25.04.2022 Views

ASA Journal 06/22

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

148<br />

revisit<br />

LIGHT AND CONCRETE AT TUEK KLOM<br />

149<br />

<strong>06</strong><br />

ทางเดินโค้งนำาไปสู่ทางเข้า<br />

ห้องบรรยายที่ฝั่งตัวส่วน-<br />

หนึ่งลงไปในดิน, อาคาร<br />

ปาฐกถา คณะวิทยาศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

07<br />

บันไดลงสู่ชั้นใต้ดินของ<br />

ห้องบรรยาย<br />

When exposed to light, these concrete fins render<br />

varying patterns of light and shadow, accentuating<br />

the building’s sculptural features to be even more<br />

eminent and visually striking without the need for<br />

other ornamental elements.<br />

08<br />

อาคารปาฐกถา คณะ<br />

วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

ขอนแก่น ออกแบบโดย<br />

อมร ศรีวงศ์ และรชฏ<br />

กาญจนะวณิชย์ เมื่อพ.ศ.<br />

2507-2509<br />

8<br />

6<br />

7<br />

สิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อคอนกรีตแข็งตัวคือครีบปูนที่ทิ้งร่องรอยไว้<br />

บนท้องฝ้า ซึ่งทำาหน้าที่เป็นบัวหยดน้ำาควบคุมทิศทางการ<br />

ไหลของน้ำาฝน ขณะเดียวกันยามเมื่อครีบปูนเหล่านี้ต้องการ<br />

แสงก็ทำาให้เกิดแพทเทิร์นของแสงเงาที่ส่งเสริมลักษณะ<br />

ทางประติมากรรมของอาคารให้เฉิดฉายเปล่งประกาย<br />

โดยไม่จำาเป็นต้องตกแต่งประดับประดาด้วยวิธีการอื่นใด<br />

เพิ่มเติม<br />

การออกแบบไม้แบบหล่อคอนกรีตที่นำามาสู่ผลลัพธ์ทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่สวยสดงดงามนี้ ยังพบได้ในงานออกแบบ<br />

ชิ้นอื่นๆ ของอมร ศรีวงศ์ด้วยเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นหอส่ง<br />

สัญญาณวิทยุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา<br />

นครินทร์, หอสูงเก็บน้ำา คณะพาณิชยกรรมศาสตร์และ<br />

การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหอสูงเก็บน้ำา<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตสนามจันทร์ ซึ่งทั้งหมดนี้<br />

นอกจากแสดงให้เห็นทักษะทางการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

อย่างชนิดหาตัวจับยากแล้ว ยังแสดงถึงความเข้าใจใน<br />

ความเป็นเนกาทีฟ-โพสิทีฟของกระบวนการทางคอนกรีต<br />

ของผู้ออกแบบอย่างลึกซึ้ง เพราะหากพินิจเทคนิคการหล่อ<br />

คอนกรีตที่ตึกเหล่านี้ เราจะต้องฉงนว่า สิ่งใดกันแน่คือองค์-<br />

ประกอบเนกาทีฟ และสิ่งใดคือโพสิทีฟ ใช่หรือไม่ว่าไม้<br />

แบบคือเนกาทีฟ ส่วนอาคารคอนกรีตที่ได้รับการหล่อ<br />

ขึ้นมาคือโพสิทีฟ หรือแท้จริงแล้วทุกอย่างกลับตาลปัตรกัน<br />

ไม่บ่อยครั้งนักที่เราจะพบว่า ในบรรดาผลงานสถาปัตยกรรม<br />

ยุคหลัง พ.ศ. 2500 ของไทย งานสถาปัตยกรรมชิ้นเดียวกัน<br />

จะสร้างประเด็นคำาถามเรื ่องแสง การถ่ายภาพ และคอนกรีต<br />

ให้เกิดขึ้นได้พร้อมๆ กัน<br />

The final result after the concrete was left to its<br />

solid state is the fin-like details found on the ceiling,<br />

which function as the molding that helps rainwater<br />

flow in the proper direction. At the same time,<br />

these concrete fins, when exposed to light, render<br />

varying patterns of light and shadow, accentuating<br />

the building’s sculptural features to be even more<br />

eminent and visually striking without the need for<br />

other ornamental elements.<br />

Amorn Srivongse’s masterful use of formwork<br />

creates a number of incredible works of architecture<br />

such as the Radio Tower at the Faculty of<br />

Engineering, Prince of Songkla University, the<br />

water storage towers at the Faculty of Commerce<br />

and Accountancy at Thammasat University, and<br />

Silpakorn University’s Sanamchan Campus. All of<br />

which do not only manifest Amorn’s remarkable<br />

skills and vision in architectural design, but also<br />

demonstrates his extensive knowledge in the<br />

negative-positive process of concrete molding and<br />

casting. Looking into the techniques developed<br />

and devised for the construction of these buildings,<br />

one may wonder which elements are the negative<br />

and positive elements? Is the wooden formwork<br />

the negative and the concrete form the positive?<br />

Or, questioning, in fact, if everything is actually<br />

reversed?<br />

Among the post-1957 architectural creations,<br />

it isn’t often that we’re able to find the type of<br />

buildings from which some thoughtful conversations<br />

about light, photography and concrete emerge<br />

simultaneously, in the way and to the extent that<br />

has been achieved by Amorn’s works.<br />

พินัย สิริเกียรติกุล<br />

ส ำเร็จกำรศึกษำทำง<br />

ด้ำนสถำปั ตยกรรมและ<br />

สถำปั ตยกรรมไทยจำก<br />

มหำวิทยำลัยศิ ลปำกร<br />

และประวัติศำสตร์<br />

สถำปั ตยกรรมใน<br />

ระดับดุษฎีบัณฑิตจำก<br />

มหำวิทยำลัยคอลเลจ<br />

ลอนดอน ปั จจุบัน<br />

ดำรงตำแหน่งผู้ช่วย<br />

ศำสตรำจำรย์ คณะ<br />

สถำปั ตยกรรมศำสตร์<br />

มหำวิทยำลัยศิ ลปำกร<br />

วังท่ำพระ โดยมีผลงำน<br />

หนังสื อล่ำสุ ดได้ แก่<br />

เปิ ดคลังเอกสำร อมร<br />

ศรีวงศ์ (2563) ซึ ่งศึกษำ<br />

ผลงำนสถำปั ตยกรรม<br />

ของ “สถำปนิก” ผู้ซึ ่ง<br />

ไม่เคยเรียนในโรงเรียน<br />

สถำปั ตยกรรม<br />

Pinai Sirikiatikul<br />

studied Architecture<br />

and Thai Architecture<br />

at Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University,<br />

Bangkok, and<br />

completed his PhD<br />

in 2012 at University<br />

College London. He is<br />

currently an assistant<br />

professor at Faculty<br />

of Architecture,<br />

Silpakorn University,<br />

Bangkok. His recent<br />

book, Unpacking<br />

the Archives: Amorn<br />

Srivongse, released<br />

in 2020 explores the<br />

architectural works<br />

of the lesser-known,<br />

self-taught architect,<br />

Amorn Srivongse.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!