศิลปินเริ่มทําภาพขึ้นใหม่<br />

ทั้งหมดโดยไม่ได้ยึดติดว่าการออกแบบภาพ<br />

จะต้องเหมือนกับภาพจิตรกรรมฝาผนัง หรือ<br />

ภาพไทยดั้งเดิมมีการนําภาพแบบจิตรกรรม<br />

ฝาผนังมาใช้ในตอนต้นของการฉายภาพก่อน<br />

จะเปลี่ยนไปเป็นรูปแบบที่เป็นสมัยใหม่ขึ้น<br />

และจบลงด้วยการฉายภาพซ้อนของ<br />

พระประธานในอุโบสถวัดสุทธิวรารามโดยทีม<br />

ศิลปินพยายามแยกแก่นและเปลือกของหลัก<br />

คําสอนรวมถึงความเชื่อออกจากกัน กล่าวคือ<br />

การละทิ้งเปลือกเดิมเหลือเอาไว้แค่แก่นที่ว่า<br />

บทสวดนั้นคือคําสอนแล้วจึงสร้างเปลือกแบบ<br />

ใหม่ซึ่งคือภาพอนิเมชันที่เล่าเรื่องราวแทนซึ่งก็<br />

สามารถทําได้อย่างดีทีเดียว<br />

The work of our last interviewee falls<br />

closer within the scope of architecture.<br />

The public might remember some of his<br />

works from the art illustrations on the<br />

walls of Wat Suthi Wararam by Bodhi<br />

Theatre. Pong recounts how the project<br />

began with the goal of attracting the<br />

new generation to traditional spaces<br />

like wats, through a form of art that<br />

alters the general perception of the<br />

site. The idea became popular and<br />

not only attracted the new generation –<br />

children and senior citizens were<br />

also interested. According to Pong,<br />

they decided to use the ‘Bahum’, or<br />

Eight Victories and Blessings chant, as<br />

their main storyline. This chant<br />

tells the story of how the Buddha<br />

overcame the eight challenges and<br />

became victorious. Easily communicable<br />

visually, the story is one that most<br />

Buddhists know well. The art team<br />

started with a blank slate, without<br />

การฉายภาพลงบนผนังอุโบสถ<br />

ของโพธิเธียเตอร์<br />

Projection mapping on the<br />

walls of the temple’s<br />

ubosot by Bodhi Theatre<br />

จากตัวอย่างที่ยกมาเราจะเห็นได้ว่าศิลปินสมัยใหม่แต่ละ<br />

คนมีวิธีมองหรือทํางานร่วมกับความเชื่อที่ต่างกันไม่ว่าจะ<br />

เป็นการใช้ศิลปะเพื่อเป็นสื่อของความเชื่อบางอย่าง การ<br />

แยกศิลปะและความเชื่อออกจากกันโดยสิ้นเชิง หรือการ<br />

แยกแก่นและเปลือกของความเชื่อออกจากกันเพื่อเล่าใหม่<br />

ด้วยศิลปะ แต่ไม่ว่าจะด้วยแนวทางใดก็ทําให้ทั้งศิลปะและ<br />

ความเชื่อสามารถพัฒนาหรือเผยแพร่ต่อไปได้ไม่ทางใดก็<br />

ทางหนึ่ง และไม่แน่ว่าในอนาคตเราอาจจะเห็นศิลปินหน้า<br />

ใหม่ๆ ที่มีวิธีในการทํางานบนขอบเขตของความเชื่อที่ต่าง<br />

ออกไปจากนี้อีกก็ได้<br />

Each contemporary artist has their own unique<br />

way of approaching and expressing spirituality,<br />

whether it be through art or against art. By<br />

separating the message and the mode of<br />

representation, they have succeeded in retelling<br />

tradition and belief through contemporary forms<br />

of art. It is a hopeful story that gives Thailand a<br />

template for new representations of our tradition,<br />

belief and spirituality.<br />

adhering to the traditional murals or<br />

paintings present in most Buddhist<br />

temples. While these murals were<br />

shown at the beginning of the<br />

animation, the visuals adopt a more<br />

contemporary style throughout the<br />

course of the story and end with a<br />

representation of the main statute of<br />

Buddha from the wat. The goal of the<br />

art team was to take the essence of the<br />

religious teachings and embark on a<br />

new interpretation. By abandoning the<br />

extra information, the animation<br />

managed to show the core message of<br />

the chant while giving new form to it.<br />

<strong>ASA</strong> <strong>CREW</strong> 17 66 67<br />

Spiritual

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!