04.09.2015 Views

Development

brrd4706001c0 - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว

brrd4706001c0 - สำนักวิจัยและพัฒนาข้าว

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

้<br />

การเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติเมล็ดในระหว่างการเก็บ<br />

SMG สะเมิง KKN ขอนแก่น<br />

CNT ชัยนาท PMI พิมาย<br />

KSR โคกสําโรง NSR นครศรีธรรมราช<br />

PTN ปัตตานี<br />

ภายหลังการเก็บเกี่ยว ภายในเมล็ดข้าวจะเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ ้น โดยเฉพาะในระยะเวลา 3-4 เดือน<br />

หลังเก็บเกี่ยว เอนโดสเปิร์มจะแกร่งขึ ้นทําให้คุณภาพการสีดีขึ ้น หากเมล็ดไม่ถูกแมลงทําลายในระหว่างการเก็บ<br />

การเปลี่ยนแปลงในเมล็ดข้าวเกิดขึ ้นจากกระบวนการที่เกี่ยวข้อง 3 องค์ประกอบ คือ แป้ ง ไขมัน และโปรตีน<br />

ดังแสดงในภาพที่ 12 กรดไขมันอิสระที่ได้จากการย่อยของ Enzyme เมื่อทําปฏิกิริยากับเม็ดแป้ ง โดยเฉพาะ<br />

โมเลกุลของอมิโลส มีผลยับยั ้งการขยายตัวของเม็ดแป้ งในระหว่างการหุงต้ม และส่งผลต่อเนื ้อสัมผัสของข้าวสวย<br />

นอกจากนี ้ไขมันเมื่อทําปฏิกิริยากับออกซิเจนในอากาศ จะได้สารประกอบประเภท Hydroperoxides carbonyl<br />

สารประเภท Carbonyl นี ้ ทําให้ข้าวมีกลิ่นหืนเช่นเดียวกับการเกิดกลิ่นหืนในนํ ้ามัน ในส่วนของโปรตีนเมื่อทํา<br />

ปฏิกิริยากับออกซิเจนจะได้สารที่มีส่วนประกอบที่มีธาตุกํามะถัน (–S-S-) ที่คงตัวมากขึ ้น ทําให้สารระเหยที่มี<br />

ส่วนประกอบของซัลเฟอร์ลดลงและส่งผลการเปลี่ยนแปลงด้านกลิ่นของข้าว ในขณะเดียวกัน สารประกอบของ<br />

–S-S- นี ้ยังมีผลต่อการพองตัวของเม็ดแป้ งในระหว่างการหุงต้ม ทําให้ข้าวสวยมีความนุ่มลดลง ปฏิกิริยาระหว่าง<br />

โปรตีนทําให้ข้าวเก่ามีสีคลํ ้ากว่าข้าวใหม่ (26) ผลการเปลี่ยนแปลงเหล่านี ้ มีส่วนกระทบกระเทือนต่อคุณสมบัติ<br />

การหุงต้มของเมล็ดและข้าวสุก กล่าวคือ ข้าวเก่าเมื่อหุงเป็นข้าวสวย ข้าวสุกแข็งและร่วนมากขึ ้นหรือเหนียว<br />

เกาะติดกันน้อยลง และมีผลให้ข้าวสุกขยายปริมาตรรวม (bulk volume) ได้มากขึ ้นหรือขึ ้นหม้อดีขึ ้น ทั ้งนี<br />

เมล็ดข้าวจะดูดนํ ้าได้มากขึ ้นโดยไม่แตกตัว นํ ้าข้าวจะใสขึ ้น เมล็ดข้าวอาจต้องใช้เวลาต้มให้สุกนานขึ ้นเล็กน้อย<br />

สีของข้าวจะคลํ ้ามากขึ ้น ในข้าวเก่าจะมีกลิ่นสาบ เมล็ดเหลืองมากขึ ้น สืบเนื่องจากปฏิกิริยาร่วมกันระหว่าง<br />

เชื ้อจุลินทรีย์หรือเคมีในข้าวเปลือกที่ได้รับความชื ้นและความร้อนสูงก่อนที่จะทําการลดความชื ้น มีรายงานว่า<br />

เมล็ดข้าวสามารถเร่งให้กลายเป็ นข้าวเก่าได้โดยเพิ่มความร้อนข้าวสารให้สูงถึง 110 o ซ ในภาชนะปิดสนิท<br />

โดยไม่ให้ความชื ้นสูญหายไป การเป่าลมร้อน 150-250 o ซ. ชั่วครู ่ เช่น การลดความชื ้นเมล็ดข้าวเปลือกด้วยเทคนิค<br />

Fluid bed ที่อุณหภูมิสูง และกองข้าวเปลือกไว้ช่วงระยะเวลาหนึ ่งเพื่อให้ความชื ้นค่อยๆ ลดลง มีรายงานว่าการ<br />

แช่เมล็ดข้าวสาร 2 วันในนํ ้ามันดอกทานตะวันที่ 60 o ซ ค้างคืน ช่วยให้ความเหนียวของข้าวสุกลดลง<br />

การนําข้าวเปลือกไปนึ ่งในระยะเวลาสั ้นๆ จะช่วยลดความเหนียวของผิวของข้าวสวยได้เช่นกัน กระบวนการ<br />

ทําข้าวนึ ่ง (parboiled rice) ก็เป็นวิธีการทําให้ข้าวเปลี่ยนสภาพคล้ายข้าวเก่าเช่นกัน (22) นอกจากนี ้ Barber (13)<br />

รายงานว่า การเก็บรักษาข้าวขาวทําให้เกิดการสูญเสียทั ้งทางปริมาณและคุณภาพเนื่องจากจุลินทรีย์ แมลง หนู<br />

และสัตว์ศัตรูอื่นๆ<br />

Bureau of Rice Research and <strong>Development</strong><br />

55

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!