15.09.2016 Views

lakmuang 285

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เมื่อเปรียบเทียบกันแล้ว จรวด DTI-1 ซึ่ง<br />

เป็นจรวดขนาดใหญ่ที่มีระยะยิงถึง ๑๘๐<br />

กิโลเมตรจะถูกใช้งานในระดับยุทธการ ส่วน<br />

จรวด DTI-1 ที่มีระยะยิงสั้นกว่าคือ ๔๐<br />

กิโลเมตรจะถูกใช้งานในระดับยุทธวิถี ซึ่ง<br />

การพัฒนาจรวดทั้งสองแบบนี้นอกจากจะ<br />

เป็นการใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้และความ<br />

เชี่ยวชาญที่นักวิจัยและนักพัฒนาของ สทป.<br />

มีให้เกิดประโยชน์สูงสุดแล้ว ยังทำให้ สทป.<br />

สามารถสนับสนุนกองทัพบกให้มีจรวดทั้งใน<br />

ระดับยุทธวิธีและระดับยุทธการที่สอดคล้อง<br />

กับภัยคุกคามที่มีอยู่ในปัจจุบันและในอนาคต<br />

ได้อีกด้วย<br />

ในส่วนของเครื่องยิงแบบลากจูงนั้น ก็<br />

เป็นการพัฒนาโดยนักวิจัยของ สถาบัน<br />

เทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)<br />

กระทรวงกลาโหม เองเช่นกัน ซึ่งแท่นยิงดัง<br />

กล่าวสามารถติดตั้งกระเปาะบรรจุจรวด DTI-<br />

2 จำนวน ๒๐ ลำกล้องได้ ๒ กระเปาะ ทำให้<br />

รวมแล้วสามารถยิงจรวดได้ถึง ๔๐ ลูกทีเดียว<br />

DTI-2 นั้นจะมีระยะยิงทั้งหมด ๓ ระยะ<br />

คือ ๑๐ กิโลเมตร ๓๐ กิโลเมตร และ ๔๐<br />

กิโลเมตร ซึ่ง สทป. ได้ทำการพัฒนาทั้งใน<br />

ส่วนของดินขับ หัวรบ และชุดพวงหาง และ<br />

40<br />

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (องค์การมหาชน)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!