04.09.2015 Views

Development

brrd4706001c0 - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว

brrd4706001c0 - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

้<br />

้<br />

่<br />

Gelatinization temperature เล็กน้อย ในขณะที่เม็ดแป้ งแขวนลอยอยู ่ในนํ ้า เม็ดแป้ งจะค่อยๆ ดูดซับนํ ้าไว้และพอง<br />

ตัวใหญ่ขึ ้นพร้อมๆ กับที่อุณหภูมิเพิ่มสูงขึ ้น ปริมาตรของเม็ดแป้ งที่เพิ่มขึ ้นนี ้จะเข้าแทนที่นํ ้าที่อยู ่เป็นอิสระ (Free<br />

water) ทําให้ช่องว่างระหว่างเม็ดแป้ งลดน้อยลง และทําให้ความหนืดของนํ ้าแป้ งเพิ่มสูงขึ ้น เมื่อเม็ดแป้ งพองตัว<br />

เต็มที่ และหากต้มหรือเคี่ยวนํ ้าแป้ งต่อไปเม็ดแป้ งจะยิ่งพองมากขึ ้น จนผนังเซลล์ไม่สามารถทนทานได้ก็จะแตกตัว<br />

(Rupture) สารต่างๆ ที่อยู ่ภายในจะกระจายออกมา ทําให้ความหนืดลดลง ในช่วงแรกอัตราการพองตัวของเม็ด<br />

แป้ งจะสูงกว่าการแตกตัว ทําให้ความหนืดของนํ ้าแป้ งยังคงเพิ่มขึ ้น จนกระทั่งถึงจุดที่อัตราการพองตัวสมดุลกับ<br />

อัตราการแตกตัว หลังจากนั ้น อัตราการแตกตัวจะสูงกว่าการพองตัว ทําให้ความหนืดของนํ ้าแป้ งลดลง ณ จุดที่<br />

อัตราการพองตัวสมดุลกับอัตราการแตกตัว คือ ความหนืดสูงสุด (Peak viscosity) แป้ งสุกหรือแป้ งเปียกนี<br />

ประกอบด้วยเม็ดแป้ ง ชิ้นส่วนของเม็ดแป้ ง แป้ งที่มีลักษณะเป็น Colloid และโมเลกุลของแป้ งที่ละลายผสมกันอยู<br />

เมื่อแป้ งเปียกเย็นลง ส่วนผสมเหล่านี ้จะเกิดการรวมตัวขึ ้นใหม่หรือการคืนตัว (Retrogradation) ทําให้ความหนืด<br />

ของนํ ้าแป้ งสูงขึ ้น ปัจจัยที่มีผลทําให้นํ ้าแป้ งเปียกมีอัตราการคืนตัวต่างกันได้แก่ ความเข้มข้นของอมิโลสและสภาพ<br />

การละลายของนํ ้าแป้ ง ในการวัดค่าความหนืดของนํ ้าแป้ งจะบันทึกข้อมูลเป็นเส้นกราฟ ค่าที่นํามาพิจารณา คือ<br />

ค่าความหนืดสูงสุด (Peak viscosity) ความหนืดสุดท้ายของนํ ้าแป้ งเปียกที่ผ่านการเคี่ยวที่ 95 o ซ (Final viscosity at<br />

95 o C) และความหนืดสุดท้ายของแป้ งเปียกที่ 50 o ซ จากค่าทั ้ง 3 นี ้ สามารถคํานวณหา Break down, Set back และ<br />

Consistency ได้ ดังนี<br />

Break down = ความหนืดสูงสุด-ความหนืดสุดท้ายของนํ ้าแป้ งเปียกที่ผ่านการเคี่ยวที่ 95 o ซ<br />

Set back = ความหนืดสุดท้ายของแป้ งเปียกที่ 50 o ซ - ความหนืดสูงสุด<br />

Consistency = ความหนืดสุดท้ายของนํ ้าแป้ งเปียกที่ 50 o ซ ความหนืดสุดท้ายของนํ ้า<br />

แป้ งเปียกที่ผ่านการเคี่ยวที่ 95 o ซ<br />

ทั ้งนี ้ ค่า Break down อธิบายถึงความทนทานของเม็ดแป้ งต่อการเคี่ยว Set back อธิบายถึงการแข็งตัวของ<br />

แป้ งสุกที่เย็นลงโดยเปรียบเทียบกับค่า Peak viscosity สําหรับ Consistency อธิบายถึงการแข็งตัวของแป้ งสุกที่เย็น<br />

ลงเช่นกัน แต่เปรียบเทียบกับแป้ งสุกร้อน ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อค่าความหนืดสูงสุดได้แ ก่ การเก็บรักษาข้าว<br />

(Aging) ปริมาณโปรตีนและอมิโลส ความหนืดสุดท้ายของนํ ้าแป้ งเปียกที่ผ่านการเคี่ยวที่ 95 o ซ ความหนืดสุดท้าย<br />

ของนํ ้าแป้ งเปียกที่ 50 o ซ รวมทั ้งค่า Set back และ Consistency มักมีความสัมพันธ์กับปริมาณอมิโลสในแป้ งข้าว<br />

ดังภาพที่ 11 แป้ งข้าวของพันธุ์ขาวดอกมะลิ105 มีอมิโลสตํ ่าที่มีคุณภาพข้าวสุกเป็น ประเภทข้าวนุ่มเหนียว มี<br />

ความหนืดของแป้ งเปียกเย็นลงที่ 50 o ซ ตํ ่ากว่าแป้ งของพันธุ์สุพรรณบุรี60 และชัยนาท1 ในขณะที่แป้ งข้าวชัยนาท<br />

1 ที่มีอมิโลสสูงและข้าวสุกแข็ง มีความหนืดของแป้ งเปียกเย็นลงที่ 50 o ซ สูงสุด ในขณะที่แป้ งของพันธุ์สุพรรณบุรี<br />

60เป็นข้าวอมิโลสปานกลาง มีค่าอยู ่ระหว่างข้าวทั ้ง 2 พันธุ์ อย่างไรก็ตาม หากเปรียบเทียบระหว่างแป้ ง ข้าวที่มี<br />

ปริมาณอมิโลสสูงด้วยกัน แป้ งข้าวที่มีความคงตัวของแป้ งสุกเป็นชนิดอ่อนจะมีค่าความหนืดสูงสุด ค่า Set back<br />

และ ค่า Consistency ตํ ่ากว่าแป้ งที่มีความคงตัวของแป้ งสุกเป็นชนิดแข็ง<br />

Bureau of Rice Research and <strong>Development</strong><br />

50

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!