17.02.2018 Views

CPBS ปีที่ 1 ฉบับที่ 1

วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ<br />

<strong>ปีที่</strong> 1 <strong>ฉบับที่</strong> 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2560<br />

35<br />

ตารางที่ 6 การคำนวณต้นทุนเงินทุน<br />

หน่วย:ล้านบาท<br />

รายการ<br />

ปี<br />

2555 2556 2557 2558 2559<br />

เงินทุน: IC 1,937.47 2,144.23 2,227.63 2,362.61 2,459.98<br />

WACC=kd(D/(D+E))+Ke(D+E)) 9.2 8.76 8.55 8.69 8.22<br />

Capital charge=IC*WACC 17,824.71 18,783.44 19,046.23 20,531.10 20,221.06<br />

ที่มา; จากการคำนวณ<br />

ตารางที่ 7 ผลการคำนวณมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ (EVA)<br />

หน่วย:ล้านบาท<br />

รายการ<br />

ปี<br />

2555 2556 2557 2558 2559<br />

NOPAT หลังปรับปรุง 27.71521 31.66825 28.87541 24.87296 21.52663<br />

Capital charge=IC*WACC 17,824.71 18,783.44 19,046.23 20,531.10 20,221.06<br />

EVA =NOPAT-Capital charge - 17,797.00 -18,751.77 -19,017.36 -20,506.23 -20,199.54<br />

ที่มา: จากการคำนวณ<br />

สรุปผลการวิจัย<br />

ผลการศึกษาพบว่า การวิเคราะห์ทางการเงินเฉลี่ย 5 ปี ผลการดำเนินงานอยู่ในเกณฑ์ที่ดี คือ มี<br />

อัตราส่วนการทำกำไรเฉลี่ยร้อยละ 26 อัตราผลตอบแทนในสินทรัพย์เฉลี่ยร้อยละ 1.32 และอัตราผลตอบแทน<br />

ส่วนของผู้ถือหุ้นเฉลี่ยร้อยละ 19 สรุปผลการดำเนินงานตามแนวคิดทางการเงินของธนาคารรัฐวิสาหกิจแห่ง<br />

หนึ่งในประเทศไทยแสดงให้เห็นถึง โครงสร้างรายได้ของ ธนาคารรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่ง แบ่งเป็นรายได้จากการ<br />

ให้บริการทางการเงินซึ่งเกิดจากค่าธรรมเนียมให้บริการ การปล่อยสินเชื่อแก่ประชาชน การส่งเสริมสินเชื่อเพื่อ<br />

การลงทุนแก่ประชาชน จัดเป็นการให้บริการตลาดเงินแก่ประชาชนที่มุ่งการออมเงินที่มีรัฐบาลร่วมถือหุ้นที่มิได้<br />

มุ่งประโยชน์เพื่อแสวงหากำไรสูงสุด<br />

ผลการคำนวณผลการดำเนินงานตามแนวคิด EVA ปี 2555-2559 มีดังนี้ -17,797 -18,751.77<br />

-1,017.36 -20,506.23 -20,199.54 ล้านบาท ตามลำดับ ผลมีค่า EVA ติดลบ ซึ่งค่าติดลบที่สูงอยู่ในปี 2558<br />

และปี 2559 เกิดจากรายการปรับปรุงทางบัญชีรายการปรับปรุงทำให้มีเงินทุนที่สูงขึ้นส่งผลให้ NOPAT ต่ำเมื่อ<br />

หักต้นทุนของเงินทุน ทำให้มีมูลค่าติดลบ เนื่องจากเงินลงทุนดำเนินงานของ ธนาคารรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่ง<br />

ค่อนข้างสูงงู เพราะเป็นกิจการด้านสถาบันการเงินเพื่อบริการทางการเงินและส่งเสริมการลงทุนเพื่อประชาชน<br />

ที่เป็นสาธารณูปโภคพื้น ฐานของประเทศไทย เป็นรัฐวิสาหกิจ ซึ่งไม่สามารถกำหนดราคาขายเพื่อให้เกิดกำไร<br />

สูงสุด และธนาคารรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่งนี้มีเงินงบประมาณที่ได้รับการอุดหนุนจากภาครัฐบาล การบริหาร<br />

สินทรัพย์เพื่อก่อให้เกิดรายได้หรือให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดจึงมีไม่มากนักสรุปได้ว่า การประเมินผลการ<br />

ดำเนินงานตามแนวคิด EVA สามารถสะท้อนให้เห็นมูลค่าที่แท้จริงขององค์กรได้ดีกว่าการวิเคราะห์ทางการเงิน<br />

เพียงอย่างเดียว อีกทั้งสามารถวิเคราะห์หาสาเหตุได้ว่าเป็นเพราะอะไร โดยดูจากการบริหารสินทรัพย์<br />

โครงสร้างเงินทุนขององค์กร และการเพิ่มขึ้นลดลงของกิจกรรมในงบกระแสเงินสดได้อีกด้วย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!