04.09.2015 Views

Development

brrd4706001c0 - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว

brrd4706001c0 - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

้<br />

ตารางที่ 1 ความสูญเสียของข้าวจากการทดลองในสถานีทดลองข้าว 9 แห่ง สถาบันวิจัยข้าว<br />

ขั ้นตอนการปฏิบัติงาน<br />

ความสูญเสีย (% โดยนํ้าหนัก)<br />

การเก็บเกี่ยว 3.83<br />

การตาก-มัดฟ่อน 1.03<br />

การขนย้ายไปนวด 0.27<br />

การนวด 3.99<br />

การทําความสะอาด 1.79<br />

การขนใส่ภาชนะหรือยุ้งฉาง 0.92<br />

การเก็บรักษา (นาน 8 เดือน) 5.00 (เนื่องจากแมลงศัตรู)<br />

รวม 16.83<br />

ที่มา : ประสูติ กิติยา และไพฑูรย์, 2526 และ 2528.<br />

ประเทศไทยผลิตข้าวได้อย่างตํ ่าปีละประมาณ 22 ล้านตันข้าวเปลือก เมื่อคิดปริมาณความสูญเสียที่เกิดขึ ้น<br />

ในทุกขั ้นตอน 16.83% จะมีข้าวเปลือกสูญเสียไปปีละ 3.3 ล้านตัน คิดเป็นมูลค่า 1.68 หมื่นล้านบาท (คิดราคา<br />

ข้าวเปลือกตันละ 5,000 บาท) ถ้าสามารถลดความสูญเสียของข้าวด้านปริมาณหลังการเก็บเกี่ยวให้น้อยลง ก็จะเป็น<br />

การช่วยเพิ่มผลผลิตข้าวให้สูงขึ ้นอีกทางหนึ ่ง<br />

การสูญเสียข้าวทางด้านคุณภาพ<br />

การค้าข้าวสารภายในและต่างประเทศราคาข้าวขึ ้นอยู ่กับคุณภาพ คุณภาพข้าวที่สําคัญได้แก่ คุณภาพการสี<br />

ซึ ่งประเมินจากเปอร์เซ็นต์ข้าวเต็มเมล็ดและต้นข้าว (head rice) ในการสีข้าวเปลือกถ้าสีแล้วได้เปอร์เซ็นต์ข้าวเต็ม<br />

เมล็ดและต้นข้าวมาก หรือเปอร์เซ็นต์ข้าวหักน้อย แสดงว่าข้าวเปลือกมีคุณภาพการสีสูง (ข้าวเต็มเมล็ดและต้นข้าว<br />

มากกว่า 50%)<br />

คุณภาพการสีของข้าวสูงหรือตํ ่าขึ ้นอยู ่กับการร้าวของเมล็ดข้าว เป็นปัจจัยสําคัญซึ ่งมีสาเหตุเนื่องจากการ<br />

ปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องดังนี ้ (Francisco L. Tua. 1983)<br />

1. การเก็บเกี่ยวและการนวด<br />

2. การลดความชื ้นเมล็ด<br />

3. ข้าวที่แห้งแล้วได้รับความชื ้นซํ ้า (rewetting) การร้าวของเมล็ดเกิดจากสภาพแวดล้อม เช่น เมล็ดที่<br />

ความชื ้นลดลงหรือแห้งเมล็ดจะหดตัว แต่เมื่อได้รับความชื ้นอีกครั ้งเมล็ดก็เกิดการขยายตัว การหดตัวและขยายตัว<br />

ของเมล็ดสลับกันเช่นนี ้ทําให้เกิดการร้าว<br />

สาเหตุการร้าวของเมล็ดข้าวอาจเกิดได้จากปัจจัยดังนี<br />

- การผสมข้าวที่มีความชื ้นสูงกับข้าวที่มีความชื ้นตํ ่า<br />

- ข้าวที่แห้งแล้วกลับเปียกฝนหรือนํ ้าค้าง<br />

Bureau of Rice Research and <strong>Development</strong><br />

2

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!