26.03.2021 Views

มีนาคม 64

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้าชั้นกิโล (Kilo Project 877) จัดหามาจากกองทัพเรืออินเดีย เรือขนาด

๓,๐๗๖ ตัน ยาว ๗๖.๒ เมตร ความเร็วขณะดำ ๑๗ นอต ดำน้ำลึก ๓๐๐ เมตร ปฏิบัติการ

นาน ๔๕ วัน และตอร์ปิโดขนาด ๕๓๓ มิลลิเมตร (ชนิดหกท่อยิง)

ยาว ๖.๒ เมตร หัวรบหนัก ๔๕๐ กิโลกรัม ความเร็ว ๒.๕ มัค และ

ระยะยิง ๒,๕๐๐กิโลเมตร เรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้าชั้นกิโล (Kilo Project

636) ชื่อเรือบี-๒๓๗ (B-237: Rostov-on-Don ประจำการ พ.ศ.

๒๕๕๗) ยิงจรวดนำวิถีแบบคาลิเบอร์ (3M14k/Kalibr) จากทะเล

เมดิเตอร์เรเนียนสู่เป้าหมายในประเทศซีเรีย เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม

พ.ศ.๒๕๕๘ และเรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้าชั้นกิโล (Kilo Project 636)

ชื่อเรือบี-๒๖๘ (B-268: Veliky Novgorod ประจำการ พ.ศ.๒๕๕๙)

ได้ทำการโจมตีเป้าหมายฝ่ายต่อต้านรัฐบาลซีเรีย เมื่อวันที่ ๓๑

ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๐ และได้ผลิตจรวดนำวิถีโจมตีชายฝั่งแบบรุ่น

ส่งออกแบบคาลิเบอร์(Kalibr/3M-54E/Club-S) สำหรับมิตร

ประเทศที่ประจำการด้วยเรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้าชั้นกิโล ข้อมูลที่สำคัญ

คือ น้ำหนัก ๒,๓๐๐ กิโลกรัม (ขึ้นกับชนิดของรุ่น) ยาว ๘.๙ เมตร

เส้นผ่าศูนย์กลาง ๐.๕๓๓ เมตร นำวิถีด้วยเรดาร์ ความเร็ว ๒.๕ มัค

และมีระยะยิงไกล ๒๒๐ กิโลเมตร

เวียดนาม มีความขัดแย้งกับประเทศเพื่อนบ้านกรณีหมู่

เกาะสแปรตลีย์(Spratly Islands) พื้นที่๔๒๕,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร

จรวดนำวิถีแบบคาลิเบอร์ (3M14K/SS-N30A) ขนาดยาว ๖.๒ เมตร หัวรบหนัก ๔๕๐

กิโลกรัม ความเร็ว ๒.๕ มัค และระยะยิง ๒,๕๐๐ กิโลเมตร และรุ่นส่งออกแบบคาลิเบอร์

(Kalibr/3M-54E/Club-S ในภาพเป็นรุ่นส่งออก) นำวิถีด้วยเรดาร์ ความเร็ว ๒.๕ มัค และ

มีระยะยิงไกล ๒๒๐ กิโลเมตร ทำการยิงจากเรือดำน้ำชั้นกิโล (Kilo)

56

เรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้าชั้นกิโล (Kilo) กำลังบรรจุตอร์ปิโดประจำเรือดำน้ำทางด้านหัวเรือ

ให้มีความพร้อมรบก่อนที่จะออกปฏิบัติการทางทะเลต่อไป

กับอีก ๕ ประเทศ เป็นพื้นที่ทับซ้อนทางทะเลมีความซับซ้อนมาก

เวียดนามจึงได้เพิ่มขีดความสามารถทางทะเลด้วยการจัดหาเรือดำน้ำ

ดีเซลไฟฟ้าชั้นกิโล (Kilo Project 636) จากประเทศรัสเซีย รวม

๖ ลำ (ราคาเรือลำละ ๓๕๐ ล้านเหรียญสหรัฐ) ปี พ.ศ.๒๕๕๒ เป็น

ครั้งแรกที่ประจำการด้วยเรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้าจึงต้องเตรียมความ

พร้อมในทุกด้านเพื่อความพร้อมรบสูงสุด ประกอบด้วย การสร้าง

ฐานทัพเรือดำน้ำใหม่ การฝึกศึกษาและระบบส่งกำลังบำรุงซ่อม

บำรุง รวมทั้งโครงการของเรือดำน้ำเป็นเงินทั้งสิ้น ๓.๒ พันล้าน

เหรียญสหรัฐ เรือลำแรก (HQ-182 : Ha Noi) ประจำการวันที่ ๓

เมษายน พ.ศ.๒๕๕๗ เรือลำที่สอง (HQ-183 : Ho Chi Minh City)

ประจำการวันที่ ๓ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๗ เรือลำที่สาม (HQ-184 :

Hai Phong) ประจำการวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๘ เรือลำที่สี่

(HQ-185 : Khanh Hoa) ประจำการวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๘

เรือลำที่ห้า (HQ-186 : Da Nang) ประจำการวันที่ ๑ สิงหาคม พ.ศ.

๒๕๕๘ และเรือลำสุดท้ายของโครงการคือลำที่หก (HQ-187 :

Ba Rja-Vung Tau) ประจำการวันที่ ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๐

พร้อมด้วยจรวดนำวิถีโจมตีชายฝั่งแบบคาลิเบอร์(Kalibr/3M-54E/

Club-S) ประจำการ ๕๐ ลูก (ได้จัดหาเพิ่มเติมอีก ๔๐ ลูก)

ปัจจุบันกองเรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้ากองทัพเรือเวียดนามประจำการ

ด้วยเรือดำน้ำดีเซลไฟฟ้ามากที่สุดของกองทัพเรืออาเซียน

บรรณานุกรม

๑. The World Defence Almanac 2015.

๒. https://en.wikipedia.org/wiki/Sindhughosh-class_submarine

๓. https://en.wikipedia.org/wiki/BNS_Nabajatra

๔. https://en.wikipedia.org/wiki/Type_035_submarine

๕. https://en.wikipedia.org/wiki/Kilo-class_submarine

๖. https://en.wikipedia.org/wiki/Myanmar_Navy

๗. https://en.wikipedia.org/wiki/Yu-4_torpedo

๘. https://en.wikipedia.org/wiki/Type_53_torpedo

๙. https://en.wikipedia.org/wiki/3M-54_Kalibr

พลเอก ทรงพล ไพนุพงศ์

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!