08.06.2013 Views

Dispensary.pdf

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน<br />

คือ การกําหนดรู้ธรรมทั้งหลายทั้งปวง<br />

ได้แก่ นิวรณ์ ขันธ์<br />

๕ อายตนะ โพชฌงค์ อริยสัจ ๔ รู้อารมณ์ที่เกิดขึ้นกับจิตที่เป็นกุศล<br />

อกุศล หรืออัพยากฤต ( กลางๆ ) การกําหนดธรรมเมื่อเกิดความรู้สึก<br />

ต่างๆ อันเป็นนิวรณธรรม เช่น การยินดี หรือความพอใจในอารมณ์<br />

ภายนอก ( กามฉันทะ) หรือความโกรธ ( พยาบาท ) ความฟุ้งซ่าน<br />

รําคาญใจ ( อุทธัจจะกุกกุจจะ ) หรือ การง่วงเหงาหาวนอน ( ถีน<br />

มิทธะ ) หรือมีความคิดลังเลสงสัยในการปฏิบัติ ( วิจิกิจฉา ) เป็นไป<br />

ต่างๆ เช่นนี้ก็ให้ตั้งสติไว้ที่ลิ้นปี่<br />

หายใจลึกๆ ยาวๆ กําหนดรู้อาการ<br />

ของจิตทันทีที่รู้<br />

เช่น มีกามฉันทะเกิดขึ้นก็ให้กําหนดว่า<br />

ชอบหนอ<br />

เมื่อมีความโกรธหรือพยาบาทเกิดขึ้นก็ให้กําหนดว่า<br />

โกรธหนอ เมื่อ<br />

ง่วงเหงาหาวนอนก็ปักจิตไว้ที่กลางหน้าผาก<br />

ตั้งสติกําหนดง่วงหนอ<br />

เมื่อคิดถึงสิ่งนอกกาย<br />

คิดถึงบ้าน คิดถึงคนรู้จักก็กําหนดว่า<br />

คิดหนอ<br />

เมื่อมีความสงสัยเกิดขึ้นก็กําหนดสงสัยหนอ<br />

เมื่อกําหนดอาการที่เป็น<br />

นิวรณธรรมที่เกิดขึ้นจนหายแล้ว<br />

ให้กลับมากําหนดที่การเดินหรือ<br />

พองยุบต่อไปตามเดิม ประคองสติให้ติดต่อกันดี จิตเกิดทางอายตนะ<br />

ธาตุอินทรีย์ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น<br />

กาย ใจ<br />

๑. เวลาตาเห็นรูป ให้กําหนดว่า เห็นหนอๆ ตั้งสติเอาไว้ที่ตา<br />

๒. เวลาหูได้ยินเสียง ให้กําหนดว่า เสียงหนอๆ ตั้งสติเอาไว้<br />

ที่หู<br />

๓. เวลาจมูกได้กลิ่น<br />

ให้กําหนดว่า กลิ่นหนอๆ<br />

ตั้งสติเอาไว้ที่<br />

จมูก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!