04.09.2015 Views

Development

brrd4706001c0 - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว

brrd4706001c0 - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

้<br />

่<br />

หรือข้าวเก่า เมื่อหุงเป็ นข้าวสวยแล้วเมล็ดข้าวสวยจะอ่อนนุ ่ม ” ทั ้งนี ้ได้ระบุให้ “ สินค้าข้าวหอมมะลิไทย ”<br />

ต้องมีมาตรฐาน ดังนี<br />

1. มีข้าวหอมมะลิไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ 92<br />

2. มีความชื ้นไม่เกินร้อยละ 14<br />

3. มีลักษณะโดยทั่วไปเป็นข้าวเมล็ดยาว มีความขาว ท้องไข่น้อยโดยธรรมชาติ<br />

4. ไม่มีแมลงที่ยังมีชีวิตอยู<br />

5. มีขนาดเมล็ด ความยาวเฉลี่ยของเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหัก ไม่ตํ ่ากว่า 7.0 มม. อัตราส่วนความยาวเฉลี่ย<br />

ของเมล็ดที่ไม่มีส่วนใดหักต่อความกว้างเฉลี่ยไม่ตํ ่ากว่า 3.2:1.0<br />

6. คุณสมบัติทางเคมี มีปริมาณอมิโลสร้อยละ 13.0-18.0 มีค่าการสลายเมล็ดในด่าง ระดับ 6-7<br />

ตามมาตรฐานสินค้าข้าวของไทย การกําหนดประเภทและชนิดของข้าวคํานึงถึงคุณภาพทางกายภาพ<br />

เป็นหลัก เช่น พื ้นข้าว ส่วนผสม สิ่งที่อาจมีปนได้ ระดับการสีและความชื ้น พื ้นข้าว คือ ขนาดเมล็ดข้าว แบ่งเป็น 4<br />

ชนิด คือเมล็ดยาวชั ้น 1 มีความยาวเกิน 7.0 มม. เมล็ดยาวชั ้น 2 มีความยาว 6.6-7.0 มม. เมล็ดยาวชั ้น 3 ยาว 6.2-6.6<br />

มม. และเมล็ดสั ้นมีความยาวน้อยกว่า 6.2 มม. สําหรับส่วนผสมนั ้นประกอบด้วย ข้าวเต็มเมล็ด ข้าวหัก และต้นข้าว<br />

(มีขนาดระหว่างข้าวเต็มเมล็ดและข้าวหัก) สิ ่งที่อาจมีปนได้ในข้าวขาว ประกอบด้วย เมล็ดแดงหรือเมล็ดสีตํ ่า<br />

กว่ามาตรฐาน เมล็ดเหลือง ท้องไข่ เมล็ดเสีย ข้าวเหนียวในข้าวเจ้า เมล็ดลีบ เมล็ดอ่อน เมล็ดวัชพืช วัตถุอื่น<br />

และข้าวเปลือก ในกรณีการพิจารณาระดับการสีแบ่งเป็น 4 ระดับ คือ สีดีพิเศษ สีดี สีดีปานกลาง และสีธรรมดา<br />

โดยใช้วิธีตรวจสอบด้วยสายตาตามความงามของเมล็ดข้าว ส่วนความชื ้นกําหนดให้ไม่เกิน 14% ข้าวคุณภาพดี เช่น<br />

ข้าวชนิด 100 เปอร์เซ็นต์ กําหนดให้มีพื ้นข้าวเป็นข้าวเมล็ดยาวชั ้น 1 อยู ่ในสัดส่วนสูงและสัดส่วน ดังกล่าว<br />

จะลดลงตามระดับคุณภาพที่ด้อยลง (7) ดังนั ้นในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวจึงมุ่งเน้นพันธุ์ข้าวที่มีเมล็ดยาวเกิน 7.0 มม.<br />

และรูปร่างเรียว แต่ข้าวไทยไม่ว่าจะเป็นพันธุ์ดั ้งเดิมหรือพันธุ์ที่ปรับปรุงขึ ้นใหม่ แม้จะมีลักษณะเมล็ดคล้ายกัน<br />

แต่คุณภาพของข้าวสุกอาจแตกต่างกัน เช่น ข้าวหอมมะลิ นอกจากมีกลิ่นหอม เมื่อหุงสุกจะได้ข้าวสวยนุ่ม<br />

และค่อนข้างเหนียว ข้าวชนิดขาวตาแห้ง มีข้าวสวยร่วนแต่ไม่แข็ง หรืออาจเรียกทั่วไปว่า ข้าวอ่อน สําหรับข้าวเสาไห้<br />

เป็นข้าวสวยร่วนแข็งและหุงขึ ้นหม้อการที่ข้าวชนิดต่าง ๆ มีคุณภาพข้าวสุกแตกต่างกัน เนื่องจากแป้ งของเมล็ดข้าว<br />

มีสัดส่วนของแป้ งอมิโลสแตกต่างกัน (10) พันธุ์ข้าวอาจแบ่งข้าวสุกตามปริมาณแป้ งอมิโลสเป็น 4 ประเภท คือ<br />

ข้าวเหนียว มีอมิโลส 0-5% ข้าวเจ้าอมิโลสตํ ่าหรือข้าวหอมมะลิมีอมิโลสตํ ่ากว่า 20% ข้าวเจ้าอมิโลสปานกลาง<br />

หรือข้าวอ่อนมีอมิโลส 21-26% ข้าวเสาไห้หรือข้าวแข็งมีอมิโลส 26-34% ทั ้งนี ้แป้ งส่วนที่เหลือเป็นอมิโลเปคติน<br />

(1, 11 และ 12) จากการศึกษาข้าวเจ้าพันธุ์ดีของรัฐบาลจํานวน 14 พันธุ์ ที่มีปริมาณอมิโลส 14.9-28.7%<br />

และเก็บรักษาไว้ 4-8 เดือน พบว่าอัตราส่วนนํ ้าหุงต้มต่อข้าวที่เหมาะสมมีความสัมพันธ์กับปริมาณอมิโลส<br />

(r = 0.665**) แสดงว่าอัตราส่วนนํ ้าหุงต้มเพื่อให้ได้ ข้าวสวยที่ดีมีส่วนเกี่ยวพันกับปริมาณอมิโลส<br />

ในขณะเดียวกันมีปัจจัยอื่น ๆ เกี่ยวข้องอยู ่ด้วย (3)<br />

เมื่อศึกษาการผสมข้าว กข23 (อมิโลสปานกลาง) และชัยนาท1 (อมิโลสสูง) กับข้าวขาวดอกมะลิ105 พบว่า<br />

สัดส่วนการผสมที่เพิ่มขึ ้นนอกจากจะทําให้ปริมาณอมิโลสของข้าวขาวสูงขึ ้นแล้วยังมีผลทําให้ข้าวสวยมีความนุ่ม<br />

และความเหนียวลดลง ทั ้งนี ้ ขึ ้นอยู ่กับชนิดหรือพันธุ์ข้าวที ่นํามาผสม การผสมข้าวชัยนาท 1 สูงถึง 30%<br />

Bureau of Rice Research and <strong>Development</strong><br />

64

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!