17.02.2018 Views

CPBS ปีที่ 1 ฉบับที่ 1

วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

22<br />

<strong>CPBS</strong> JOURNAL<br />

Vol. 1 No. 1 January - June 2017<br />

การอภิปรายผล<br />

จากการศึกษาการจัดการธุรกิจผ้าไหมของกลุ่มสตรีทอผ้าไหม อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น ผล<br />

การศึกษาสรุปได้ดังนี้<br />

1. ผลการศึกษาการจัดการธุรกิจผ้าไหมของกลุ่มสตรีทอผ้าไหม อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น พบว่า<br />

ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุส่วนใหญ่มีอายุ 31 - 40 ปีจำนวน 51 คน (คิดเป็นร้อยละ 34.00) ช่วง<br />

สถานะส่วนใหญ่โสด จำนวน 43 คน (คิดเป็นร้อย ละ 28.67) ช่วงอาชีพส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร จำนวน 81คน<br />

(คิดเป็นร้อยละ 54.00) รองลงมามีอาชีพเจ้าของธุรกิจ จำนวน 45 คน (คิดเป็นร้อยละ 30.00) ช่วงเรียนรู้ส่วน<br />

ใหญ่เป็นญาติพี่น้อง จำนวน 69 คน (คิดเป็นร้อย ละ 46.00) ช่วงเวลาส่วนใหญ่จะเป็น 1-5 ปี จำนวน 65 คน<br />

(คิดเป็นร้อยละ43.30)<br />

ผลการศึกษาการจัดการธุรกิจผ้าไหมของกลุ่มสตรีทอผ้าไหม อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น พบว่า<br />

การจัดการธุรกิจผ้าไหมของกลุ่มสตรีทอผ้าไหม อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก<br />

เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการเงิน รองลงมาคือ ด้านการตลาด ส่วนด้านที่มี<br />

ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการผลิต ด้านองค์กร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การ<br />

จัดการธุรกิจผ้าไหมของกลุ่มสตรีทอผ้าไหม อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ<br />

พิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ผู้นำเป็นที่ยอมรับ รองลงมาคือ ข้อบังคับ ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ย<br />

ต่ำสุดคือ การเข้าร่วมประชุมหารือแสดงความคิดเห็นกับกลุ่ม ด้านการผลิต โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อ<br />

พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การจัดการธุรกิจผ้าไหมของกลุ่มสตรีทอผ้าไหม อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น โดย<br />

ภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดคือภูมิปัญญาท้องถิ่น รองลงมาคือ<br />

ผลิตภัณฑ์ที่ดี ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ การแลกเปลี ่ยนทักษะการทอระหว่างสมาชิกภายในกลุ่ม ด้าน<br />

การตลาด โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า การจัดการธุรกิจผ้าไหมของกลุ่มสตรี<br />

ทอผ้าไหม อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า<br />

ค่าเฉลี่ยสูงสุดคือผลิตภัณฑ์มีชื่อเสียงยาวนาน รองลงมาคือผลิตภัณฑ์มีความละเอียดและประณีต ส่วนข้อที่มี<br />

ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ มีที่จอดรถสะดวก เพียงพอ ด้านการเงิน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นราย<br />

ข้อ พบว่า การจัดการธุรกิจผ้าไหมของกลุ่มสตรีทอผ้าไหม อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น โดยภาพรวมอยู่ใน<br />

ระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ค่าเฉลี่ยสูงสุดคือจัดสรรงบประมาณ รองลงมาคือระดมเงินทุน<br />

ภายใน ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ กู้ยืมจากสถาบันการเงิน<br />

จากผลการศึกษาการจัดการธุรกิจผ้าไหมของกลุ่มสตรีทอผ้าไหม อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น สรุป<br />

อภิปรายผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้<br />

ด้านการเงิน พบว่า การจัดการธุรกิจผ้าไหมของกลุ่มสตรีทอผ้าไหม อำเภอชนบท จังหวัดขอนแก่น คือ<br />

มีการจัดสรรงบประมาณเป็นสัดส่วนอย่างชัดเจน ระดมเงินทุนภายในกลุ่มได้มากกว่ารอการสนับสนุนจากทาง<br />

ภาครัฐ และมีการจัดทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่ากลุ่มสตรีผ้าไหมมีการจัดสรรธุรกิจอย่างเป็น<br />

ระบบ และการจัดทำบัญชีอย่างละเอียดต่อการทำธุรกิจ ซึ่งไม่สอดคล้องกับงานวิจัยของศิวพร บุญชูวิทย์<br />

(2555) ได้ศึกษาการจัดการเชิงกลยุทธ์ธุรกิจผ้าไหมมัดหมี่ของกลุ่มทอผ้าอำเภอหนองสูง จังหวัดมุกดาหาร<br />

พบว่า ปัญหาด้านการเงินกลุ่มฯมีเงินทุนหมุนเวียนไม่เพียงพอเพราะต้องซื้อผ้าไหมและวัตถุดิบจำนวนมากเป็น<br />

เงินสด คิดเป็นร้อยละ 60.00 การกำหนดการจัดการเชิงกลยุทธ์ด้านการจัดการการผลิตและการจัดการ<br />

การตลาดของผลิตภัณฑ์ โดยการกำหนดกลยุทธ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในด้านการผลิตและการตลาด ดังนี้<br />

พัฒนาการส่งเสริมการขาย สร้างเครือข่ายการขาย พัฒนาบรรจุภัณฑ์ พัฒนาผลิตภัณฑ์ สร้างศูนย์กลางการซื้อ-

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!