17.02.2018 Views

CPBS ปีที่ 1 ฉบับที่ 1

วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2560)

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ<br />

<strong>ปีที่</strong> 1 <strong>ฉบับที่</strong> 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน พ.ศ. 2560<br />

27<br />

enterprise committee and bank institution. The study methodology was used the 2<br />

dimensions of the financial analysis tools that are the operational profit & loss performance<br />

measurement and the analysis result of the EVA measurement, to economic measure of its<br />

operational profit & loss by studied the financial performance analysis of one of the state<br />

enterprise according to the accounting concept. The financial performance analysis averaged<br />

5 years was shown that the finance performance as good level that its profitability average<br />

ratio of 26.22 percent, return on assets average ratio of 1.32 percent, and return on equity<br />

average ratio of 19.22 percent. Furthermore, the analysis performance by using the EVA of<br />

the state enterprise bank found out that the actual profit & loss, stated as positive or<br />

negative, as the following; -17,797.00, -18,751.77, -19,017.36, -20,506.23, and -20,199.54<br />

million THB respectively. Since the finance institution had to provide financial services<br />

following the Thai’s government policies by using its own funds, very high ratio, to support<br />

basic public utilities’ financial facilities requirements and they could not define its own<br />

offering services’ price in order to get maximum return. The publish supported, subsidized,<br />

and assigned government funds projects were effected direct to the bank’s return on assets<br />

or weaken its efficiency to generate profit.<br />

Keywords: Economic value added, state enterprise bank of Thailand, financial analysis<br />

บทนำ<br />

การพัฒนาของประเทศตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน หน่วยงานรัฐวิสาหกิจเป็น เครื่องมือหนึ่งในการสนอง<br />

นโยบายต่าง ๆ ของภาครัฐ ทั้งในด้านการพัฒนาระบบบริการสาธารณะและบริการประชาชนและมีบทบาท<br />

สำคัญในการขับเคลื่อน ส่งเสริมการพัฒนาประเทศชาติอย่างต่อเนื่อง ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสร้างรายได้<br />

ให้แก่ประเทศ เช่น ด้านบริการทางการเงิน เป็นสื่อกลางตลาดเงินของประชาชน พร้อมทั้งยกระดับความอยู่ดีมี<br />

สุขให้ประชาชนในประเทศ กระทรวงการคลังเป็นกระทรวงที่มีหน้าที่ดูแลเงินงบประมาณของประเทศ จึงมุ่งมั่น<br />

ในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กร และประสิทธิภาพการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจให้มี<br />

ประสิทธิภาพในการใช้จ่าย เพื่อเพิ ่มศักยภาพของรัฐวิสาหกิจให้ทัดเทียมมาตรฐานสากล สามารถก้าวไปสู่เวที<br />

การแข่งขันในตลาดโลกและมีความพร้อมเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต กระทรวงการคลังได้ผลักดัน<br />

ส่งเสริมให้รัฐวิสาหกิจนำระบบการบริหารจัดการเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐศาสตร์ (Economic Value<br />

Management: EVM) มาใช้ในรัฐวิสาหกิจ เพื่อให้รัฐวิสาหกิจมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงาน การ<br />

ให้บริการ รวมถึงการบริหารทรัพยากรสินทรัพย์ที่มีประสิทธิภาพ มีผลประกอบการในภาพรวมที่ดีขึ้นอย่าง<br />

ต่อเนื่อง และมีการยกระดับการบริหารจัดการเข้าสู่มาตรฐานในระดับสากลโดยเฉพาะอย่างยิ่งสถาบันการเงิน<br />

จากฐานข้อมูล สคร.ได้จัดกลุ่มสถาบันการเงิน จำนวน ๑๐ แห่ง ประกอบด้วย 1) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 2)<br />

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย 3) บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรม<br />

ขนาดย่อม 4) บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย 5) ธนาคารออมสิน 6) ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้า<br />

แห่งประเทศไทย 7) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร 8) ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) 9)<br />

ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย และ 10) สำนักงานธนานุเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ (สำนักงาน<br />

คณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ [สคร.], 2559) ซึ่งจากกลุ่มสถาบันการเงินนั้นธนาคารออมสินมีสินทรัพย์

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!