28.08.2019 Views

Bangkok Walking Guide

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

BANGKOK<br />

WALKI NG<br />

GUID E<br />

ASA ARCHITECTURAL DESIGN AWARDS<br />

ASA ARCHITECTURAL CONSERVATION AWARDS<br />

1982 - 2017 A.D.


สารบัญ<br />

CONTENT<br />

Introduction<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

MESSAGE FROM ASA PRESIDENT<br />

คำนิยม<br />

PREFACE<br />

คำนำ<br />

INTRODUCTION<br />

4<br />

6<br />

8<br />

<strong>Bangkok</strong> Life and Architecture<br />

ประวัติศาสตร์และความเปลี่ยนแปลง<br />

“ภูมิสถานกรุงเทพฯ”<br />

THE ARCHITECTURAL LANDSCAPE OF BANGKOK :<br />

HISTORY AND CHANGE<br />

10<br />

<strong>Walking</strong> <strong>Guide</strong> Zones<br />

คู่มือการใช้หนังสือ<br />

HOW TO USE THIS GUIDE BOOK<br />

เส้นที่ ๑ สยามแบบจารีต<br />

ROUTE 1 TRADITIONAL SIAM<br />

เส้นที่ ๒ ย่านราชการสมัยใหม่แบบตะวันตก<br />

ROUTE 2 WESTERN STYLE GOVERNMENT QUARTERS<br />

เส้นที่ ๓ ย่านชุมชนจีนยุคแรกในกรุงเทพฯ<br />

ROUTE 3 CHINESE COMMUNITY IN BANGKOK<br />

เส้นที่ ๔ ย่านตะวันตกยุคแรกในสยาม<br />

ROUTE 4 WESTERN COMMUNITY IN THE OLD<br />

BANGKOK<br />

60<br />

62<br />

80<br />

102<br />

114


เส้นที่ ๕ ๑๐ อาคารตามเส้นทางรถไฟฟ้าสายสุขุมวิท<br />

ROUTE 5 10 BUILDINGS ALONG THE BTS<br />

SUKHUMVIT LINE<br />

เส้นที่ ๖ ๙ งานรางวัล ริมทางรถไฟฟ้าสายสีลม<br />

ROUTE 6 A TOTAL OF 9 AWARDED BUILDING<br />

ALONG THE BTS SILOM LINE<br />

เส้นที่ ๗ มุดดินไปดู ๑๒ งานสถาปัตยกรรมติดดาว<br />

ROUTE 7 GOING UNDERGROUND TO SEE 12<br />

ACCLAIMED BUILDINGS<br />

เส้นที่ ๘ ตระเวนชม ๑๒ งานสถาปัตยกรรม ด้วยรถไฟฟ้า<br />

สายหัวลำโพง - บางแค<br />

ROUTE 8 12 BUILDINGS ON HUA LAMPHONG -<br />

BANG KHAE RAILWAY LINE<br />

เส้นที่ ๙ เส้นทางสถาปัตยกรรมดีเด่น<br />

ตัวแทนผลงานสถาปนิกไทย<br />

ROUTE 9 QOUTES FOR BEST ARCHITECTURE,<br />

THE REPRESENTATION OF THE BEST<br />

ARCHITECTS OF THAILAND<br />

138<br />

162<br />

184<br />

212<br />

240<br />

Directories<br />

อาคารรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ในกรุงเทพมหานคร<br />

(พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๖๐)<br />

BANGKOK ASA ARCHITECTURAL CONSERVATION<br />

AWARDS 1982 – 2017 A.D.<br />

อาคารรางวัลออกแบบสถาปัตยกรรมดีเด่น ในกรุงเทพมหานคร<br />

(พ.ศ. ๒๕๒๕ - ๒๕๖๐)<br />

BANGKOK ASA ARCHITECTURAL DESIGN AWARDS<br />

1982 – 2017 A.D.<br />

264<br />

308<br />

Appendix<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

THE ASSOCIATION OF SIAMESE ARCHITECTS UNDER<br />

ROYAL PATRONAGE (ASA)<br />

334


สารจากนายกสมาคม<br />

MESSAGE FROM<br />

THE PRESIDENT OF<br />

THE ASSOCIATION OF SIAMESE<br />

ARCHITECTS UNDER ROYAL<br />

PATRONAGE<br />

导 言<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ มี<br />

ความประสงค์จัดทำ BANGKOK WALKING<br />

GUIDE เล่มนี้ขึ้นมา เพื่อรวบรวมผลงานสถาปัตย-<br />

กรรมซึ่งเคยได้รับรางวัลจากสมาคมฯ มาไว้ในที่เดียว<br />

ให้ง่ายต่อการค้นหา และบันทึกไว้เป็นเกียรติประวัติ<br />

ต่อเจ้าของผลงาน ซึ ่งทุกงานนั้นล้วนได้รับรางวัล<br />

พระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ<br />

สยามบรมราชกุมารี ซึ่งถือเป็นเกียรติสูงสุดของ<br />

ผลงานอีกด้วย<br />

การนำเสนอเป็นคู่มือ ๓ ภาษา คือ ภาษาไทย<br />

อังกฤษ และจีน โดยนำเสนอในรูปแบบของเส้นทาง<br />

ท่องเที่ยวชมงานสถาปัตยกรรมของไทย โดยเริ่มต้น<br />

ที่พื้นที่กรุงเทพมหานครก่อน ทั้งนี้ก็เพื่อเผยแพร่ออก<br />

สู่ชาวต่างชาติได้ง่ายและกว้างขวางขึ้น ซึ่งจะเป็น<br />

ประโยชน์ต่อสังคมและวงการสถาปัตยกรรมของไทย<br />

โดยรวมนั่นเอง<br />

อัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ปี ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑


The Association of Siamese Architects under<br />

Royal Patronage (ASA) publish <strong>Bangkok</strong> <strong>Walking</strong><br />

<strong>Guide</strong> with the objection to comprise information<br />

on acclaimed buildings awarded by ASA into a<br />

single source. Therefore, this book not only provides<br />

an excellent source of reference but, as all<br />

of these buildings were awarded honourable<br />

trophies from Her Royal Highness Princess Maha<br />

Chakri Sirindhorn, it also reiterates the architectural<br />

success of these buildings.<br />

Presented three Languages: Thai, English<br />

and Chinese, and in a format of a guide to the<br />

awarded architectures, this book aims to reach<br />

broader audiences, and to take them on a journey<br />

to appreciate the architectural masterpieces,<br />

starting, first of all, from <strong>Bangkok</strong>. Just as<br />

foreign readers will enjoy and understand these<br />

celebrated architectural works, Thai society and<br />

the architectural circle in Thailand too will gain<br />

benefit from their appreciation.<br />

泰 国 建 筑 师 协 会 在 国 王 的 资 助 下 , 创 立 了 《<strong>Bangkok</strong> <strong>Walking</strong><br />

<strong>Guide</strong> 》 这 本 杂 志 , 旨 在 为 了 将 曾 经 获 得 过 泰 国 建 筑 师 协 会 嘉 奖 的 建 筑<br />

作 品 收 集 在 册 , 以 便 于 相 关 建 筑 信 息 的 搜 索 , 也 将 这 样 的 记 录 作 为 给 予<br />

建 筑 师 的 荣 誉 奖 励 , 并 且 每 一 项 获 奖 作 品 都 将 得 到 诗 琳 通 公 主 的 奖 励 ,<br />

也 是 对 建 筑 师 和 建 筑 作 品 的 最 高 荣 誉 奖 励 。<br />

为 了 在 外 籍 人 士 中 更 容 易 和 广 泛 地 传 播 , 这 本 关 于 城 市 建 筑 旅 游 路<br />

线 的 书 籍 将 从 曼 谷 作 为 出 发 城 市 进 行 介 绍 , 并 且 同 时 使 用 三 种 语 言 , 这<br />

将 会 对 泰 国 的 建 筑 行 业 以 及 整 个 社 会 都 带 来 便 利 。<br />

Ajaphol Dusitnanond<br />

2016 - 2018 届 泰 国 皇 家 建 筑 师 协 会 主 席<br />

Ajaphol Dusitnanond<br />

President of the Association of Siamese<br />

Architects under Royal Patronage 2016 - 2018


คำนิยม<br />

FORWARD<br />

导 言<br />

กรุงเทพมหานครเป็นมหานครแห่งพหุวัฒนธรรม<br />

ที่สืบทอดกันมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี<br />

ทั้งยังมีการสืบทอดวัฒนธรรมการสร้างเมืองแบบ<br />

กรุงศรีอยุธยาในอดีต มีการผสมผสานความเก่า<br />

ความใหม่กันได้อย่างน่าสนใจ ในเชิงการท่องเที่ยว<br />

สถาปัตยกรรมเป็นจุดดึงดูดอย่างดีที่แสดงให้เห็นการ<br />

แสดงออกทางรูปธรรมของวิถีชีวิตความเป็นอยู่ทั้งของ<br />

ดั้งเดิมที่เป็นแบบไทยประเพณี และวัฒนธรรมจาก<br />

หลากหลายชาติพันธุ์ ผสมผสานกับการได้รับอิทธิพล<br />

จากตะวันตก เรื่อยมาจนถึงยุคเปลี่ยนแปลงการ<br />

ปกครองและการรับรูปแบบสากล (International<br />

Style) ถ่ายทอดมาจนถึงสถาปัตยกรรมร่วมสมัยใน<br />

โลกยุคโลกาภิวัฒน์<br />

ในปี ๒๕๕๕ หนังสือ <strong>Bangkok</strong> <strong>Walking</strong> <strong>Guide</strong> :<br />

ASA Architectural Awards เล่มแรกได้ออกสู่สายตา<br />

บรรดาคนรักงานสถาปัตยกรรมมาแล้ว เป็นการน ำเสนอ<br />

ผลงานอาคารที่ได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม<br />

ดีเด่น และสถาปัตยกรรมดีเด่นที่ได้รับการคัดเลือกจาก<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ และได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ<br />

เข้ารับพระราชทานรางวัลจากองค์สมเด็จพระเทพรัตน<br />

ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นโล่เกียรติยศสลัก<br />

พระปรมาภิไธยย่อ “ส.ธ.” ในระหว่างปี ๒๕๒๕ – ๒๕๕๓<br />

ซึ่งโครงการรางวัลนี้ได้ริเริ่มเมื่อปี ๒๕๒๕ ในคราวฉลอง<br />

กรุงเทพมหานคร ๒๐๐ ปี<br />

มาในปี ๒๕๖๐ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้เล็ง<br />

เห็นความสำคัญของการปรับปรุงข้อมูลให้ทันกับ<br />

ยุคสมัย และเกิดความครบถ้วนมากขึ้น จึงได้มีการ<br />

รวบรวมอาคารที่ได้รับรางวัลในช่วงปี ๒๕๒๕ –<br />

๒๕๖๐ กว่าร้อยหลังเข้าเรียงร้อยเป็นเส้นทางนำชม<br />

ที่น่าสนใจ รวมถึงอาคารสำคัญในพื้นที่ข้างเคียง และ<br />

ข้อมูลประกอบการท่องเที่ยวที่รื่นรมย์ โดยนำเสนอ<br />

ข้อมูลเป็น ๓ ภาษา คือ ไทย อังกฤษ จีน<br />

หวังเป็นอย่างยิ่งว่าภายใต้การนำชมจากหนังสือ<br />

เล่มนี้จะทำให้ท่านได้รับประสบการณ์ ความ<br />

เพลิดเพลิน และความรู้ทางสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่า<br />

ที่แอบซ่อนอยู่ในทุกอณูของมหานครแห่งความ<br />

หลากหลายแห่งนี้ และท่านจะได้กลายเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของผู้คนที่มีความปราถนาในการดำรงไว้ซึ่งคุณค่า<br />

ของมรดกเมืองเหล่านี้<br />

ปองขวัญ สุขวัฒนา ลาซูส<br />

หัวหน้าศูนย์มรดกเมือง<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

๒๕๕๙ - ๒๕๖๑


Similar to the former capital city of Ayutthaya,<br />

<strong>Bangkok</strong> is not only a multicultural city<br />

metropolis, but it also inherits the town-planning<br />

traditions from the old capital. The old and the<br />

new fascinatingly fuse together, making <strong>Bangkok</strong><br />

an extremely appealing city for tourists. Just as<br />

works of architecture is an excellent depiction<br />

of culture and way of life, so too <strong>Bangkok</strong> architecture<br />

of different periods and styles - from<br />

traditional Thai architecture to Western-style<br />

building, from International Style of post 1932 era<br />

to contemporary architecture of the present time<br />

- reflect a transformation of ways of life in <strong>Bangkok</strong>.<br />

In 2012, the first edition of <strong>Bangkok</strong> <strong>Walking</strong><br />

<strong>Guide</strong>: ASA Architectural Awards was published<br />

and well-received by architecture-lovers. The<br />

book comprises works of architecture awarded<br />

by the Association of Siamese Architects Under<br />

Royal Patronage (ASA) under the categories of<br />

Architectural Conservation and Architectural<br />

Design. This award was inaugurated in 1982 – the<br />

year of the city’s bicentennial celebration - and<br />

since then until the present Her Royal Highness<br />

Princess Maha Chakri Sirindhorn has granted<br />

Royal audience to the ASA award recipients<br />

given a trophy engraved with the Princess’ initials.<br />

In 2017, the Association of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage realises the needs to<br />

update and create a more comprehensive<br />

database. As a result, more than 100 buildings<br />

awarded between 1982 - 2017 are put together in<br />

the form of walking routes. These also include<br />

other landmark buildings and nearby places of<br />

interest. The book is presented in 3 languages:<br />

Thai, English and Mandarin Chinese.<br />

I sincerely hope that this publication will<br />

guide readers to experience the hidden architectural<br />

gems of <strong>Bangkok</strong> and thus to realise the<br />

importance of preserving our heritage for the<br />

next generations.<br />

Pongkwan Lassus<br />

Head of Urban Heritage Center<br />

ASA The Association of Siamese Architects under<br />

Royal Patronage 2016 - 2018<br />

曼 谷 从 大 城 王 朝 时 期 以 来 , 就 一 直 是 一 个 拥 有 着 多 元 文 化 的 大 城<br />

市 。 不 仅 拥 有 大 城 王 朝 时 期 古 老 的 城 市 建 设 文 化 , 还 有 融 合 了 传 统 和 现<br />

代 的 各 种 元 素 都 体 现 在 这 座 城 市 里 。 在 旅 游 行 业 中 , 城 市 建 筑 对 游 客 的<br />

吸 引 力 是 非 常 大 的 , 同 时 也 是 一 个 非 常 好 的 、 展 示 民 族 文 化 的 平 台 , 将<br />

泰 国 传 统 的 生 活 风 格 、 多 民 族 文 化 的 融 合 以 及 吸 收 来 自 西 方 国 家 文 化 的<br />

影 响 , 并 且 把 不 断 变 化 过 程 中 和 现 代 全 球 化 时 代 影 响 的 建 筑 风 格 全 部 罗<br />

列 出 来 。<br />

2012 年 ,《<strong>Bangkok</strong> <strong>Walking</strong> <strong>Guide</strong> : ASA Architectural<br />

Awards》 首 次 出 版 , 呈 现 在 喜 欢 建 筑 的 读 者 视 野 中 , 该 书 籍 介 绍 了 荣 获<br />

“ 优 秀 建 筑 艺 术 奖 ” 的 建 筑 物 和 荣 获 泰 国 皇 家 建 筑 师 协 会 认 可 的 杰 出 建<br />

筑 物 , 并 且 在 佛 历 2525-2553 年 期 间 荣 获 欣 诗 琳 通 公 主 殿 下 亲 自 颁 发 的<br />

刻 有 国 王 签 名 的 奖 杯 。 此 奖 项 是 在 曼 谷 市 200 周 年 庆 典 活 动 中 首 次 颁 发 的 。<br />

2016 年 , 随 着 时 代 的 发 展 , 泰 国 建 筑 师 协 会 看 到 了 在 内 容 修 正 和<br />

更 新 上 的 重 要 性 , 使 得 书 籍 内 容 更 加 全 面 和 权 威 。 所 以 泰 国 建 筑 师 协 会<br />

开 始 收 集 1986-2017 年 之 内 的 一 百 多 座 获 奖 的 建 筑 , 然 后 分 类 排 序 以 便<br />

于 让 读 者 欣 赏 阅 读 , 期 中 还 包 括 各 个 建 筑 点 附 近 的 旅 游 咨 询 。 同 时 该 书<br />

籍 使 用 三 种 语 言 : 泰 语 , 英 语 和 中 文 以 满 足 不 同 地 区 读 者 的 需 求 。<br />

希 望 这 本 书 能 够 给 读 者 提 供 很 多 关 于 泰 国 建 筑 的 信 息 , 使 读 者 了 解<br />

每 一 个 不 同 的 城 市 里 的 建 筑 , 并 且 能 够 从 中 获 得 隐 藏 在 建 筑 背 后 的 乐 趣<br />

和 知 识 ; 同 时 也 还 希 望 读 者 也 会 成 为 保 护 这 些 城 市 的 遗 产 的 一 员 。<br />

Pongkwan Lassus<br />

2016-2018 届 泰 国 皇 家 建 筑 师 协 会 城 市 遗 产 部 部 长


คำนำ<br />

PREFACE<br />

编 者 的 话<br />

สถาปัตยกรรมอาคาร และบ้านเรือนต่างๆ ล้วน<br />

เปลี่ยนหน้าที่ไปตามการใช้สอยและความเจริญของ<br />

เมือง บางอาคารก็ถูกรื้อทิ้งแล้วสร้างใหม่ บางอาคาร<br />

เปลี่ยนเจ้าของและการใช้สอย และบางอาคารก็ถูก<br />

ดัดแปลงไปบ้างตามความต้องการที่เพิ่มขึ้น แต่สิ่งที่<br />

เกิดขึ้นนั้น คือ อดีต เรื่องเล่า ความทรงจำ และ<br />

ประวัติศาสตร์ ซึ่งเราสามารถเรียนรู้เรื่องราว วิถีชีวิต<br />

ในยุคสมัยต่างๆ ได้จากลักษณะทางสถาปัตยกรรม<br />

เช่นกัน<br />

คู่มือท่องเที่ยวทางสถาปัตยกรรมเล่มนี้ จึงอยาก<br />

ให้คุณได้ออกไปเที่ยวชมอาคารบ้านเรือนที่ทรงคุณค่า<br />

ทั่วเมืองกรุงด้วยเส้นทางง่ายๆ ไปแล้วครบถ้วน ซึ่ง<br />

อาคารต่างๆ เหล่านี้ล้วนแต่ได้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์<br />

หรือสถาปัตยกรรมดีเด่นที่สมควรเผยแพร่ จาก<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ มาแล้วทั้งนั้น เราหวังเป็น<br />

อย่างมากว่า ความตั้งใจเล็กๆ ครั้งนี้จะช่วยสร้าง<br />

ความรู้สึกให้ทุกคนได้เห็นคุณค่าของอดีต และช่วยกัน<br />

ดูแลรักษาอาคารต่างๆ ที่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรม<br />

ไว้ให้นานที่สุด<br />

ปรีดา อัครสิริวงศ์<br />

บรรณาธิการ


Architecture evolves as the city develops.<br />

Some buildings are torn down and re-built; some<br />

are renovated and modified to meet new requirements<br />

and conditions as well as their ownership<br />

change from one to another. Embedded in such<br />

the buildings are traces of the past through<br />

which we can learn about how they have been<br />

used as revealed through their fabrics.<br />

This walking guide explores treasured houses<br />

and buildings around <strong>Bangkok</strong> through a series<br />

of walking routes. Along the selected paths,<br />

readers will find buildings which have been given<br />

Architectural Conservation Awards by the Association<br />

of Siamese Architects Under Royal<br />

Patronage. We sincerely hope that our humble<br />

effort would encourage readers to appreciate<br />

historic buildings and be inspired to preserve<br />

them.<br />

根 据 一 座 城 市 繁 荣 度 和 城 市 规 划 的 发 展 , 建 筑 物 和 居 民 住 宅 往 往 也<br />

会 发 生 改 变 , 有 些 被 旧 的 建 筑 在 拆 迁 后 被 新 的 建 筑 物 取 代 , 有 些 建 筑 物<br />

换 了 主 人 或 者 改 变 了 使 用 功 能 , 有 些 建 筑 根 据 需 要 进 行 了 重 建 。 所 有 的<br />

这 一 切 都 是 过 去 、 故 事 和 历 史 , 我 们 同 样 可 以 从 这 些 建 筑 物 的 特 点 中 了<br />

解 到 历 史 的 故 事 , 学 习 到 不 同 时 期 居 民 的 生 活 方 式 。<br />

这 本 介 绍 泰 国 城 市 建 筑 物 的 手 册 , 将 通 过 一 条 很 简 单 的 故 事 线 引 导<br />

读 者 走 出 家 门 去 全 面 地 参 观 泰 国 所 有 城 市 的 珍 贵 建 筑 物 。 所 有 的 这 些 建<br />

筑 物 都 曾 经 获 得 过 泰 国 皇 家 建 筑 师 协 会 认 可 的 建 筑 保 护 奖 或 者 最 佳 建 筑<br />

设 计 奖 等 , 所 以 这 些 建 筑 物 都 是 值 得 进 行 推 广 和 传 播 的 。 至 此 , 我 希 望<br />

可 以 让 所 有 读 者 看 到 隐 藏 在 这 些 建 筑 物 背 后 的 、 代 表 着 过 去 的 价 值 和 意<br />

义 , 并 且 能 够 最 大 限 度 地 保 护 这 些 建 筑 物 。<br />

Preeda Akarasiriwong<br />

编 者<br />

Preeda Akarasiriwong<br />

Executive Editor


10<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


แผนที่บริเวณกรุงเทพฯ ฝั่งตะวันออกของแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยา จ.ศ. ๑๒๔๙ (พ.ศ. ๒๔๓๐)<br />

แผนที่กรุงเทพฯ ชิ้นแรกที่จัดทำขึ้นโดยกรมแผนที่ สังกัด<br />

กระทรวงกลาโหม (พระบาทสมเด็จพระจุลจอมจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ ๓ กันยายน<br />

๒๔๒๘ มีนายแมคคาร์ธี เป็นเจ้ากรมคนแรก) สมเด็จ<br />

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ ทรง<br />

นำต้นฉบับไปพิมพ์ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ<br />

This was the first map of <strong>Bangkok</strong> which created<br />

by the Royal Thai Survey Department, under the<br />

Ministry of Defense. (King Chulalongkorn (Rama<br />

V) established the Department on 3rd September<br />

1885, with Mr. McCarthy as the first Director).<br />

HRH Prince Devavongse Varoprakarn subsequently<br />

brought the manuscript of this map to print in<br />

London, UK.<br />

第 一 份 曼 谷 地 图 是 由 国 防 部 ( 于 佛 历 2428 年 9 月 3 日 由 拉 玛 五 世 亲 自<br />

下 令 建 立 , 并 且 是 第 一 任 国 防 部 部 长 ) 下 属 的 测 绘 部 门 绘 制 , 并 由 丹<br />

龙 • 腊 贾 努 巴 亲 王 带 到 英 国 的 伦 敦 印 制 。<br />

ที่มา : ธงชัย ลิขิตพรสวรรค์, บรรณาธิการ, แผนที่กรุงเทพ จ.ศ. ๑๒๔๙<br />

(กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, ๒๕๕๘), ๒, ๔.<br />

Map of <strong>Bangkok</strong> – the eastern bank of Chao Phraya River<br />

in 1887 (B.E. 2430).<br />

湄 南 河 东 部 的 曼 谷 地 图 公 元 1249 年 ( 佛 历 2430)<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

11


ประวัติศาสตร์และความเปลี่ยนแปลง<br />

“ภูมิสถานกรุงเทพฯ”<br />

THE ARCHITECTURAL LANDSCAPE OF<br />

BANGKOK: HISTORY AND CHANGE<br />

曼 谷 的 建 筑 景 观 : 历 史 和 变 革<br />

ชาตรี ประกิตนนทการ<br />

Chatri Prakitnonthakan<br />

มีหลายวิธีที่จะทำความรู้จักประวัติศาสตร์<br />

กรุงเทพฯ ไม่ว่าจะเป็นการอ่านหนังสือประวัติศาสตร์<br />

ดูภาพยนตร์ พิจารณาภาพถ่ายเก่า ตลอดจนรับฟัง<br />

เรื่องเล่าเก่าแก่จากผู้คนในท้องถิ ่น ซึ่งในบรรดาวิธี<br />

การทั้งหลายนั้น การเดินสำรวจเมืองผ่านถนน<br />

หนทางและอาคารเก่าตามย่านชุมชนโบราณที่สร้าง<br />

ซ้อนทับกันหลายยุคสมัยบนพื้นที่เมืองกรุงเทพฯ เป็น<br />

อีกหนึ่งวิธีการที่เราสามารถซึบซับทั้งประวัติศาสตร์<br />

และบรรยากาศในอดีตที่ยังคงทิ้งร่องรอยบางอย่าง<br />

หลงเหลืออยู่ในสถานที่เก่าแก่เหล่านั้น<br />

งานชิ้นนี้เกิดขึ้นโดยมุ่งหวังที่จะนำเสนอประวัติ-<br />

ศาสตร์กรุงเทพฯ ผ่านพัฒนาการของการออกแบบ<br />

วางผังเมือง การตัดถนน ตลอดจนการสร้าง<br />

สถาปัตยกรรมชิ้นสำคัญๆ ที่ตกทอดมาจนถึงปัจจุบัน<br />

แม้ทุกสิ่งอย่างจะผ่านการปรับเปลี่ยนสภาพไป<br />

ตามกาลเวลา แต่ร่องรอยบางอย่างก็ยังคงฝังอยู่ใน<br />

อาคารสถานที่และถนนหนทางเหล่านั้น<br />

สถาปัตยกรรมทุกชิ้นที่ปรากฏอยู่ภายในเล่มล้วน<br />

แล้วแต่เป็นสถาปัตยกรรมที่ได้รับการอนุรักษ์เป็น<br />

อย่างดีจากรุ่นสู่รุ่น แม้หลายหลังจะถูกปรับเปลี่ยน<br />

12<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


Among the number of ways to learn about<br />

the history of <strong>Bangkok</strong>: from reading historical<br />

books, watching movies, studying historic<br />

photographs, to listening to the locals talking<br />

about their first-hand experience; walking the<br />

streets of <strong>Bangkok</strong> is also one very effective<br />

means. Through the old town of <strong>Bangkok</strong>, one<br />

walks through streets and alleyways, communities<br />

with long history, and takes in the many layers<br />

of era and history that leave their marks on the<br />

architecture.<br />

The aim of this book is the present the history<br />

of <strong>Bangkok</strong> through the lens of urban planning,<br />

social and economic infrastructures as well as<br />

architectural landmarks. Everything changes<br />

with time; but their traces can still be seen or felt<br />

in these buildings and streets.<br />

The buildings we present in this book have<br />

been well maintained from generations to<br />

generations. Some of the buildings have<br />

changed their functions over time in order to<br />

accommodate the modern needs. Some buildings<br />

have been renovated and their construction<br />

materials and techniques modified; and hence<br />

their characters were lost almost entirely. This is<br />

the result of the urbanization of <strong>Bangkok</strong> – the<br />

process which does not allow much room for<br />

saving the memory. Nevertheless, these buildings<br />

still retain the fragments of the memory of<br />

<strong>Bangkok</strong> – one of the world’s most charming cities.<br />

曼 谷 建 筑 设 计 的 历 史 和 变 迁<br />

有 很 多 种 的 方 式 可 以 了 解 曼 谷 的 历 史 , 不 管 是 读 历 史 书 , 看 电 影 ,<br />

参 考 老 照 片 , 或 者 是 听 本 地 人 诉 说 古 老 的 故 事 , 都 是 一 些 很 好 的 途 径 。<br />

在 马 路 上 行 走 , 通 过 参 观 林 立 在 道 路 两 边 融 合 了 多 个 时 期 、 不 同 风 格 的<br />

建 筑 和 古 老 的 居 民 区 来 了 解 曼 谷 这 片 土 地 , 也 是 另 一 种 让 我 们 通 过 那 些<br />

古 建 筑 来 了 解 其 遗 留 下 来 的 历 史 痕 迹 的 好 方 法 。<br />

写 作 这 本 书 的 目 的 , 是 为 了 从 曼 谷 城 市 设 计 、 道 路 规 划 、 地 标 性 建<br />

筑 等 方 面 来 介 绍 曼 谷 发 展 历 史 的 传 承 。 尽 管 一 切 都 会 随 着 时 间 发 生 改 变 ,<br />

但 是 一 些 历 史 的 痕 迹 还 是 存 在 于 那 些 古 老 的 街 道 和 建 筑 物 中 。<br />

所 有 收 集 在 本 书 中 的 建 筑 物 , 都 很 好 地 得 到 了 每 一 代 人 的 保 护 , 尽<br />

管 有 些 建 筑 根 据 需 要 改 变 了 用 途 , 有 了 新 的 使 用 途 径 ; 有 些 建 筑 根 据 新<br />

时 代 的 发 展 要 求 , 重 新 设 计 了 外 形 和 式 样 ; 有 些 建 筑 也 由 于 时 代 的 变 迁 ,<br />

更 新 了 建 筑 主 体 的 材 料 。 像 曼 谷 这 样 繁 荣 发 展 的 大 都 市 , 很 多 建 筑 都 不<br />

得 不 失 去 了 原 有 的 容 貌 和 功 能 , 没 有 保 留 城 市 发 展 记 忆 的 机 会 , 但 是 这<br />

些 保 存 下 来 带 有 纪 念 意 义 的 古 建 筑 也 可 以 被 称 为 是 世 界 上 最 有 魅 力 的 城<br />

市 建 筑 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

13


่<br />

การใช้สอยไปสู่กิจกรรมใหม่ๆ เพื่อสนองตอบความ<br />

ต้องการในโลกปัจจุบัน หลายหลังเปลี่ยนรูปแบบและ<br />

วัสดุก่อสร้างไปตามกาลเวลา สภาพแวดล้อมของ<br />

อาคารแทบทั้งหมดไม่เหลือบรรยากาศดั้งเดิมอีก<br />

ต่อไปด้วยความเจริญของเมืองใหญ่เช่นกรุงเทพฯ<br />

ที่ไม่เปิดโอกาสให้แก่การเก็บรักษาความทรงจำจาก<br />

อดีตมากนัก แต่กระนั้นตึกอาคารเหล่านี้ก็ยังทำ<br />

หน้าที่รักษาเศษเสี้ยวแห่งความทรงจำเก่าแก่ของ<br />

เมืองที่ขึ้นชื่อว่ามีเสน่ห์มากที่สุดแห่งหนึ่งของโลกเอา<br />

ไว้ได้<br />

บทนำชิ้นนี้หวังว่าจะเป็นส่วนหนึ่งเพื่อช่วยให้<br />

ผู้คนที่เดินทางสำรวจสถาปัตยกรรมในกรุงเทพฯ<br />

สามารถที่จะเติมเต็มจินตนาการย้อนกลับไปสัมผัส<br />

ภาพอดีตอันเต็มไปด้วยเสน่ห์ของเมืองกรุงเทพฯ ได้<br />

อีกครั้ง โดยเนื้อหาจะเล่าย้อนกลับไปถึงอดีตของ<br />

พื้นที่กรุงเทพฯ ก่อนที่จะมาเป็นกรุงเทพฯ ตั้งแต่การ<br />

ตั ้งถิ่นฐานบ้านเรือนยุคแรกที่มีสถานะเป็นเพียงชุม<br />

ชนเล็กๆ พัฒนาสู่การเป็นเมืองหน้าด่านโบราณใน<br />

สมัยอยุธยา เรื่อยมาจนสถาปนาเป็นกรุงธนบุรี และ<br />

เปลี่ยนแปลงอีกครั้งสู่การเป็นราชธานีในสมัยกรุง<br />

รัตนโกสินทร์ จากนั้นจะเล่าความเปลี่ยนแปลงของ<br />

เมืองที่ขยายตัวตามความเจริญที่เปลี่ยนไปในแต่ละ<br />

ยุคสมัย การรับความเจริญสมัยใหม่แบบตะวันตก<br />

เปลี่ยนจากเมืองน้ำที่มีแม่น้ำและคูคลองเป็น<br />

เส้นเลือดของเมืองมาสู่การเป็นเมืองบกที่มีถนนเป็น<br />

หัวใจสำคัญ และสุดท้ายเปลี่ยนผ่านมาสู่การเป็น<br />

เมืองที่พัฒนาไปตามการขนส่งระบบราง ในด้าน<br />

ความหมายของเมือง บทนำชิ้นนี้จะเล่าแสดงให้เห็น<br />

ถึงกรุงเทพฯ ที่ถูกสร้างขึ้นบนความหมายของเมือง<br />

ศักดิ์สิทธิ์ตามโลกทัศน์แบบจารีต เปลี่ยนผ่านสู่เมือง<br />

ศิวิไลซ์ตามมาตรฐานตะวันตก เมืองศูนย์กลางทาง<br />

เศรษฐกิจที่สำคัญ และจบลงด้วยการเป็นเมืองที<br />

พัฒนาสู่การเป็นเมืองท่องเที่ยวที่สำคัญที่สุดแห่ง<br />

หนึ่งของไทยในปัจจุบัน<br />

กรุงเทพฯ คือทะเลโบราณ<br />

บริเวณพื้นที่กรุงเทพฯ ณ ปัจจุบัน ตั้งอยู่สองฟาก<br />

ฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา บนพื้นที่ดินดอนสามเหลี่ยมปาก<br />

แม่น้ำเจ้าพระยา กรุงเทพฯ เป็นผืนดินที่งอกเพิ่มขึ้น<br />

จากตะกอนที่ทับถมของแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งหากย้อน<br />

อดีตกลับไปราว ๑๒,๐๐๐ ปีที่ผ่านมา กรุงเทพฯ รวม<br />

ไปถึงอีกหลายจังหวัดในภาคกลางทั้งหมดยังจมอยู่<br />

ใต้ท้องทะเลอ่าวไทย กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ<br />

อ่าวไทยในอดีตมีขอบเขตกว้างและลึกเข้าไปในผืน<br />

แผ่นดินที่ราบลุ่มภาคกลางมากกว่าที่เป็นอยู่ใน<br />

ปัจจุบัน ตอนเหนือทะเลขึ้นสูงไปจนถึงลพบุรี ตะวันตก<br />

กินลึกเข้าไปจนถึงกาญจนบุรีและสุพรรณบุรี ตะวัน<br />

ออกถึงนครนายก เป็นต้น<br />

ด้วยระยะเวลาหลายพันปีต่อมา ผืนดินบริเวณ<br />

อ่าวไทยเริ่มตื้นเขินขึ้นเรื่อยๆ ด้วยการพัดพาของ<br />

ตะกอนและโคลนตมจากแม่น้ำเจ้าพระยา ครั้นนาน<br />

เข้าก็กลายเป็นทะเลโคลนตม ขยายพื้นที่กว้างออก<br />

ไปเรื่อยๆ จนกลายเป็นดินดอน<br />

พื้นที่บริเวณกรุงเทพฯ ก็เช่นเดียวกัน ด้วย<br />

การพัดพาของตะกอนและโคลนตมหลายพันปี ได้<br />

ทำให้ผืนดินบริเวณกรุงเทพฯ ในปัจจุบันโผล่พ้นน้ำ<br />

ทะเลขึ้นมา กลายเป็นทะเลตม และกลายเป็นที่ดอน<br />

ในที่สุด<br />

ขุดคลองลัด: เกิดเมืองบางกอก<br />

แต่เดิมพื้นที่กรุงเทพฯ ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรี<br />

คือแผ่นดินที่ต่อเนื่องเป็นผืนเดียวกัน ส่วนแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยาจะไหลอ้อมไปตามเส้นคลองบางกอกน้อย<br />

และคลองบางกอกใหญ่ ซึ่งถือว่าเป็นเส้นแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยาสายเดิม พื้นที่กรุงเทพฯ และกรุงธนบุรีใน<br />

ยุคดังกล่าวมีสภาพเป็นเพียงชุมชนขนาดเล็ก<br />

ต่อมาด้วยเหตุผลทางการค้าสำเภาทางทะเลของ<br />

กรุงศรีอยุธยากับนานาชาติ ทำให้กษัตริย์อยุธยา<br />

หลายพระองค์โปรดเกล้าฯ ให้ทำการขุดคลองลัด<br />

แม่น้ำเจ้าพระยาในหลายๆ ช่วง อันเนื่องมาจาก<br />

ธรรมชาติของแม่น้ำเจ้าพระยาซึ่งเกิดขึ้นจาก<br />

14<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


This prologue hopes to takes the readers and<br />

walkers on their journey to various architectural<br />

landmarks in <strong>Bangkok</strong>, and to fuel their imagination<br />

and take them back to the charm of old <strong>Bangkok</strong>.<br />

This book tells the story of the old <strong>Bangkok</strong>. From<br />

its inception as a small community, <strong>Bangkok</strong> then<br />

became a border town of the Ayutthaya Kingdom.<br />

After the Thonburi kingdom, <strong>Bangkok</strong> became<br />

the capital city of the Rattanakosin Kingdom.<br />

This book will also highlight the changes that<br />

took place in the city as the city expands following<br />

the changes in social and economic infrastructure.<br />

As the city was modernized following the western<br />

precedents, the river and canal-reliant <strong>Bangkok</strong><br />

became a city driven by roads, and later by rail<br />

network. This prologue talks about <strong>Bangkok</strong> –<br />

from the sacred city built following traditional<br />

and religious principles; to the civilized city<br />

following western examples; later the country’s<br />

economic center; and presently one of the<br />

country’s most renowned tourist sites.<br />

THE INUNDATED ANCIENT BANGKOK<br />

<strong>Bangkok</strong> is located on either banks of Chao<br />

Phraya River. The city is situated on the land<br />

which formed as a result of the sediments<br />

deposited from the Chao Phraya. 12,000 years<br />

ago, <strong>Bangkok</strong>, along with many provinces in<br />

Central Thailand, were submerged under the<br />

Gulf of Thailand. In other words, the boundary of<br />

the sea extended further in land than its current<br />

shoreline. Its northern edge bordered Lopburi,<br />

the western edge bordered Kanchanaburi and<br />

Suphan Buri; while the eastern shore was roughly<br />

where Nakhon Nayok Province is today.<br />

Thousands of years later, as the River<br />

deposited sediments at the bottom of the Gulf<br />

of Thailand and the deposited sediment grew<br />

larger and larger, a land emerged from the sea.<br />

<strong>Bangkok</strong>, too, was formed in such a way.<br />

The city gradually emerged from the sea as<br />

a semi-flooded land, and eventually as a land<br />

above the sea level.<br />

本 前 言 希 望 能 够 帮 助 到 参 观 曼 谷 城 市 建 筑 的 人 们 。 能 够 让 大 家 回 到<br />

过 去 , 再 一 次 体 验 到 曼 谷 城 市 建 筑 曾 经 的 魅 力 。 首 先 是 在 曼 谷 建 城 之 前 ,<br />

这 片 土 地 最 早 出 现 了 小 范 围 居 民 住 宅 区 , 慢 慢 发 展 成 为 大 城 王 朝 时 期 的<br />

一 座 城 市 , 然 后 是 到 了 吞 武 里 王 朝 时 期 , 接 下 来 成 为 了 曼 谷 王 朝 时 期 的<br />

首 都 。 从 那 以 后 , 伴 随 着 各 个 时 代 的 繁 荣 程 度 , 这 座 城 市 都 得 到 了 不 同<br />

程 度 的 发 展 和 扩 大 。 受 到 西 方 社 会 繁 荣 发 展 的 影 响 , 从 以 河 流 和 运 河 为<br />

主 的 城 市 转 变 为 以 道 路 交 通 为 重 心 的 城 市 , 最 后 发 展 成 为 以 轨 道 交 通 为<br />

主 要 运 输 系 统 的 现 代 化 城 市 。 从 城 市 意 义 方 面 来 说 , 曼 谷 城 是 在 传 统 世<br />

界 观 的 影 响 下 建 立 起 来 , 具 有 神 圣 的 象 征 意 义 。 然 后 在 西 方 世 界 影 响 下<br />

转 变 为 现 代 文 明 城 市 , 逐 渐 成 为 重 要 的 经 济 中 心 , 最 后 发 展 成 为 当 今 泰<br />

国 最 重 要 的 旅 游 城 市 之 一 。<br />

曼 谷 - 远 古 时 期 的 海 洋<br />

现 如 今 , 曼 谷 城 的 范 围 在 湄 南 河 的 两 边 , 湄 南 河 入 海 口 的 三 角 区<br />

域 , 是 湄 南 河 泥 沙 长 期 堆 积 起 来 的 地 带 。 所 以 , 如 果 将 时 间 回 溯 到 1200<br />

多 年 前 , 曼 谷 以 及 中 部 的 很 多 府 仍 然 在 泰 国 湾 海 域 的 海 水 之 中 。 换 句 话<br />

说 , 过 去 泰 国 湾 的 海 水 面 积 和 深 度 非 常 的 广 阔 , 甚 至 超 过 了 现 在 泰 国 中<br />

部 平 原 的 面 积 , 那 时 海 洋 面 积 的 最 北 边 到 达 现 在 的 华 富 里 府 , 西 边 到 北<br />

碧 府 和 素 攀 府 , 东 边 到 那 空 那 育 府 等 等 。<br />

接 下 来 的 几 千 年 中 , 泰 国 湾 海 岸 的 区 域 在 湄 南 河 中 冲 刷 而 来 的 泥 沙<br />

以 及 污 泥 的 堆 积 作 用 下 , 该 区 域 的 土 地 开 始 慢 慢 积 累 成 形 , 经 过 漫 长 的<br />

时 间 后 就 形 成 了 海 淤 泥 , 慢 慢 的 向 四 周 扩 大 土 地 面 积 , 最 终 形 成 了 陆 地<br />

土 壤 。<br />

曼 谷 区 域 的 土 地 也 是 同 样 的 原 理 , 几 千 年 来 , 在 河 流 冲 刷 而 来 的 泥<br />

沙 以 及 污 泥 的 堆 积 作 用 下 , 使 得 当 今 曼 谷 区 域 的 土 地 从 海 洋 中 脱 离 出 来 ,<br />

慢 慢 变 成 海 淤 泥 , 最 终 形 成 了 现 在 的 样 子 。<br />

开 凿 河 道 : 曼 谷 城 的 诞 生<br />

在 过 去 , 曼 谷 区 和 吞 武 里 区 原 本 是 一 整 块 连 在 一 起 的 土 地 , 湄 南 河<br />

的 流 经 途 径 是 绕 着 曼 谷 莲 河 和 曼 谷 艾 河 , 这 是 之 前 的 湄 南 河 流 经 路 线 。<br />

在 这 个 时 期 的 曼 谷 区 和 吞 武 里 区 都 只 是 小 规 模 的 居 民 住 宅 区 。<br />

BUILDING CANAL SHORTCUTS: BUILDING<br />

BANGKOK<br />

<strong>Bangkok</strong> today consists of Phra Nakhon, the<br />

eastern bank of the Chao Phraya River; and<br />

Thonburi, the western bank of Chao Phraya<br />

River. The two banks, however, were once not<br />

separated. The original course of the Chao<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

15


ดินตะกอนที่ทับถมมานานนับหมื่นๆ ปี ทำให้สภาพ<br />

แม่น้ำเจ้ าพระยามีลักษณะคดเคี้ยวไปมาเป็นรูปเกือกม้ า<br />

ส่งผลให้เสียเวลาในการเดินทางเข้ามาค้าขายกับกรุง<br />

ศรีอยุธยา และช่วงคดของแม่น้ำเจ้าพระยาที่สำคัญ<br />

ช่วงหนึ่งได้แก่ “บางกอก” ซึ่งเป็นบริเวณพื้นที่ของ<br />

กรุงเทพฯ และกรุงธนบุรีในปัจจุบัน ในยุคสมัยนั้น<br />

ต้องแล่นเรืออ้อมบริเวณนี้เป็นเวลาเกือบทั้งวันเพื่อที่<br />

จะผ่านพื้นที่ช่วงนี้ออกไปได้<br />

ด้วยเหตุนี้ ในปีใดปีหนึ่งระหว่าง พ.ศ. ๒๐๗๗<br />

- ๒๐๘๙ สมเด็จพระไชยราชาธิราช พระมหากษัตริย์<br />

อยุธยา จึงได้โปรดเกล้าฯ ให้ทำการขุด “คลองลัด<br />

บางกอก” ขึ้น (บริเวณตั้งแต่สถานีรถไฟบางกอกน้อย<br />

ถึงบริเวณป้อมวิไชยประสิทธิ์) เพื่อให้การเดินเรือ<br />

สะดวกมากขึ้น<br />

ต่อมาคลองลัดบางกอกได้ขยายตัวกว้างขึ้นเอง<br />

ตามธรรมชาติจนกลายเป็นแม่น้ำเจ้าพระยาแทน และ<br />

แม่น้ำเจ้าพระยาสายเดิมก็ลดขนาดลงจนเป็นคลอง<br />

บางกอกน้อยและคลองบางกอกใหญ่เช่นที่ปรากฏใน<br />

ปัจจุบัน การขุดคลองลัดดังกล่าวทำให้การเดินเรือ<br />

ขึ้นล่องจากกรุงศรีอยุธยาและปากอ่าวไทยสะดวก<br />

มากขึ้น และนำมาซึ่งการขยายตัวของชุมชนสองฝั่ง<br />

แม่น้ำ เมืองบางกอกกลายเป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญ<br />

ขึ้นมาโดยลำดับ<br />

ธนบุรีศรีมหาสมุทร<br />

หลังจากที่มีการขุดคลองลัดบางกอกประมาณ<br />

๕๐ ปี ในรัชสมัยของสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ<br />

พระองค์ได้ยกสถานะชุมชนบางกอกขึ้นเป็นเมือง<br />

มีชื่ออยู่ในทำเนียบหัวเมืองว่า “ธนบุรีศรีมหาสมุทร”<br />

ซึ่งหมายถึงว่าอยู่ใกล้ทะเล<br />

ครั้นราวพุทธศตวรรษที่ ๒๒ หรือหลังรัชกาล<br />

สมเด็จพระนเรศวรลงมา กรุงศรีอยุธยามีความ<br />

มั่นคงทางการเมืองมากขึ้น ส่งผลทำให้การค้ายิ่ง<br />

พลอยเจริญเติบโตมากขึ้นตามไปด้วย โดยบรรดา<br />

พ่อค้าสำเภาจีน สลุปแขก และกำปั่นฝรั่ง ต่างเดิน<br />

ทางเข้ามาติดต่อค้าขายกับอยุธยา และการเดินทาง<br />

มาค้าขายดังกล่าวล้วนต้องผ่านเมืองธนบุรี<br />

ศรีมหาสมุทรนี้ทั้งสิ้น ทำให้เมืองธนบุรีศรีมหาสมุทร<br />

ทวีความสำคัญมากขึ้น มีสถานะเป็น “เมืองหน้า<br />

ด่าน” สำคัญให้แก่กรุงศรีอยุธยา และคงจะทำให้มี<br />

ผู้คนหลากหลายเชื้อชาติเข้ามาตั้งถิ่นฐานมากมาย<br />

อาทิ แขก จีน มอญ ลาว เขมร ฝรั่ง ฯลฯ<br />

เมืองธนบุรีที่บางกอกคงมีการสร้างศูนย์กลาง<br />

เมืองอยู่บริเวณมุมที่แม่น้ำเจ้าพระยาเก่าไหลมาชน<br />

กับแม่น้ำเจ้าพระยาใหม่ (ปากคลองบางกอกใหญ่)<br />

แต่แรกเริ่มเมืองเป็นเพียงการขุดคูน้ำล้อม สร้าง<br />

ระเนียดไม้ซุงอย่างง่ายๆ เป็นกำแพงเมือง ความเป็น<br />

เมืองของธนบุรีศรีมหาสมุทรกินขอบเขตทั้งสองฝั่ง<br />

แม่น้ำ แต่ความหนาแน่นของชุมชนคงจะมีมากที่ฝั่ง<br />

ตะวันตก<br />

ต่อมาเมื่อบทบาทของเมืองธนบุรีที่บางกอกเพิ่ม<br />

สูงขึ้น ก็เริ่มสร้างป้อมแบบสมัยใหม่ขึ้น แนวคิดการ<br />

สร้างป้อมเริ่มมีมาตั้งแต่สมัยพระเจ้าปราสาททอง<br />

แต่ได้มีการก่อสร้างจริงในสมัยพระนารายณ์ (พ.ศ.<br />

๒๑๙๙ - ๒๒๓๑) เมื่ออยุธยาเริ่มการติดต่อกับ<br />

ราชสำนักฝรั่งเศส<br />

การก่อสร้างป้อมเมืองบางกอก อยุธยาได้ว่าจ้าง<br />

นายทหารเรือฝรั่งเศสชื่อ เชอวาเลีย เดอ ฟอร์บัง<br />

(Chevalier de Forbin) ให้วางผังควบคุมดูแลการ<br />

ก่อสร้างภายใต้การกำกับดูแลของขุนนางอยุธยาเชื้อ<br />

สายกรีกชื่อ คอนสแตนติน ฟอลคอน (Constantine<br />

Phaulkon) หรือที่รู้จักกันในชื่อ เจ้าพระยาวิชาเยนทร์<br />

ป้อมเมืองธนบุรีที่บางกอกนั้น มีขนาดใหญ่โต<br />

มาก สร้างขึ้นตามแบบป้อมในประเทศยุโรป โดย<br />

สร้างขึ้นสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาใหม่ ตรงบริเวณปาก<br />

คลองบางกอกใหญ่ ป้อมทั้งสองฝั่งจะมีการขึงโซ่<br />

ขนาดใหญ่พาดผ่านลำน้ำไว้ เมื่อมีเรือเข้ ามาจะทำการ<br />

ยกโซ่ขึงไว้ไม่ให้เรือผ่านจนกว่าจะมีการอนุญาตจาก<br />

พระมหากษัตริย์ที่อยุธยาก่อน<br />

กรุงธนบุรี: เมืองอกแตก<br />

ภายหลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียให้แก่พม่าใน<br />

พ.ศ. ๒๓๑๐ พระเจ้ากรุงธนบุรีได้มีพระราชดำริย้าย<br />

เมืองหลวงจากกรุงศรีอยุธยามาที่พื้นที่เมืองธนบุรี<br />

16<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


Phraya River was where the <strong>Bangkok</strong> Noi and<br />

<strong>Bangkok</strong> Yai canals are; and <strong>Bangkok</strong> and<br />

Thonburi then, was only a small community.<br />

Later to facilitate the trade to Ayutthaya for<br />

foreign vessels, many Kings of the Ayutthaya<br />

Kingdom ordered shortcuts to be cut through<br />

many sections of the Chao Phraya River. This<br />

was because the natural course of the Chao<br />

Phraya River consisted of several meanders and<br />

bends, lengthening the travel time by boats<br />

between Ayutthaya and the Sea. One of these<br />

major shortcuts were through “<strong>Bangkok</strong>”-<br />

present day Phra Nakhon and Thonburi.<br />

Previously the journey through <strong>Bangkok</strong>,<br />

following the natural course of the Chao Phraya<br />

River, took days before the shortcut was made.<br />

For this reason, between 1534 – 1546,<br />

King Chairachathirat of Ayutthaya ordered for<br />

“Klong Lad Bang Kok”, a channel shortcutting<br />

through <strong>Bangkok</strong> to be made from present day<br />

<strong>Bangkok</strong> Noi railway station to Fort Vichai Prasit.<br />

“Klong Lad Bang Kok” later grew wider<br />

following the natural flow of the River that it<br />

later became the main course of Chao Phraya<br />

River. The original course of the River became<br />

<strong>Bangkok</strong> Noi and <strong>Bangkok</strong> Yai canals today. This<br />

shortcut facilitated the journey between<br />

Ayutthaya and the Gulf of Thailand, resulting in<br />

the growth of communities along the new course<br />

of Chao Phraya River. <strong>Bangkok</strong> became a more<br />

and more important city on the map.<br />

THONBURI SRI MAHASAMUTR<br />

接 下 来 由 于 受 到 当 时 大 城 府 和 其 他 国 家 海 上 贸 易 的 影 响 , 使 得 当 时<br />

大 城 王 朝 时 期 的 多 位 国 王 都 曾 下 旨 命 令 在 湄 南 河 流 域 开 凿 人 工 河 道 。 由<br />

于 湄 南 河 里 的 淤 泥 是 重 叠 堆 积 了 几 万 年 而 成 , 整 条 河 流 弯 弯 曲 曲 , 呈 马<br />

蹄 形 , 这 直 接 导 致 了 运 输 货 物 到 大 城 府 进 行 贸 易 需 要 花 费 大 量 的 时 间 。<br />

然 后 , 在 湄 南 河 流 域 中 , 最 重 要 的 一 个 弯 道 就 是 “ 曼 谷 ”, 也 就 是 现 在<br />

的 曼 谷 和 吞 武 里 地 区 , 在 那 个 时 期 , 要 讲 将 物 通 过 河 运 从 这 片 区 域 运 输<br />

出 去 几 乎 需 要 花 费 一 整 天 的 时 间 。<br />

因 此 , 在 佛 历 2077-2079 间 的 某 一 年 , 大 城 王 朝 第 十 三 世 国 王 下<br />

令 , 开 凿 “ 曼 谷 河 道 ”( 从 现 在 的 曼 谷 莲 河 火 车 站 到 ), 以 便 船 只 运 输<br />

速 度 能 够 得 到 很 大 提 高 。<br />

后 来 曼 谷 河 道 在 自 然 环 境 下 , 慢 慢 地 自 己 发 生 了 扩 宽 渐 渐 代 替 了 原 来 的<br />

湄 南 河 , 而 原 来 湄 南 河 径 流 的 线 路 也 慢 慢 变 成 了 现 在 的 曼 谷 莲 河 和 曼 谷<br />

艾 河 , 使 得 从 大 城 府 到 泰 国 湾 的 河 运 更 加 方 便 , 河 流 两 岸 的 居 民 住 宅 区<br />

也 渐 渐 扩 大 , 曼 谷 城 也 成 为 了 数 一 数 二 的 重 要 城 市 。<br />

曼 谷 吞 武 里 旧 城<br />

在 曼 谷 河 道 开 凿 后 的 五 十 年 , 大 城 王 朝 十 五 世 王 下 令 , 将 当 时 的 曼<br />

谷 这 个 居 民 区 提 升 为 一 座 城 市 , 并 且 在 城 市 名 称 的 前 面 增 加 了 ” 吞 武 里<br />

海 岸 ” 的 前 缀 , 意 思 是 靠 近 海 洋 的 地 方 。<br />

大 城 王 朝 的 政 治 局 势 越 来 越 稳 定 , 跨 洋 而 来 的 中 国 和 客 家 及 西 方 商<br />

人 都 纷 纷 与 当 时 的 大 城 府 展 开 贸 易 往 来 , 使 得 当 时 的 经 济 发 展 得 越 来 越<br />

繁 荣 , 而 且 所 有 的 这 些 外 商 都 要 经 过 吞 武 里 城 , 更 加 凸 显 了 这 城 市 越 来<br />

越 重 要 , 具 有 “ 门 户 城 市 ” 的 地 位 , 对 大 城 府 的 意 义 非 常 重 大 。 也 吸 引<br />

了 各 种 各 样 民 族 信 仰 的 人 来 定 居 , 如 : 客 家 人 、 中 国 人 、 泰 国 孟 族 、 老<br />

挝 人 、 高 棉 人 、 西 方 人 等 等 。<br />

曼 谷 吞 武 里 旧 城 在 老 湄 南 河 与 新 湄 南 河 的 交 界 位 置 ( 曼 谷 艾 河 河 道<br />

口 处 ) 建 立 了 一 座 中 心 城 市 , 一 开 始 只 是 挖 了 河 沟 , 用 简 单 的 木 质 栅 栏<br />

作 为 城 墙 , 吞 武 里 旧 城 就 这 样 建 立 了 , 该 城 的 范 围 包 括 河 流 两 岸 , 但 是<br />

西 边 的 人 口 密 集 度 要 更 高 一 些 。<br />

Fifty years after the construction of “Klong<br />

Lad Bang Kok”, King Maha Chakkraphat<br />

elevated the status of <strong>Bangkok</strong> from a small<br />

community, to a city called “Thonburi Sri<br />

Mahasamutr”, meaning being close to the sea.<br />

During the B.E. 22 nd century, or after the reign<br />

of King Naresuan, Ayutthaya grew more<br />

powerful and stable politically. This resulted in<br />

the Kingdom’s economic growth and the<br />

increase in foreign trade with merchants from<br />

China, India, and western countries frequently<br />

visited Ayutthaya. As a city en route to Ayutthaya,<br />

Thonburi Sri Mahasamutr became a hub for<br />

Indian, Chinese, Mon, Laotian, Khmer and<br />

Western settlements.<br />

The center of Thonburi Sri Mahasamutr was<br />

located at the mouth of <strong>Bangkok</strong> Yai Canal,<br />

where the original course of the Chao Phraya<br />

River joined the new and current course. The city<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

17


ศรีมหาสมุทร ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังขึ้น<br />

บริเวณฝั่งธนบุรี ส่วนฝั่งพระนครนั้นทรงโปรดเกล้าฯ<br />

ให้เจ้าพระยาจักรี (รัชกาลที่ ๑) เป็นแม่งานขุดคลอง<br />

คูเมืองบริเวณฝั่งพระนคร (ปัจจุบันคือคลองคูเมือง<br />

เดิม) และสร้างกำแพงเมืองขึ้นโดยรอบ ในสมัย<br />

พระเจ้ากรุงธนบุรีนี้ได้ทำให้พื้นที่บริเวณเมือง<br />

บางกอกเดิมเจริญเติบโตขึ้นเป็นอย่างมากในฐานะ<br />

ศูนย์กลางราชอาณาจักรสยามแห่งใหม่<br />

กรุงธนบุรี มีลักษณะของเมืองเป็น “เมือง<br />

อกแตก” เพราะมีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่านกลางเมือง<br />

ลักษณะเช่นนี้เป็นลักษณะเมืองแบบโบราณหลายๆ<br />

เมือง อาทิ เมืองพิษณุโลก เมืองเวียงจันในลาว เมือง<br />

นครชัยศรี เมืองสุพรรณบุรี ฯลฯ<br />

เมืองฝั่งตะวันตกมีคลองบ้านขมิ้นเป็นคูพระนคร<br />

ส่วนฝั่งตะวันออกมีคลองคูเมืองเดิมเป็นคูพระนคร<br />

กำแพงเมืองธนบุรีทำขึ้นด้วยไม้ทองหลาง ต่อมาจึง<br />

ได้เปลี่ยนมาเป็นกำแพงอิฐ<br />

พระเจ้ากรุงธนบุรียังโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง<br />

พระราชวังกรุงธนบุรีขึ้นที่ริมแม่น้ำเจ้ าพระยาตรงปาก<br />

คลองบางกอกใหญ่ (กรมอู่ทหารเรือ ณ ปัจจุบัน) อัน<br />

เป็นที่ตั้งเดิมของจวนเจ้าเมืองธนบุรีสมัยอยุธยา โดย<br />

มีวัด ๒ วัดขนาบอยู่คือ วัดโมลีโลกยาราม (วัดท้าย<br />

ตลาด) และวัดอรุณราชวราราม (วัดแจ้ง) ส่วนสิ่ง<br />

ก่อสร้างในพระราชวังกรุงธนบุรีสมัยพระเจ้าตากสิน<br />

ที่ยังหลงเหลืออยู่ ณ ปัจจุบันคือ “ท้องพระโรง” ที่ใช้<br />

สำหรับออกว่าราชการ และ “พระตำหนักเก๋งคู่”<br />

พ.ศ. ๒๓๒๒ พระเจ้ากรุงธนบุรีโปรดเกล้าฯ ให้<br />

เจ้าพระยาจักรียกทัพไปตีเมืองเวียงจัน และให้<br />

อัญเชิญ“พระแก้วมรกต” จากเมืองเวียงจันมา<br />

ประดิษฐานไว้ที่วัดอรุณราชวราราม ซึ่งต่อมาได้กลาย<br />

เป็นพระพุทธรูปที่สำคัญที่สุดของกรุงเทพฯ<br />

สถาปัตยกรรมอีกชิ้นที่ทิ้งร่องรอยอดีตในช่วง<br />

เวลานี้เอาไว้ไม่มากก็น้อยคือ “หอไตรวัดระฆัง” ซึ่ง<br />

แต่เดิมคือเรือนพักอาศัยของเจ้าพระยาจักรี ต่อมา<br />

18<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


wall was simply made of logs of timber. Although<br />

the city of Thonburi Sri Mahasamutr spanned<br />

two sides of the River, the western bank was more<br />

densely populated.<br />

As Thonburi Sri Mahasamutr grew more<br />

important politically and economically, a more<br />

modern fortress was built. The idea of building<br />

a fortress had been around since the reign of<br />

King Prasat Thong (1629-1656). However, the<br />

construction was only started during the reign<br />

of King Narai (1656 – 1688) when Ayutthaya<br />

started diplomatic relations with the Royal court<br />

of France.<br />

The Kingdom of Ayutthaya employed<br />

a French naval commander called Chevalier de<br />

Forbin to oversee the construction of <strong>Bangkok</strong>,<br />

under the administration of the Greek<br />

Counsellor, Constantine Phaulkon.<br />

The Thonburi forts were impressive in size,<br />

and built following precedents in Europe.<br />

The forts were located on either side of the Chao<br />

Phraya River and at the junction where <strong>Bangkok</strong><br />

Yai Canal joined the River. A naval chain would<br />

have been drawn across between the forts when<br />

a ship arrived, until the King of Ayutthaya gave<br />

an approval for the ship to sail pass.<br />

THONBURI KINGDOM: THE RIVER RUNS<br />

THROUGH THE CAPITAL<br />

在 接 下 来 的 历 史 中 , 曼 谷 吞 武 里 旧 城 的 角 色 也 越 来 越 重 要 , 开 始 修<br />

建 新 式 堡 垒 。 修 建 新 式 堡 垒 的 想 法 从 巴 沙 通 王 时 期 就 产 生 了 , 但 直 到 那<br />

莱 大 帝 时 期 ( 佛 历 2199-2231 年 ), 当 大 城 王 朝 与 法 国 朝 廷 有 了 往 来 智<br />

慧 才 开 始 真 正 修 建 。<br />

曼 谷 城 堡 垒 的 修 建 , 大 城 王 朝 雇 用 法 国 海 军 司 令 查 瓦 里 埃 · 德 · 福<br />

尔 宾 负 责 布 局 和 实 施 建 造 整 个 工 程 , 并 且 有 当 时 大 城 王 朝 的 希 腊 贵 族 康<br />

斯 坦 丁 · 普 尔 孔 进 行 监 督 , 还 有 另 一 个 被 众 人 所 熟 知 的 名 字 就 是 君 士 坦<br />

丁 华 尔 康 。<br />

曼 谷 吞 武 里 旧 城 的 堡 垒 规 模 非 常 庞 大 , 堡 垒 的 修 建 是 按 照 欧 洲 国 家<br />

的 款 式 修 建 。 通 过 修 建 在 新 湄 南 河 的 两 岸 。 在 曼 谷 莲 河 的 位 置 , 两 岸 的<br />

堡 垒 之 间 有 巨 大 的 闸 门 封 住 了 河 流 , 当 有 船 只 要 进 入 时 , 在 没 有 得 到 大<br />

城 王 朝 国 王 的 允 许 之 前 , 闸 门 都 是 保 持 关 闭 状 态 。<br />

吞 武 里 市 : 被 河 流 分 割 的 城 市<br />

佛 历 2310 年 , 在 大 城 王 朝 被 缅 甸 国 战 败 后 , 郑 信 大 帝 下 令 将 首 都<br />

从 大 城 府 迁 移 到 曼 谷 吞 武 里 旧 城 , 并 且 下 旨 在 吞 武 里 区 修 建 皇 宫 , 而 河<br />

对 岸 的 曼 谷 区 , 则 让 当 时 的 查 克 里 王 ( 拉 玛 一 世 ) 作 为 总 监 工 , 在 曼 谷<br />

区 开 凿 城 市 河 道 ( 现 在 是 旧 城 时 期 的 河 道 ), 并 且 修 建 城 墙 将 吞 武 里 市<br />

包 围 起 来 。 在 郑 信 大 帝 时 期 , 使 得 新 诞 生 的 暹 罗 王 国 经 济 得 到 不 断 的 发<br />

展 , 并 且 取 得 了 巨 大 成 就 。<br />

吞 武 里 市 的 特 点 就 是 一 座 被 河 流 分 割 的 城 市 , 因 为 湄 南 河 流 经 城 市<br />

中 心 , 很 多 古 城 都 具 有 这 样 的 特 点 , 例 如 : 彭 世 洛 府 、 老 挝 的 万 象 、 佛<br />

统 府 的 柴 斯 市 、 素 攀 市 等 等 。<br />

在 城 市 的 西 边 , 沿 河 建 造 的 居 民 区 成 为 护 城 河 , 而 东 边 则 是 原 来 就<br />

有 的 护 城 河 。 吞 武 里 市 的 城 墙 是 用 刺 桐 木 建 造 的 , 后 来 慢 慢 换 成 了 砖 墙 。<br />

After Ayutthaya was devastated by the<br />

Burmese (the Konbaung Dynasty) in 1767, the<br />

King of Thonburi (King Taksin) moved the<br />

capital city of Siam from Ayutthaya to Thonburi<br />

Sri Mahasamutr. The King’s palace was<br />

constructed in Thonburi, the western bank of<br />

Chao Phraya River; while Chaophraya Chakri<br />

(later King Rama I of the Rattanakosin Dynasty)<br />

oversaw the construction of canals and city walls<br />

of Phra Nakhon, the eastern bank of Chao<br />

Phraya. During the reign of King Taksin or the<br />

King of Thonburi, <strong>Bangkok</strong> grew significantly as<br />

the center of the new Royal Kingdom.<br />

Spanning both sides of the Chao Phraya<br />

River, Thonburi Kingdom was geographically<br />

divided into two banks spanning the Chao<br />

Phraya River – a character which the Kingdom<br />

shared with many ancient cities such as<br />

Phitsanulok, Vientiane in Laos, Nakhon Chai Si,<br />

and Suphan Buri.<br />

Ban Khamin Canal, on the western bank of<br />

the River, served as the moat of the western bank<br />

of the city; while Khu Mueang Doem Canal served<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

19


เมื่อพระองค์ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์รัชกาลที่ ๑<br />

ของกรุงเทพฯ พระองค์ได้ทรงยกเรือนหลังนี้ให้เป็น<br />

หอไตรของวัดระฆัง<br />

สถาปนากรุงเทพฯ ซ้อนกรุงธนบุรี<br />

หลังจากที่รัชกาลที่ ๑ ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระ<br />

มหากษัตริย์พระองค์แรกในราชวงศ์จักรี พระองค์ทรง<br />

โปรดเกล้าฯ ให้ย้ายศูนย์กลางพระนครข้ามจากฝั่ง<br />

ธนบุรีมาอยู่บนพื้นที่ฝั่งพระนคร ในการนี้ทรงโปรด<br />

เกล้าฯ ให้ขยายพื้นที่เมืองฝั่งพระนครออกไปทางทิศ<br />

ตะวันออก โดยการขุดคลองคูพระนครขึ้นใหม่ โดย<br />

ทำการขุดคลองแยกจากแม่น้ำเจ้าพระยาตรงบาง<br />

ลำพูวกมาออกแม่น ้ำเจ้าพระยาอีกด้านตรงวัด<br />

บพิตรพิมุข ปัจจุบันรู้จักในชื่อว่า “คลองโอ่งอ่าง<br />

บางลำภู” หรือ “คลองรอบกรุง” นอกจากนี้ยังโปรด<br />

เกล้าฯ ให้ทำการขุดคลองหลอด ๒ สายเพื่อเชื่อม<br />

ระหว่างคลองคูเมืองเดิมกับคลองรอบกรุง<br />

พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างกำแพงพระนคร<br />

พร้อมป้อม ๑๔ ป้อมขึ้นล้อมเมือง โดยปัจจุบันหลง<br />

เหลือเพียง ๒ ป้อม ได้แก่ ป้อมมหากาฬ และ ป้อม<br />

พระสุเมรุ<br />

ต่อมามีพระบรมราชโองการสั่งสร้างพระ<br />

มหานครและพระบรมมหาราชวังขึ้นใหม่บริเวณริม<br />

แม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันออกตรงข้ามพระราชวัง<br />

กรุงธนบุรี ซึ่งแต่เดิมที่บริเวณนี้เป็นชุมชนชาวจีน<br />

เรียกว่า “บางจีน” โดยรัชกาลที่ ๑ โปรดเกล้าฯ ให้<br />

ย้ายชุมชนชาวจีนนี้ไปอยู่ที่ใหม่นอกกำแพงเมืองที่<br />

เป็นย่านที่เรียกว่า “ย่านสำเพ็ง” ในปัจจุบัน<br />

อย่างไรก็ตาม ความเป็นเมืองกรุงเทพฯ สมัย<br />

รัชกาลที่ ๑ นี้ยังถือว่ามีอาณาบริเวณครอบคลุมทั้ง<br />

๒ ฟากฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา มิได้เป็นการย้ายจากฝั่ง<br />

ธนบุรีมาฝั่งพระนครทั้งหมดแต่อย่างใด ฝั่งธนบุรียัง<br />

คงมีวังเจ้านายอยู่ตลอดมา ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่า<br />

กรุงเทพฯถูกสถาปนาขึ้นซ้อนทับลงบนกรุงธนบุรี<br />

เพียงแต่ย้ายศูนย์กลางทางอำนาจ (พระบรมมหาราช<br />

วัง) มาฝั่งพระนครเท่านั้น<br />

นโยบายสำคัญที่สุดในการสร้างกรุงเทพฯ สมัย<br />

20<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

รัชกาลที่ ๑ (รวมถึงสมัยต้นรัตนโกสินทร์ทั้งหมด) คือ<br />

“การรื้อฟื้นอยุธยาให้ปรากฏขึ้นใหม่ในกรุงเทพฯ” ดัง<br />

จะเห็นได้จากการสร้างเมืองที่พยายามสืบทอดคติ<br />

ตลอดจนหยิบยืมใช้ชื่อต่างๆ ล้อไปกับชื่อต่างๆ ของ<br />

สมัยอยุธยา อาทิ การสร้างวัดพระแก้วขึ้นเป็นวัด<br />

ภายในพระบรมมหาราชวัง เหมือนที่อยุธยามีวัดพระ<br />

ศรีสรรเพชญ์เป็นวัดภายในพระราชวัง การขุดคลอง<br />

มหานาคบริเวณวัดสระเกศล้อไปกับชื่อคลอง<br />

มหานาคที่อยุธยา การสร้างเสาชิงช้าและโบสถ์<br />

พราหมณ์ การสร้างทุ่งพระเมรุ การอัญเชิญพระศรี<br />

ศากยมุนี พระพุทธรูปขนาดใหญ่จากสุโขทัยมา<br />

ประดิษฐานกลางพระนคร (บริเวณวัดสุทัศน์) เหมือน<br />

กับพระมงคลบพิตรที่อยุธยา ฯลฯ<br />

หัวใจสำคัญของราชธานีแห่งใหม่คือ “พระบรม<br />

มหาราชวัง” ซึ่งทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางแห่งความ<br />

ศักดิ์สิทธิ์และพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ แต่<br />

มิใช่เพียงแค่นั้น นอกจากสร้างพระบรมมหาราชวัง<br />

แล้วยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระอารามขึ้น<br />

พระราชทานนามว่า “วัดพระศรีรัตนศาสดาราม” (วัด<br />

พระแก้ว) ไว้ภายในอาณาเขตพระบรมมหาราชวัง<br />

เพื่อให้เป็นที่ประดิษฐาน “พระพุทธมหามณีรัตน<br />

ปฏิมากร” (พระแก้วมรกต) ซึ่งพระองค์ได้อัญเชิญมา<br />

ตั้งแต่เมื่อครั้งสมัยกรุงธนบุรี<br />

นอกจากนี้ในรัชสมัยของพระองค์ พระองค์ยัง<br />

โปรดเกล้าฯ ให้สร้างและปฏิสังขรณ์วัดขึ้นอีกหลาย<br />

แห่ง อาทิ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์)<br />

วัดมหาธาตุ วัดสุทัศน์เทพวราราม วัดสระเกศ วัด<br />

ระฆังโฆสิตาราม วัดราชบูรณะ เป็นต้น<br />

ภูมิสถานต้นรัตนโกสินทร์<br />

ผังเมืองกรุงเทพฯ ยุคจารีตถูกออกแบบขึ้นบน<br />

โลกทัศน์ทางศาสนาแบบ “ฮินดู-พุทธ” กรุงเทพฯ คือ<br />

เมืองศักดิ์สิทธิ์ที่จำลองโลกและจักรวาลทางศาสนา<br />

ให้ปรากฏ ศูนย์กลางเมืองคือพระราชวังและศาสน<br />

สถานต่างๆ โดยจะถูกรายล้อมไปด้วยวังของเจ้านาย<br />

และข้าราชการที่ถูกออกแบบจัดวางในตำแหน่งที่ลด<br />

หลั่นกันไปตามสถานะและอำนาจ ถัดออกไปชั้นนอก<br />

คือย่านชุมชนของคนทั่วไป


as the moat for the eastern side of the city.<br />

The fort of Thonburi was first built by timber, then<br />

later bricks.<br />

King Thonburi’s Palace was built by the river<br />

at the point where <strong>Bangkok</strong> Yai Canal joined<br />

Chao Phraya River (present day Navy Dockyard).<br />

The location was previously the resident of<br />

Thonburi’s Governor during the Ayutthaya<br />

Kingdom. Two Buddhist temples: Wat Thai Talat<br />

(Wat Molilokkayaram) and Wat Arun (the Temple<br />

of Dawn or Wat Chaeng), flanked the Royal<br />

Palace. Prominent architecture remained from<br />

the Thonburi Royal Palace are the Throne Hall<br />

and two Chinese Style Residences or “Phra<br />

Tamnak Geng Khu”.<br />

In 1779 under the reign of King Taksin,<br />

Chaophraya Chakri led the army to Vientiane<br />

where the Emerald Buddha was brought back<br />

to Wat Arun. The Buddha became the palladium<br />

of Siam.<br />

Another architecture which still leaves<br />

traces of the era is the Red Scripture Hall of Wat<br />

Rakhang. The Hall had been the residence of<br />

Chaophraya Chakri until he proclaimed King<br />

Rama I of the Chakri Dynasty of <strong>Bangkok</strong>. King<br />

Rama I granted the building to the temple as the<br />

Scripture Hall.<br />

郑 信 大 帝 还 曾 下 旨 , 在 湄 南 河 上 的 曼 谷 莲 河 流 域 沿 河 建 造 吞 武 里 王<br />

朝 皇 宫 , 也 就 是 现 在 的 海 军 部 , 大 城 王 朝 时 期 吞 武 里 旧 城 地 址 , 有 两 座<br />

庙 分 别 是 莫 哩 洛 亚 兰 寺 和 黎 明 寺 。 如 今 , 留 存 下 来 的 郑 信 大 帝 时 期 的 宫<br />

殿 群 就 是 议 政 厅 , 其 用 途 是 用 来 下 达 皇 家 指 令 。<br />

佛 历 2322 年 , 郑 信 大 帝 下 令 派 昭 披 耶 卻 克 里 前 往 攻 打 万 象 , 将 祖<br />

母 绿 玉 佛 带 回 供 奉 在 黎 明 寺 , 后 来 也 成 为 了 曼 谷 佛 教 文 化 中 最 重 要 的 佛 像 。<br />

另 一 座 留 下 这 个 时 期 历 史 痕 迹 的 建 筑 , 就 是 瓦 拉 康 僧 舍 , 过 去 是 昭<br />

披 耶 卻 克 里 、 也 就 是 后 来 登 基 为 拉 玛 一 世 的 住 宿 , 后 来 拉 玛 一 世 把 这 个<br />

地 方 赠 与 瓦 拉 康 寺 作 为 僧 侣 的 住 所 。<br />

曼 谷 城 的 建 筑 —— 吞 武 里 的 复 制 品<br />

在 昭 披 耶 卻 克 里 登 基 称 帝 , 建 立 了 却 克 里 王 朝 , 成 为 该 王 朝 的 第 一<br />

位 国 王 — 拉 玛 一 世 后 , 拉 玛 一 世 下 旨 将 都 城 的 中 心 从 吞 武 里 搬 迁 到 河 对<br />

岸 , 通 过 从 湄 南 河 的 开 凿 出 新 的 河 道 , 将 都 城 的 方 向 挪 到 东 方 。 除 此 之<br />

外 , 拉 玛 一 世 还 下 令 开 凿 两 条 新 的 河 道 以 便 把 新 旧 两 条 护 城 河 连 接 起 来 。<br />

拉 玛 一 世 下 旨 修 筑 新 的 城 墙 , 并 且 设 立 了 十 四 座 堡 垒 , 但 是 现 在 只 剩 下<br />

了 两 座 , 分 别 是 玛 哈 呷 堡 垒 和 帕 拉 苏 门 堡 垒 。<br />

接 下 来 的 时 期 里 , 还 在 湄 南 河 的 东 边 , 也 就 是 吞 武 里 王 朝 皇 宫 的 对<br />

岸 建 立 了 新 的 都 城 和 皇 宫 , 而 这 个 位 置 以 前 是 华 人 的 聚 居 地 , 被 称 为 “<br />

华 人 区 ”。 拉 玛 一 世 下 旨 将 华 人 聚 居 区 搬 迁 到 城 墙 外 , 也 就 是 现 在 众 人<br />

熟 知 的 三 聘 区 。<br />

无 论 如 何 , 拉 玛 一 世 时 期 的 曼 谷 城 包 括 了 湄 南 河 两 岸 的 区 域 , 尽 管<br />

将 都 城 全 部 从 吞 武 里 城 迁 移 到 了 河 对 岸 , 但 是 一 直 都 有 亲 王 居 住 和 进 行<br />

管 理 。 因 此 , 可 以 说 曼 谷 的 建 筑 物 是 按 照 吞 武 里 来 仿 照 建 造 的 , 仅 仅 是<br />

将 王 朝 政 治 权 利 中 心 进 行 了 转 移 而 已 。<br />

ESTABLISHING BANGKOK<br />

After King Rama I proclaimed King of the<br />

Chakri Dynasty, he moved the center of the<br />

Kingdom to Phra Nakhon, the eastern bank of<br />

Chao Phraya. The King laid out a plan to expand<br />

the city eastward by constructing a new canal<br />

which started at the Chao Phraya River around<br />

Banglamphu and curved down to Wat Bophit<br />

Phimuk where the canal re-joined the Chao<br />

Phraya River. The canal is nowadays known as<br />

Khlong Ong Ang - Banglumphu or Khlong Rob<br />

Krung. Two smaller canals – known as Khlong<br />

Lot connect Khlong Rob Krung and Khlong Khu<br />

Mueang Doem.<br />

City walls along with fourteen forts were also<br />

built; only two of which, Mahakan Fort and Phra<br />

Sumen Fort still remain today.<br />

The Grand Palace was built on the area on<br />

the eastern bank of the Chao Phraya River which<br />

had been homes to Chinese descendants called<br />

“Bang Jeen”. The Chinese Community was<br />

moved beyond the city walls – to an area<br />

presently known as “Sampeng”.<br />

Though the Palace was built on the eastern<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

21


22<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

23


ลักษณะทางกายภาพของกรุงเทพฯ ถูกสร้างขึ้น<br />

บนฐานของการเป็นเมืองน้ำที่เต็มไปด้วยเครือข่าย<br />

ของแม่น้ำคูคลองทั้งเก่าและใหม่ สมัยแรกสถาปนา<br />

สามารถแบ่งพื้นที่ “เมือง” ออกได้เป็น ๒ ส่วนคือ<br />

“พื้นที่ภายในเมือง” กับ “พื้นที่นอกเมือง”<br />

พื้นที่ในเมือง คือพื้นที่ภายในกำแพงพระนคร<br />

ตั้งแต่คลองโอ่งอ่าง - บางลำพู (คลองรอบกรุง) ทาง<br />

ทิศตะวันออกยาวไปจนถึงแม่น้ำเจ้าพระยาทางทิศ<br />

ตะวันตก ซึ่งพื้นที่ในเมืองนี้ ยังสามารถแบ่งได้เป็น<br />

๒ เขตคือ “เขตชั้นใน” และ “เขตชั้นนอก”<br />

เขตชั้นใน อยู่บริเวณภายในพื้นที่คลองคูเมือง<br />

เดิมสมัยกรุงธนบุรี ซึ่งเขตนี ้เป็นเหมือนหัวใจของ<br />

เมืองและราชอาณาจักร เป็นเขตที่ตั้งของพระบรม<br />

มหาราชวัง (วังหลวง) บวรราชวัง (วังหน้า) สนาม<br />

หลวง และวัดสำคัญๆ พื ้นที่นี้จะเป็นเขตที่มีความ<br />

หนาแน่นของการตั้งถิ่นฐานบ้านเรือนมาก<br />

เขตชั้นนอก อยู่ตั้งแต่คลองคูเมืองเดิมยาวออก<br />

ไปทางทิศตะวันออกจรดกำแพงเมืองและคลองโอ่ง<br />

อ่าง - บางลำพู ส่วนใหญ่เขตนี้จะเป็นที่รกร้าง และ<br />

เป็นเรือกสวนไร่นา มีประชากรอาศัยค่อนข้างบางตา<br />

อย่างไรก็ตาม พื้นที่ส่วนนี้บริเวณเสาชิงช้าในปัจจุบัน<br />

รัชกาลที่ ๑ ได้โปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญ “พระศรี<br />

ศากยมุนี” มาประดิษฐานไว้เพื่อเป็นศูนย์กลางเมือง<br />

อันศักดิ์สิทธิ์ของกรุงเทพฯ ซึ่งมีส่วนทำให้พื้นที่<br />

บริเวณโดยรอบนั้นมีความเจริญเติบโตกว่าพื้นที่ใน<br />

เขตชั้นนอกส่วนอื่นๆ อยู่พอสมควร<br />

พื้นที่นอกเมือง คือพื้นที่ที่อยู่นอกกำแพงเมือง<br />

ออกไปมีอยู่ ๒ ส่วน ได้แก่ ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยา (เขตเมืองกรุงธนบุรีเดิม) ส่วนนี้จะเป็นที่<br />

ตั้งบ้านเรือนเก่าแก่ของขุนนางและผู้ดีทั้งหลายมา<br />

ตั้งแต่ครั้งกรุงธนบุรี เป็นพื้นที่ที่มีก ารอยู่อาศัยหนาแน่น<br />

เต็มไปด้วยวัดวาอารามและย่านชุมชนหลากหลาย<br />

เชื้อชาติและศาสนา เรายังสามารถเห็นร่องรอย<br />

ความผสมผสานทางความเชื่อเหล่านี้ผ่านงาน<br />

สถาปัตยกรรมที่หลงเหลือในพื้นที่หลายแห่ง ทั้งวัด<br />

พุทธ โบสถ์คริสต์ และมัสยิดดั้งเดิม อีกส่วนคือพื้นที่<br />

24<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


ank of the River, the center of <strong>Bangkok</strong> during<br />

the reign of King Rama I was still regarded as<br />

spanning both banks of the River. There were<br />

palaces of royal family members in Thonburi as<br />

well as in Phra Nakhon. For this reason, it can be<br />

said that the new capital city, <strong>Bangkok</strong> was<br />

founded as the new capital city with an area<br />

covering the previous capital city of Thonburi.<br />

The mains strategy for building <strong>Bangkok</strong> in<br />

the early Rattanakosin era was to “replicate<br />

Ayutthaya Kingdom in <strong>Bangkok</strong>”. This can be<br />

seen in how many city planning-related tradition<br />

was followed, as well as how names of places in<br />

Ayutthaya were adopted. For example, Wat Phra<br />

Kaew was built as a temple within the walls of<br />

the Grand Palace in <strong>Bangkok</strong>; Wat Phra Sri<br />

Sanphet was located inside the walls of the<br />

Grand Palace in Ayutthaya. Maha Nak Canal<br />

near Wat Saket took on the name of its<br />

predecessor in Ayutthaya. Other examples<br />

include the construction of the Giant Swing and<br />

Devasathan (Brahmin Temple); Thung Phra<br />

Men or the royal cremation ground; and the<br />

installation of Phra Sri Sakyamuni, a large<br />

Buddha statue from Sukhothai in a central<br />

<strong>Bangkok</strong> temple (in Wat Suthat), following an<br />

example of Phra Mongkhon Bophit in Ayutthaya.<br />

At the heart of the new Kingdom was<br />

the “Grand Palace” which acted as the sacred<br />

center and represented the power of the King.<br />

In addition to this, Wat Phra Si Rattana<br />

Satsadaram or Wat Phra Kaew was constructed<br />

inside the Palace walls to house the Emerald<br />

Buddha or Phra Phuttha Maha Manee Rattana<br />

Patimakorn, which King Rama I had brought<br />

back to Siam since the Thonburi Kingdom.<br />

Throughout the reign of King Rama I,<br />

he ordered the construction and renovation of<br />

many temples such as Wat Phra Chetuphon<br />

Vimolmangklararm Rajwaramahaviharn<br />

or Wat Pho, Wat Mahathat, Wat Suthat<br />

Thepphawararam, Wat Saket, Wat Rakhang<br />

Kositaram, Wat Ratchaburana.<br />

从 拉 玛 一 世 直 到 拉 达 纳 哥 信 王 朝 初 期 , 在 建 造 曼 谷 时 最 重 要 的 政 策 就 是 “<br />

在 曼 谷 城 内 重 新 还 原 大 城 王 朝 时 期 的 风 貌 ”, 因 此 可 以 看 到 在 曼 谷 城 中<br />

尽 量 继 承 使 用 了 大 城 王 朝 时 期 的 各 种 名 称 , 例 如 : 仿 照 大 城 王 朝 皇 宫 内<br />

的 帕 喜 善 佩 寺 , 也 在 皇 宫 内 修 建 了 玉 佛 寺 ; 在 大 回 环 ( 婆 罗 门 秋 千 架 )<br />

附 近 开 凿 了 河 道 并 且 沿 用 了 大 城 王 朝 时 期 河 道 的 旧 城 ; 以 及 婆 罗 门 庙 和<br />

大 回 环 ( 婆 罗 门 秋 千 架 ) 的 建 造 ; 修 建 皇 家 田 广 场 ; 仿 照 大 成 王 朝 的 维<br />

罕 菩 孟 波 琵 寺 , 将 素 可 泰 府 的 释 迦 牟 尼 佛 像 迁 移 至 大 皇 宫 内 进 行 供 奉 (<br />

苏 泰 寺 内 ), 等 等 。<br />

新 首 都 重 要 的 心 脏 地 带 就 是 大 皇 宫 地 区 , 被 当 做 是 皇 室 权 力 和 神 圣<br />

象 征 的 中 心 , 但 新 首 都 的 功 能 不 仅 仅 如 此 , 除 了 修 建 新 的 大 皇 宫 , 还 颁<br />

布 指 令 在 皇 宫 内 建 造 修 道 院 , 皇 室 将 其 命 名 为 玉 佛 寺 , 为 了 用 来 供 奉 从<br />

吞 武 里 王 朝 时 期 就 带 到 泰 国 的 翡 翠 佛 ( 祖 母 绿 玉 佛 )。<br />

除 此 之 外 , 国 王 还 下 令 修 建 了 许 许 多 多 的 寺 庙 , 例 如 : 卧 佛 寺 、 玛<br />

哈 泰 寺 、 苏 泰 寺 、 金 山 寺 、 瓦 拉 康 寺 、 拉 嘉 布 拉 那 寺 等 等 。<br />

拉 达 纳 哥 信 王 朝 时 期 的 辉 煌 建 筑<br />

曼 谷 的 城 市 规 划 , 在 古 代 被 设 计 为 融 合 了 印 度 教 和 佛 教 相 结 合 的 特<br />

点 , 曼 谷 是 一 座 仿 照 佛 教 圣 地 而 呈 现 的 神 圣 之 城 , 城 市 的 中 心 是 大 皇 宫<br />

和 一 些 宗 教 圣 地 , 外 围 地 区 就 根 据 亲 王 的 地 位 和 政 治 权 利 层 层 分 布 , 等<br />

级 森 严 , 再 往 外 的 地 区 就 是 普 通 百 姓 的 居 民 住 宅 区 。<br />

THE ARCHITECTURAL LANDSCAPE OF EARLY<br />

RATTANAKOSIN<br />

The construction of traditional <strong>Bangkok</strong> was<br />

laid out following Hinduism and Buddhism<br />

principles. The city plan was modelled after the<br />

universe, with the Royal Palace and prominent<br />

temples in the center. They were surrounded by<br />

palaces of Royal family members and officials;<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

25


นอกกำแพงเมืองด้านทิศตะวันออก ส่วนใหญ่ยังเป็น<br />

พื้นที่รกร้าง มีการอยู่อาศัยน้อย เป็นเรือกสวนไร่นา<br />

มาก<br />

ตามคติแบบจารีต กรุงเทพฯ จะมีกษัตริย์เป็น<br />

ผู้ปกครองสูงสุด ๒ พระองค์ คือ “วังหลวง” (กษัตริย์<br />

องค์ที่ ๑) และ “วังหน้า” (กษัตริย์องค์ที่ ๒) การ<br />

ปกครองจะถูกแบ่งออกเป็น ๒ ส่วนเช่นกันคือ พื้นที่<br />

เมืองด้านทิศเหนือ (นับตั้งแต่วัดมหาธาตุขึ้นไป) จะ<br />

อยู่ภายใต้การปกครองของวังหน้า ส่วนพื้นที่ด้านใต้<br />

ลงมาจะอยู่ภายใต้อำนาจของวังหลวง<br />

การแบ่งแยกอำนาจปกครองดังกล่าวยังสะท้อน<br />

ให้เห็นร่องรอยอยู่ในงานสถาปัตยกรรมที่ปรากฏอยู่<br />

ในพื้นที่สองส่วนนี้ วัดชนะสงคราม วังหน้า<br />

(พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร) ป้อมพระสุเมรุ<br />

และวัดมหาธาตุ รูปแบบทางสถาปัตยกรรมเป็นรูป<br />

แบบเฉพาะตัวของสกุลช่างวังหน้า ส่วนวัดพระแก้ว<br />

วัดโพธิ์ พระบรมหาราชวัง จะมีรูปแบบที่แสดงถึง<br />

ฝีมือสกุลช่างแบบวังหลวงที่ต่างออกไป<br />

ความสำคัญของพื้นที่เมืองในเขตกำแพง<br />

พระนครถือว่าเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ห้ามมีการเผาศพ<br />

ของสามัญชนเด็ดขาดในพื้นที่นี้ ยกเว้นพระบรมศพ<br />

ของพระเจ้าแผ่นดินและเจ้านายชั้นสูง โดยหากมีคน<br />

ตายภายในกำแพงพระนครจะต้องรีบนำศพนั้นออก<br />

ไปทำพิธีนอกกำแพงเมืองโดยทันที และการนำศพ<br />

ออกไปนั้นจะต้องนำออกไปทาง “ประตูผี” ซึ่งอยู่ทาง<br />

ทิศตะวันออกของเมืองเท่านั้น<br />

นอกจากนี้ผังเมืองกรุงเทพฯ ยุคต้นยังมีลักษณะ<br />

เฉพาะที่สำคัญอีกประการคือ การกำหนดพื้นที่ตั้ง<br />

ถิ่นฐานของผู้คนตามกลุ่มชาติพันธุ์ เช่น ชุมชนชาว<br />

มอญ ชาวลาว ชาวญวน ชาวเขมร และ ชาวมุสลิม<br />

เป็นต้น และอีกรูปแบบคือการตั้งถิ ่นฐานตามอาชีพ<br />

หรือทักษะในการผลิตสิ่งของเครื่องใช้ เช่น ชุมชน<br />

บ้านบาตร ชุมชนบ้านดอกไม้ ชุมชนบ้านสาย เป็นต้น<br />

นอกจากนี้ยังมีการจัดโซนย่านพักอาศัยของชาวต่าง<br />

ชาติที่เข้ามาติดต่อราชการและค้าขายแยกเฉพาะเป็น<br />

อีกโซนหนึ่งต่างหาก โดยจะจัดให้อยู่ในพื้นที่ “ท้าย<br />

น้ำ” นอกกำแพงพระนครด้านทิศใต้ของพระบรม<br />

มหาราชวัง เช่น บริเวณย่านสำเพ็งและถนนเจริญกรุง<br />

ซึ่งลักษณะดังกล่าวก็เป็นอีกคติหนึ่งที่สืบเนื่องมา<br />

ตั้งแต่เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยา<br />

ลักษณะผังเมืองตลอดจนอำนาจในการปกครอง<br />

และคติความเชื่อทั้งหมดดังกล่าวจะเริ่มเปลี่ยนไป<br />

เมื่อถึงสมัยรัชกาลที่ ๔ ซึ่งพระองค์โปรดให้ขยาย<br />

เมืองออกไปทางตะวันออกเพิ่มขึ้น พร้อมทั้งเปิดรับ<br />

แนวคิดสมัยใหม่จากโลกตะวันตกมากขึ้น<br />

การค้าและโลกกว้างสมัยต้นรัตนโกสินทร์<br />

ความเจริญและความเป็นกรุงเทพฯ ที่แท้จริง<br />

มิได้ปรากฏให้เห็นชัดในช่วงรัชกาลที่ ๑ แต่อย่างใด<br />

เนื่องจากเป็นช่วงที่เพิ่งเริ่มสร้างเมือง อีกทั้งยังเป็น<br />

ยุคสมัยที่เต็มไปด้วยสงคราม<br />

แต่เมื่อย่างเข้าในสมัยรัชกาลที่ ๒ โดยเฉพาะ<br />

อย่างยิ่งในรัชกาลที่ ๓ ความเจริญและกรุงเทพฯ ได้<br />

ขยายตัวเพิ่มมากขึ ้น ความมั่งคั่งได้เกิดขึ้นอย่าง<br />

ชัดเจนผ่าน “การค้าสำเภา” ในสมัยรัชกาลที่ ๓ ส่ง<br />

ผลให้ยุคนี้เกิดการสร้างวัดวาอารามขึ้นอย่างใหญ่โต<br />

และมากมาย อาทิ วัดราชนัดดาราม วัดเทพธิดาราม<br />

วัดกัลยาณมิตร ฯลฯ รวมไปถึงเกิดการบูรณะ<br />

ปฏิสังขรณ์และสร้างเพิ่มเติมวัดต่างๆ ที่สร้างขึ้นมา<br />

แต่เมื่อครั้งรัชกาลที่ ๑ ให้ใหญ่โตเพิ่มมากขึ้นอีกด้วย<br />

อาทิ วัดสุทัศน์เทพวราราม วัดอรุณราชวราราม วัด<br />

สระเกศ วัดโพธิ์ วัดยานนาวา ฯลฯ ดังนั้น กรุงเทพฯ<br />

สมัยรัชกาลที่ ๓ จึงเป็นกรุงเทพฯ ที่สวยงาม ใหญ่<br />

โต และมั่งคั่งอย่างแท้จริงเทียบได้กับกรุงศรีอยุธยา<br />

รัชกาลที่ ๓ สนใจการค้าต่างประเทศมากเพราะ<br />

เป็นแหล่งรายได้สำคัญ โดยเฉพาะการค้าสำเภากับ<br />

จีน ผลของการค้าสำเภานอกจากจะทำให้เกิดความ<br />

มั่งคั่งและมั่งมีแก่ราชอาณาจักรแล้ว ยังนำมาซึ่งการ<br />

อพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานของชาวต่างชาติต่างๆ เพิ่ม<br />

ขึ้น อาทิ ชาวจีน อังกฤษ ฝรั่งเศส ฯลฯ<br />

ผลของการค้าสำเภาในยุคนี้ทำให้เกิดความ<br />

มั่งคั่งและมั่งมี ขุนางและชนชั้นสูงบางตระกูลกลาย<br />

เป็นเศรษฐี และได้มีการแบ่งทรัพย์สินส่วนเกินที่มี<br />

26<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


these buildings were positioned according to<br />

their ranks – from higher to lower social status.<br />

Beyond this were the houses and buildings<br />

belonging to the commoners.<br />

<strong>Bangkok</strong> was built on the networks of<br />

crisscrossing canals – both old and new. At its<br />

early stage as the capital city, the city could be<br />

divided into area within the city walls and the<br />

area beyond the city walls.<br />

The area within the city walls consisted of<br />

the area from Ong Ang – Banglumphu Canal to<br />

Chao Phraya River. Within this boundary, the city<br />

could be divided into the inner city and the<br />

outer city.<br />

The Inner City was the area within Khu<br />

Mueang Doem Canal from Thonburi Kingdom.<br />

This area served as the heart of the city and the<br />

Kingdom. It was where the Grand Palace and the<br />

Front Palace (Wang Na) as well as prominent<br />

temples were situated. This area had a high<br />

density of residential buildings.<br />

The Outer City was the area to the east,<br />

enclosed between Khlong Khu Mueang Doem<br />

and Ong Ang – Banglumphu Canal. The lands<br />

were either agricultural land or abandoned. The<br />

population density was low. Nevertheless, Phra<br />

Sri Sakyamuni was enshrined in the outer city<br />

area (near the Giant Swing). This, as a result,<br />

made the area more developed and more<br />

populated than other parts of the outer city.<br />

The area beyond the city walls consisted of<br />

two sections: the western bank of the Chao<br />

Phraya River (formerly the center of the Thonburi<br />

Kingdom), and the area eastward from the city<br />

walls. The former area consisted of houses of<br />

royal family members and noblemen since the<br />

Thonburi Kingdom. The area was densely<br />

populated with many temples and communities<br />

of varied ethnicities and religions. Traces of this<br />

characteristic can still be seen through the<br />

architecture of the area: from Buddhist temples,<br />

Christian churches to Mosques. The latter, on the<br />

contrary, were mostly agricultural land or<br />

abandoned.<br />

Traditional <strong>Bangkok</strong> was ruled by two Kings –<br />

the “Wang Luang” or Royal Palace (the first King),<br />

and “Wang Na” or Front Palace (the second King).<br />

The northern part of the city (from Wat Mahathat<br />

northwards), was ruled by Wang Na; while<br />

the southern part of the city was under the rule<br />

of the Royal Palace.<br />

曼 谷 城 市 容 貌 的 特 点 , 是 沿 着 湄 南 河 以 及 大 大 小 小 的 新 旧 河 道 网 络<br />

状 分 布 , 初 期 的 建 筑 物 可 以 将 城 市 地 图 划 分 为 两 个 部 分 , 就 是 “ 城 内 ”<br />

和 “ 城 外 ,<br />

城 内 指 的 是 在 护 城 墙 内 的 地 区 , 也 就 是 从 窝 昂 至 邦 瑯 普 河 道 的 地 区<br />

( 绕 城 河 道 内 的 地 区 ), 最 东 边 延 伸 湄 南 河 的 东 部 , 因 此 这 座 城 市 还 可<br />

以 分 为 “ 城 市 里 层 和 “ 城 市 外 层 ” 两 个 部 分 。<br />

城 市 里 层 就 是 在 护 城 河 中 心 , 原 来 吞 武 里 王 朝 时 期 的 地 区 , 因 此 这<br />

个 地 区 是 城 市 和 王 朝 的 中 中 心 , 是 聚 集 了 皇 宫 、 亲 王 宫 、 皇 家 田 广 场 和<br />

重 要 寺 庙 的 地 方 , 因 此 这 片 土 地 的 人 口 及 房 屋 的 密 集 度 非 常 高 。<br />

城 市 外 层 就 是 在 老 护 城 河 一 直 到 护 城 墙 和 窝 昂 至 邦 瑯 普 河 道 的 东<br />

面 , 这 个 地 方 有 大 量 的 肥 田 也 有 很 多 荒 地 , 这 里 的 居 民 也 比 较 少 。 无 论<br />

如 何 , 这 片 区 域 , 也 就 是 现 在 的 大 回 环 ( 婆 罗 门 秋 千 架 ), 拉 玛 一 世 曾<br />

下 令 , 恭 请 释 迦 牟 尼 佛 来 进 行 供 奉 , 为 了 使 这 个 地 方 成 为 曼 谷 的 佛 教 圣<br />

地 中 心 , 因 此 也 使 得 这 边 区 域 比 其 他 的 城 市 外 层 地 区 更 加 繁 荣 。<br />

根 据 传 统 的 观 念 , 曼 谷 最 多 将 有 两 位 国 王 作 为 国 家 的 主 人 , 第 一 位<br />

是 国 王 , 第 二 位 是 前 宫 , 国 王 的 权 力 也 会 被 分 成 两 个 部 分 , 从 玛 哈 泰 寺<br />

开 始 的 北 部 由 前 宫 进 行 管 理 , 南 部 往 下 的 则 由 国 王 管 理 。<br />

以 上 提 到 权 力 的 划 分 , 也 可 以 在 被 划 分 开 来 的 两 个 地 区 的 建 筑 上 寻<br />

到 蛛 丝 马 迹 , 帕 吞 宛 那 兰 寺 、 曼 谷 国 立 博 物 馆 、 帕 拉 苏 门 堡 垒 以 及 玛 哈<br />

泰 寺 , 都 具 有 前 宫 国 王 专 属 工 匠 的 建 筑 风 格 特 征 。 而 玉 佛 寺 、 卧 佛 寺 、<br />

大 皇 宫 则 体 现 了 国 王 工 匠 特 有 的 建 筑 特 点 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

27


มหาศาลนี้มาก่อสร้างวัดวาอารามประดับพระนครขึ้น<br />

มากมาย ไม่เฉพาะแต่ในบริเวณในเมือง แต่ยังขยาย<br />

ไปยังนอกเมือง และหัวเมืองด้วย อาทิ วัดเฉลิมพระ<br />

เกียรติ นนทบุรี วัดราชโอรส วัดหนัง วัดนางนอง<br />

ในกลุ่มแถบคลองด่าน วัดโปรดเกษเชฐาราม<br />

สมุทรปราการ เป็นต้น<br />

นอกจากนี้ผลของการค้านานาชาติดังกล่าว ยัง<br />

ทำให้สยามเปิดโลกทัศน์ใหม่ๆ และเกิดการเรียนรู้<br />

ศิลปวัฒนธรรมแปลกๆ มากขึ้นจนนำมาสู่การ<br />

ประยุกต์ผสมผสานเข้ากับศิลปวัฒนธรรมประเพณี<br />

เดิมก่อเกิดเป็นศิลปะใหม่ขึ้นในรัชสมัย รู้จักโดยทั่วไป<br />

ในนาม “ศิลปะแบบพระราชนิยม”<br />

ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมแบบพระราชนิยม<br />

(ไทยผสมจีน)<br />

รูปแบบศิลปะและสถาปัตยกรรมแบบพระราช<br />

นิยมในสมัยรัชกาลที่ ๓ คือรูปแบบศิลปะที่เกิดจาก<br />

การผสมผสานรูปแบบจารีตประเพณีเข้ากับรสนิยม<br />

ใหม่ทางศิลปะที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากศิลปะ<br />

วัฒนธรรมจีน<br />

28<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

รัชกาลที่ ๓ สนพระทัยและมีความรู้ทางศิลปกรรม<br />

จีนเป็นอย่างดี ประกอบกับในสมัยของพระองค์ก็มี<br />

ชาวจีนอพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในกรุงเทพฯ เป็นจำนวน<br />

มากดังได้กล่าวมาแล้ว ช่างชาวจีนนั้นถนัดงานปูน<br />

ขณะที่ช่างไทยถนัดงานไม้ ดังนั้นเมื่อช่างชาวจีนมี<br />

โอกาสได้ทำงานศิลปะจึงนำเอารูปแบบศิลปะของ<br />

บ้านเมืองตนมาเผยแพร่ด้วย ศิลปะไทยที่เดิมเคยใช้<br />

ไม้ในการก่อสร้างจึงเปลี่ยนมาก่ออิฐฉาบปูน ปั้น<br />

ลวดลายปูน มีการประดับตกแต่งด้วยกระเบื้อง ถ้วย<br />

ชาม และประดิษฐ์ลวดลายมงคลแบบจีน<br />

จากงานสถาปัตยกรรมที่ต้องมีช่อฟ้า ใบระกา<br />

หางหงส์ ก็ปรับมาเป็นงานปูนแทนซึ่งมีความคงทน<br />

กว่า หน้าบันโบสถ์จากที่เคยเป็นงานแกะไม้ ปิดทอง<br />

ประดับกระจก ก็เปลี่ยนมาเป็นหน้าบันก่ออิฐถือปูน<br />

ประดับด้วยกระเบื้องถ้วยชามจากจีน เป็นต้น<br />

ลวดลายประกอบต่างๆ ก็นิยมโน้มเอียงมาทางศิลปะ<br />

แบบจีนมากขึ้น เช่น มีการใช้ลายมังกร ลายหงส์ ดอก<br />

โบตั๋น เครื่องตั้งเครื่องโต๊ะแบบจีน มาประกอบ<br />

ตัวอย่างสถาปัตยกรรมที่เป็นแบบพระราชนิยมคือ<br />

วัดราชโอรส วัดเทพธิดาราม วัดโปรดเกษเชษฐาราม<br />

วัดนางนอง เป็นต้น


This was reflected in the architecture and its<br />

geographical locations. Wat Chana Songkram,<br />

the Front Palace (present day National Museum<br />

<strong>Bangkok</strong>), Phra Sumen Fort and Wat Mahathat<br />

pose a distinct style of craftsmanship belonging<br />

to the Front Palace. On the other hand, Wat Phra<br />

Kaew, Wat Pho and the Grand Palace pose<br />

a unique style belonging to the Royal Palace<br />

craftsmen.<br />

The area within the city walls was considered<br />

sacred that no cremation of ordinary person was<br />

allowed to take place within the city walls. Only<br />

royal cremation took place within the city walls.<br />

Dead bodies were taken out of the city walls via<br />

Pratoo Phee (literally Ghost Gate) to the east of<br />

the city.<br />

Another unique feature of the urban planning<br />

of early <strong>Bangkok</strong> was the zoning. One of the<br />

zoning systems was the zoning of ethnic groups<br />

such as Mons, Laos, Yuans, Khmers, and Muslims.<br />

Another zoning system was laid out according<br />

to the skill and profession. The examples are Ban<br />

Bat (monk bowls), Ban Dok Mai (fireworks), and<br />

Ban Sai (strip of cloth worn around the waist of<br />

Buddhist monks). Apart from this, there was also<br />

a zoning of foreigners who came to the city on<br />

a governmental affairs or commercial business.<br />

These foreigners lived in Charoen Krung or<br />

Sampeng – the land ‘downstream’ beyond the<br />

city walls and to the south of the Grand Palace.<br />

This practice had been inherited from the<br />

Ayutthaya Kingdom.<br />

The practice of urban planning, the<br />

governmental system as well as religious beliefs<br />

would be changed in the reign of King Mongkut<br />

(Rama IV) when the city started to adopt more<br />

western ideas and the city expanded eastward.<br />

在 护 城 墙 内 区 域 的 重 要 性 可 以 称 之 为 是 具 有 神 圣 性 的 , 除 了 国 王 和<br />

皇 室 贵 族 , 任 何 人 禁 止 在 这 片 区 域 内 火 化 尸 体 。 如 果 有 在 护 城 墙 内 去 世 ,<br />

需 要 立 即 送 到 城 外 举 行 葬 礼 仪 式 。 而 且 将 尸 体 运 输 到 城 外 , 必 须 要 通 过<br />

城 东 方 位 的 “ 鬼 门 ”。<br />

除 此 之 外 , 曼 谷 城 在 建 立 初 期 , 还 有 一 个 特 点 就 是 根 据 民 族 来 划 分<br />

百 姓 的 居 住 地 区 , 比 如 : 孟 族 人 、 老 挝 人 、 京 族 、 高 棉 族 人 以 及 穆 斯 林<br />

人 聚 居 区 等 等 。 还 有 另 外 一 个 特 点 就 是 根 据 职 业 和 生 产 技 能 来 划 分 , 例<br />

如 : 生 产 钵 的 居 民 区 、 贩 卖 鲜 花 的 居 民 区 、 丝 绸 商 贩 的 居 民 区 等 等 。 除<br />

此 之 外 , 还 根 据 外 国 移 民 来 访 的 政 治 或 者 贸 易 的 目 的 , 还 另 外 进 行 了 划<br />

分 。 通 过 将 这 些 外 来 移 民 安 置 在 下 游 地 区 , 大 皇 宫 护 城 墙 外 的 南 方 , 比<br />

如 : 三 聘 区 和 石 龙 军 路 , 都 是 继 承 了 大 城 王 朝 时 期 流 传 下 来 的 传 统 的 观<br />

念 。<br />

以 上 所 述 的 传 统 观 念 和 当 局 统 治 者 对 城 市 规 划 的 影 响 , 在 拉 玛 四 世<br />

时 发 生 了 改 变 。 拉 玛 四 世 开 始 向 东 边 方 位 扩 建 城 市 , 同 时 也 更 加 地 开 放<br />

接 受 西 方 的 新 文 化 到 国 内 。<br />

拉 达 纳 哥 信 王 朝 初 期 的 社 会 和 商 业<br />

在 拉 玛 一 世 执 政 期 间 , 我 们 可 以 明 显 的 看 到 了 曼 谷 城 市 的 发 展 和 经<br />

济 的 繁 荣 , 但 是 始 终 是 在 刚 刚 开 始 建 城 的 初 始 阶 段 , 同 时 还 发 生 了 多 起<br />

战 争 。<br />

但 是 在 接 下 来 的 发 展 中 , 慢 慢 过 渡 到 拉 玛 二 世 、 尤 其 是 在 拉 玛 三 世<br />

时 期 , 曼 谷 城 在 不 断 的 扩 建 的 同 时 , 经 济 也 得 到 了 飞 快 的 发 展 。 在 拉 玛<br />

三 世 执 政 期 间 , 通 过 与 跨 洋 远 渡 而 来 的 中 国 商 人 进 行 贸 易 , 开 始 了 财 富<br />

的 积 累 。 因 此 有 财 力 修 建 了 许 多 规 模 庞 大 的 寺 庙 , 例 如 : 叻 查 纳 达 兰 金<br />

殿 寺 、 藏 经 楼 、 甘 拉 耶 纳 密 佛 寺 等 等 。 在 修 建 了 许 多 新 寺 庙 的 同 时 还 修<br />

复 了 大 量 从 拉 玛 一 世 时 期 就 修 建 留 存 下 来 的 古 寺 , 例 如 : 苏 泰 寺 、 黎 明<br />

寺 、 金 山 寺 、 卧 佛 寺 以 及 龙 船 寺 等 等 。 因 此 , 在 拉 玛 三 世 执 政 时 期 , 是<br />

曼 谷 最 漂 亮 、 辉 煌 、 富 裕 和 壮 大 的 时 期 。<br />

TRADE AND THE WORLD BEYOND SIAM IN<br />

EARLY RATTANAKOSIN<br />

<strong>Bangkok</strong> was yet a prosperous city in<br />

the reign of King Rama I as the construction of<br />

the city had just been started and the Kingdom<br />

still had to go through a number of wars.<br />

In the reign of King Rama II, and more so in<br />

the reign of King Rama III, <strong>Bangkok</strong> became more<br />

and more prosperous as a result of foreign trade<br />

in the reign of King Rama III. Following the<br />

flourishing overseas trade, many new and<br />

prominent temples, such as Wat Ratchanatdaram,<br />

Wat Thepthidaram and Wat Kalayanamit<br />

were built. In addition to this, many temples that<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

29


ความนิยมในศิลปะจีนนั้นมีมาแต่ครั้งรัชกาลที่ ๒<br />

แล้วเรียกกันว่า กระบวนจีน หรือตามแบบอย่างจีน<br />

สมัยนั้นได้เกิดการสร้าง “สวนขวา” ขึ้นในพระบรม<br />

มหาราชวังโดยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า<br />

นภาลัย (รัชกาลที่ ๒) โปรดเกล้าฯ ให้พระราชโอรส<br />

(คือรัชกาลที่ ๓) ขณะยังทรงเป็น กรมหมื ่นเจษฎา<br />

บดินทร์ เป็นแม่กองคุมการก่อสร้างถวายการสร้าง<br />

สวนขวาแบบสวนจีน<br />

ครั้งนั้นได้นำเอาเครื่องประดับตกแต่งสวนเช่น<br />

หิน ตุ๊กตา เก๋ง ฯลฯ มาจากเมืองจีนทั้งสิ้นจึงถือเป็น<br />

ครั้งแรกที่มีการนำเอาตุ๊กตาศิลาจีนเข้ามาประดับ<br />

ตกแต่งสถานที่ภายในพระบรมมหาราชวังให้เห็นว่า<br />

เป็นของแปลก<br />

พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม landmark กรุงเทพฯ<br />

สมัยรัชกาลที่ ๒ พระองค์มีพระราชปรารภว่า<br />

กรุงเทพฯ ตั้งแต่สถาปนามานั้นยังไม่ปรากฏมี<br />

พระธาตุขนาดใหญ่ขึ้นเป็นหลักเป็นแกนของเมือง<br />

เหมือนกับที่กรุงศรีอยุธยามีพระธาตุใหญ่ที่วัด<br />

มหาธาตุ ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงโปรดเกล้าฯ ให้ทำการ<br />

ปฏิสังขรณ์วัดแจ้ง ฝั่งธนบุรีขึ้นใหม่ พร้อมกันนี้ได้<br />

ทำการสถาปนาพระธาตุ (พระปรางค์วัดอรุณ<br />

ราชวราราม) ขึ้นเป็นหลักเป็นแกนของกรุงเทพฯ แต่<br />

เมื่อดำเนินการไปได้เพียงทำฐานรากขององค์พระ<br />

ปรางค์เท่านั้น ก็เป็นอันสิ้นรัชกาลเสียก่อน<br />

30<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


had been built in the reign of King Rama I were<br />

renovated and enlarged. Wat Suthat Thepphawararam,<br />

Wat Arun, Wat Saket, Wat Pho and Wat<br />

Yannawa are among these. <strong>Bangkok</strong>, in the reign<br />

of King Rama III, became a prosperous and grand<br />

capital city just as Ayutthaya once was.<br />

Overseas trade flourished during the reign<br />

of King Rama III. It became the major source of<br />

income for Siam. Maritime trade with China, in<br />

particular, flourished during this time. In addition<br />

to financial income and social stability, this<br />

brought many foreigners, such as Chinese,<br />

English and French, to settle in <strong>Bangkok</strong><br />

As a result of the flourishing maritime trade,<br />

many noblemen became wealthy. Some of their<br />

fortune was devoted to building temples, not only<br />

within the city walls, but also beyond the city<br />

walls as well as other towns outside of <strong>Bangkok</strong>.<br />

For example, Wat Chalerm Phra Kiat in<br />

Nonthaburi, Wat Ratchaorotsaram, Wat Nang,<br />

Wat Nangnong in Khlong Dan, and Wat Prodket<br />

Chettharam in Samut Prakan Province.<br />

In addition to the extensive building of<br />

temples as a result of flourishing trade, Siam in<br />

the reign of King Rama III adopted foreign art<br />

and culture. Chinese art, in particular, was<br />

adopted and mixed with the pre-existing Thai<br />

art and culture. This new artistic style, originated<br />

in the reign of King Rama III, became commonly<br />

known as ‘Phra Ratcha Niyom Art’ – literally<br />

‘Royal favored Art’. The term is specific to the<br />

style ‘Royal favored’ in the reign of King Rama III.<br />

在 拉 玛 三 世 时 期 , 非 常 重 视 与 外 国 的 联 系 , 因 为 这 是 一 项 非 常 重 要<br />

的 收 入 , 尤 其 是 与 远 渡 跨 洋 而 来 的 中 国 商 人 的 贸 易 , 其 带 来 的 影 响 , 除<br />

了 使 得 当 时 的 社 会 经 济 迅 速 发 展 , 国 家 积 攒 了 大 量 的 财 富 以 外 , 还 带 来<br />

了 大 批 的 外 国 移 民 , 例 如 华 裔 、 英 国 人 、 法 国 人 等 等 。<br />

在 这 个 时 期 与 中 国 商 人 的 海 上 贸 易 , 使 得 当 时 的 社 会 稳 定 而 且 富<br />

足 , 一 些 贵 族 的 上 流 阶 层 积 累 了 大 量 财 富 , 成 为 了 当 时 最 富 裕 的 阶 级 。<br />

这 些 阶 级 也 将 多 余 的 钱 财 用 来 修 建 了 大 量 寺 庙 , 在 城 市 建 设 方 面 起 到 了<br />

装 饰 的 作 用 , 而 且 不 仅 仅 是 局 限 于 城 内 , 还 延 伸 到 了 城 外 城 郊 地 区 , 例<br />

如 : 暖 武 里 的 崇 圣 寺 、 王 子 庙 、 喃 寺 、 那 哝 寺 , 以 及 河 道 下 游 北 榄 府 的<br />

波 罗 克 珍 特 兰 寺 等 等 。<br />

除 了 以 上 提 到 的 国 际 贸 易 之 外 , 还 让 暹 罗 向 世 界 打 开 了 国 门 , 更 多<br />

地 学 习 了 国 外 新 奇 的 艺 术 和 文 化 , 甚 至 这 些 文 化 还 与 传 统 文 化 融 会 贯 通<br />

在 一 起 , 成 为 了 那 个 时 期 的 新 艺 术 文 化 , 被 世 人 称 之 为 “ 具 有 皇 室 象 征<br />

意 义 的 文 化 ”。<br />

具 有 皇 室 象 征 意 义 的 中 泰 结 合 的 文 化 与 建 筑<br />

拉 玛 三 世 时 期 具 有 皇 室 象 征 意 义 的 文 化 与 建 筑 的 风 格 是 , 在 传 统<br />

艺 术 欣 赏 品 味 的 基 础 上 , 加 入 从 中 国 艺 术 文 化 中 得 到 的 灵 感 。<br />

拉 玛 三 世 对 中 国 艺 术 文 化 非 常 感 兴 趣 也 很 了 解 , 因 为 在 上 文 就 提 到<br />

过 在 这 个 时 期 , 有 大 批 的 华 人 移 民 到 暹 罗 居 住 。 华 人 工 匠 擅 长 于 使 用 水<br />

泥 而 泰 国 工 匠 则 擅 长 于 使 用 木 料 , 因 此 当 华 人 工 匠 把 他 们 自 己 家 乡 的 建<br />

筑 工 艺 展 现 出 来 的 时 候 , 泰 国 使 用 木 料 作 为 建 筑 材 料 的 传 统 工 艺 也 转 变<br />

为 以 砖 石 为 主 材 料 , 并 且 在 瓷 砖 、 茶 具 、 碗 和 宗 教 建 筑 中 都 会 有 中 式 的<br />

花 纹 和 龙 的 图 腾 。<br />

PHRA RATCHA NIYOM ART: THE ROYAL<br />

ARCHITECTURAL STYLE OF THAI – CHINESE<br />

The unique artistic style or ‘Phra Ratcha<br />

Niyom’ in the reign of King Rama III was a result<br />

of a mix of Thai tradition and the newly adopted<br />

Chinese style.<br />

King Rama III had an interest and was wellinformed<br />

in Chinese art. Chinese artisans were<br />

skilled in plaster work, as opposed to Thai<br />

artisans who were competent in wood work. As<br />

this was the time when a number of Chinese<br />

immigrants settled in <strong>Bangkok</strong>, there was an<br />

exchange of skill and expertise between Thai<br />

and Chinese craftsmen. Wooden building<br />

technique which had been prevalent were<br />

replaced by brickwork and plaster; with stucco,<br />

porcelain and tiles as decorations.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

31


ดังนั้นเมื่อรัชกาลที่ ๓ ขึ้นครองราชย์ พระองค์จึง<br />

สานต่อพระราชดำริของรัชกาลที่ ๒ โดยทำการ<br />

ออกแบบและควบคุมการก่อสร้างพระปรางค์ใหญ่<br />

ด้วยพระองค์เองจนแล้วเสร็จ<br />

พระปรางค์วัดอรุณราชวรารามองค์นี้สร้างขึ้น<br />

โดยจำลองเอาคติจักรวาลทางศาสนาพุทธมาเป็น<br />

หัวใจหลักในการออกแบบ องค์พระปรางค์เปรียบดั่ง<br />

เขาพระสุเมรุ ยอดพระปรางค์มี ๕ ยอด เปรียบได้ดั่ง<br />

ยอดเขาพระสุเมรุ บริเวณซุ้มพระปรางค์ทั้ง ๔<br />

ประดิษฐานรูปพระอินทร์ทรงช้าง บริเวณโดยรอบทำ<br />

พระปรางค์ประกอบอีก ๔ องค์ พระปรางค์วัดอรุณฯ<br />

นี้ถือได้ว่าเป็นพระปรางค์ที่มีสัดส่วนสวยงามมาก<br />

ที่สุด และถือเป็นลักษณะเฉพาะของสถาปัตยกรรม<br />

ทรงปรางค์แห่งสมัยกรุงเทพฯ อย่างแท้จริง และนับ<br />

ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาพระปรางค์องค์นี้ก็ทำหน้าที่เป็น<br />

เสมือนสัญลักษณ์และ landmark สำคัญของ<br />

กรุงเทพฯ จวบจนกระทั่งในปัจจุบัน<br />

จากสยามเก่าสู่สยามใหม่: การเรียนรู้วัฒนธรรม<br />

ตะวันตก<br />

ในรัชสมัยรัชกาลที่ ๓ วัฒนธรรมตะวันตกได้รับ<br />

ความสนใจอย่างมีขอบเขตจำกัด โดยเน้นเฉพาะไป<br />

ในเรื่องของเทคโนโลยีสมัยใหม่เพียงด้านเดียว อาทิ<br />

เช่น การแพทย์สมัยใหม่ เทคโนโลยีการต่อเรือ<br />

เป็นต้น พระองค์ทรงมีท่าทีที่จำกัดและระมัดระวังยิ่ง<br />

ต่อการรับวัฒนธรรมตะวันตกและจะทรงใช้นโยบาย<br />

ที่เข้มงวดรุนแรงทันทีถ้าทรงเห็นว่าวัฒนธรรม<br />

ตะวันตกแสดงลักษณะที่คุกคามหรือบ่อนทำลาย<br />

วัฒนธรรมแบบจารีตดั้งเดิมของสยาม<br />

การเรียนรู้และตอบสนองต่อวัฒนธรรมตะวันตก<br />

ที่เพิ่มมากขึ้นเกือบทุกด้านอย่างกว้างขวางจะมาเริ่ม<br />

ต้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ เนื่องจากพระองค์ทรงใฝ่ใน<br />

วิชาความรู้สมัยใหม่จากโลกตะวันตกมาตั ้งแต่เมื่อ<br />

ครั้งยังทรงผนวชเป็นพระภิกษุในสมัยรัชกาลที่ ๓<br />

ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลประการใดที่อยู่เบื้องหลัง<br />

การยอมรับในวัฒนธรรมตะวันตกที่เพิ่มมากขึ้นกว่า<br />

ในรัชกาลก่อน ไม่ว่าจะเป็นการนิยมชมชอบส่วน<br />

พระองค์ หรือการที่พระองค์ตระหนักถึงภัยคุกคาม<br />

ถ้าไม่ยอมเรียนรู้วัฒนธรรมแบบตะวันตก หรือด้วย<br />

เหตุผลทั้งสองประการควบคู่กันก็ตาม ได้ส่งผลทำให้<br />

วัฒนธรรมแบบใหม่ดังกล่าวนั้นกลายมาเป็นแนวทาง<br />

หลักที่สำคัญต่อการพัฒนาสังคมสยามนับตั้งแต่นั้น<br />

เป็นต้นมา<br />

รัชกาลที่ ๔ ทรงให้ความสนใจและติดตามใน<br />

ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี<br />

ต่างๆ มาโดยตลอด ทรงสนพระทัยในวิชาการใหม่ๆ<br />

หลากหลายสาขา ทั้งภาษาศาสตร์ ดาราศาสตร์<br />

ภูมิศาสตร์ การแพทย์ ฯลฯ และไม่ใช่มีเพียงแค่<br />

พระองค์เท่านั้นที่ให้ความสำคัญกับองค์ความรู้ใหม่ๆ<br />

จากภายนอก เจ้านายสยามพระองค์อื่นต่างก็ให้<br />

ความสนใจกับวิทยาการสมัยใหม่จากโลกตะวันตก<br />

ไม่แพ้กัน<br />

ผลจากการเรียนรู้ตะวันตกอย่างเอาจริงเอาจัง<br />

และลึกซึ้งมากขึ้นทำให้ชนชั้นนำสยามตระหนักได้ถึง<br />

“อำนาจใหม่” อันยิ่งใหญ่ของตะวันตก และเข้าใจถึง<br />

สถานภาพของราชอาณาจักรสยามในระเบียบโลก<br />

อย่างใหม่ที่แตกต่างจากระเบียบโลกแบบจารีต<br />

ดั้งเดิมได้อย่างชัดเจน วัฒนธรรมตะวันตกได้กลาย<br />

ความหมายมาเป็นสัญลักษณ์ของความเจริญ<br />

ก้าวหน้า และความศิวิไลซ์ ของโลกยุคใหม่ในสมัย<br />

ของพระองค์ ทั้งหมดได้ส่งผลทำให้สังคมสยาม<br />

เปลี่ยนโฉมหน้าก้าวเข้าสู่ยุคสมัยใหม่อย่างเต็มตัว<br />

และวัฒนธรรมตะวันตกได้กลายมาเป็นแนวทางหลัก<br />

ที่สำคัญต่อการพัฒนาสังคมสยามนับตั้งแต่นั ้น<br />

เป็นต้นมา<br />

ในส่วนของการพัฒนาบ้านเมือง พระองค์โปรด<br />

เกล้าฯ ให้ตัดถนนสมัยใหม่แบบตะวันตกขึ้นเป็นครั้ง<br />

แรก ถนนเส้นสำคัญๆ ในสมัยนี้ได้แก่ ถนนเจริญกรุง<br />

ถนนบำรุงเมือง ถนนเฟื่องนคร อีกทั้งยังโปรดเกล้าฯ<br />

ให้มีการขยายแนวกำแพงเมืองออกไปโดยรอบ ขุด<br />

คลองรอบเมืองขึ้นใหม่คือ คลองผดุงกรุงเกษม<br />

พร้อมทั้งสร้างป้อมขนาดใหญ่แบบตะวันตกขึ้นโดยรอบ<br />

การตัดถนนเจริญกรุงนำมาซึ่งการขยายพื้นที่<br />

ชุมชนออกไปตามแนวถนน ซึ่งส่วนใหญ่คือย่าน<br />

ชุมชนที่พักอาศัยของชาวตะวันตกที่เข้ามาใน<br />

32<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


The more durable stucco decoration was<br />

preferred to Thai architectural elements like chor<br />

fa, bai raka, and hang hong. The tympanum<br />

which had often been made of wood, gilded and<br />

decorated with mirror tiles; was replaced by brick<br />

and mortar, decorated with porcelain from<br />

China. Motifs were influenced by Chinese art,<br />

such as dragons, swans, and peonies. Examples<br />

of the Phra Ratcha Niyom style in this period are<br />

Wat Ratchaorotsaram, Wat Thepthidaram, Wat<br />

Prodket Chettharam, Wat Nang Nong, and so on.<br />

The interest in Chinese art had been around<br />

since the reign of King Rama II. This was called<br />

Kra-buan Jeen, literally means following Chinese<br />

examples. In the reign of King Rama II, a garden<br />

called Suan Kwa was built within the Grand<br />

Palace walls. It was designed to be built in<br />

Chinese style and the project was supervised by<br />

Prince Chesadabodin, (the current title of King<br />

Rama III at the time).<br />

Garden ornaments from China, such as<br />

rocks, Chinese stone statues, pagodas and so<br />

on, were used to decorate the gardens. This was<br />

the first time these intriguing elements were used<br />

in the Grand Palace.<br />

THE GREAT STUPA OF WAT ARUN – LANDMARK<br />

OF BANGKOK<br />

King Rama II realized that a large Phra That<br />

(the great stupa) had never been built in<br />

<strong>Bangkok</strong>, compared to Wat Mahathat of the<br />

Ayutthaya Kingdom. As a result, Wat Arun was<br />

restored and the Phra Prang or stupa was to be<br />

enlarged to become a prominent feature.<br />

However, only the foundation work was done<br />

when the reign of King Rama II came to an end.<br />

Therefore, when King Rama III succeeded his<br />

father, he continued the project and supervised<br />

the design and construction until it finished.<br />

The core idea of the design of the stupa was<br />

taken from Hindu cosmology. The central Phra<br />

Prang symbolised Mount Meru, around which<br />

four more Phra Prang were located. The five Phra<br />

Prang symbolized the summits of Mount Meru.<br />

Statues of Indra riding the elephant Erawan were<br />

enshrined on the four Phra Prang. The pagoda<br />

of Wat Arun is considered one of the most<br />

exquisite – especially in terms of its scale and<br />

proportion. It is also considered an architectural<br />

style unique to <strong>Bangkok</strong>. And from then on,<br />

the great stupa of Wat Arun has become the<br />

landmark of <strong>Bangkok</strong> until today.<br />

从 建 筑 物 的 屋 顶 、 房 檐 、 屋 顶 上 的 装 饰 来 看 , 也 转 变 为 采 用 水 泥 为<br />

主 , 使 得 建 筑 的 耐 用 性 比 之 前 更 好 。 建 筑 物 的 正 面 牌 匾 位 置 过 去 主 要 使<br />

用 木 雕 , 并 且 镀 金 和 用 镜 子 来 进 行 装 饰 , 后 来 也 转 变 为 使 用 石 砖 水 泥 建<br />

造 , 用 从 中 国 流 传 而 来 的 砖 瓦 进 行 装 饰 等 等 。 当 时 比 中 国 风 格 的 装 饰 花<br />

纹 也 越 来 越 流 行 和 受 到 大 家 的 欢 迎 , 例 如 : 中 国 龙 、 凤 凰 、 牡 丹 花 、 中<br />

国 式 的 桌 椅 等 等 。 而 皇 家 建 筑 中 具 有 这 一 特 点 的 例 子 就 是 王 子 庙 、 特 帝<br />

达 兰 寺 、 波 罗 克 珍 特 兰 寺 、 那 哝 寺 等 等 。<br />

在 拉 玛 二 世 时 期 , 中 国 的 艺 术 文 化 已 经 开 始 流 行 了 , 可 以 看 作 是 对<br />

中 国 装 饰 设 计 的 学 习 模 仿 。 后 来 拉 玛 二 世 国 王 下 旨 , 命 令 当 时 王 子 、 后<br />

来 的 拉 玛 三 世 作 为 总 监 工 , 在 大 皇 宫 内 仿 照 中 国 装 饰 风 格 , 修 建 了 一 座<br />

中 式 庄 园 。<br />

那 一 次 的 工 程 , 所 有 的 装 饰 品 包 括 岩 石 、 人 物 雕 塑 、 亭 子 等 等 都 是<br />

从 中 国 运 输 而 来 , 是 历 史 上 第 一 次 将 中 国 的 人 物 雕 塑 放 在 大 皇 宫 内 用 来<br />

作 为 装 饰 , 在 当 时 看 来 , 可 以 说 是 一 件 令 人 非 常 惊 奇 的 事 情 。<br />

曼 谷 地 标 性 佛 塔 — 黎 明 寺<br />

拉 玛 二 世 国 王 曾 说 , 曼 谷 自 建 城 以 来 , 还 没 有 出 现 过 任 何 一 座 像 大<br />

城 王 朝 时 期 的 玛 哈 泰 寺 一 样 , 可 以 作 为 城 市 象 征 的 大 型 文 化 建 筑 。 因 此 ,<br />

国 王 下 令 修 复 吞 武 里 河 岸 这 边 的 黎 明 寺 , 同 时 将 其 进 行 了 扩 建 和 翻 新 ,<br />

为 了 将 其 作 为 曼 谷 的 城 市 象 征 性 建 筑 。 但 在 拉 玛 二 世 王 去 世 时 , 工 程 仅<br />

仅 是 完 成 了 主 佛 塔 的 修 建 。<br />

后 来 , 当 拉 玛 三 世 登 基 执 政 之 后 , 继 续 完 成 拉 玛 二 世 留 下 的 政 务 ,<br />

因 此 拉 玛 三 世 参 与 设 计 , 并 且 亲 自 监 工 修 建 , 知 道 整 个 工 程 完 工 。<br />

这 座 黎 明 寺 , 在 设 计 的 时 候 , 是 以 过 去 的 佛 教 文 化 中 的 圣 地 作 为 设<br />

计 理 念 的 主 体 , 将 佛 塔 主 体 比 喻 为 佛 教 文 化 中 的 须 弥 山 , 一 共 有 五 座 宝<br />

塔 峰 , 比 喻 为 山 顶 的 帝 释 天 以 及 四 面 山 腰 的 四 大 天 王 。 这 座 黎 明 寺 可 以<br />

说 是 比 例 设 计 最 漂 亮 的 佛 塔 , 而 且 真 正 的 体 现 了 当 时 曼 谷 佛 塔 建 筑 的 特<br />

点 特 征 , 甚 至 从 那 个 时 期 一 直 到 现 在 , 这 座 佛 塔 都 可 以 称 之 为 是 曼 谷 重<br />

要 的 地 标 性 建 筑 和 象 征 符 号 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

33


กรุงเทพฯ ตลอดพื้นที่ระหว่างแนวถนนกับแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยาได้กลายมาเป็นย่านความเจริญอย่างใหม่<br />

มีสถานกงสุลของนานาชาติมาตั้ง ที่สำคัญเช่น<br />

โปรตุเกส, อังกฤษ และฝรั่งเศส เป็นต้น มีห้างร้าน<br />

แบบฝรั่ง วัดฝรั่ง และท่ าเรือกลไฟสมัยใหม่แบบตะวันตก<br />

สิ่งเหล่านี้ยังคงทิ้งร่องรอยให้เราเห็นได้อย่างชัดเจน<br />

ผ่านอาคารบ้านเรือนในบริเวณดังกล่าว<br />

ในทางสถาปัตยกรรม รัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯ<br />

ให้สร้างพระราชมณเฑียรขึ้นใหม่หมู่หนึ่งเมื่อ พ.ศ.<br />

๒๓๙๕ ชื่อ “พระอภิเนาวนิเวศน์” ซึ่งสร้างขึ้นด้วยรูป<br />

แบบสถาปัตยกรรมตะวันตกเป็นชิ้นแรกๆ ในเมือง<br />

ไทย อีกทั้งยังโปรดเกล้าฯ ให้สร้างวังสระปทุมขึ้น<br />

โดยรับแนวคิดเรื่องวังตากอากาศมาใช้เป็นแห่งแรก<br />

ก่อนที่จะแพร่หลายมากขึ้นในรัชกาลต่อๆ มา โดยวัง<br />

แห่งนี้ก็สร้างขึ้นบนแนวถนนสมัยใหม่ที่ตัดขึ้นเชื่อม<br />

ยาวต่อออกมาจากถนนบำรุงเมือง อันเป็นการเปิด<br />

พื้นที่การขยายตัวของเมืองออกไปทางทิศตะวันออก<br />

ที่สำคัญ และจะนำมาซึ่งความเจริญอย่างมากในพื้นที่<br />

ตลอดแนวถนนนี้ (ถนนพระรามที่ ๑) ในเวลาต่อมา<br />

กรุงเทพฯ ในยุคสมัยนี้และต่อไปจะพลิกโฉมหน้า<br />

จากเดิมไปอย่างมาก จนนักวิชาการบางท่านเรียกยุค<br />

สมัยนี้ว่าเป็นจุดเปลี่ยนจากยุค “สยามเก่า” มาสู่<br />

“สยามใหม่”<br />

การตัดถนนสมัยใหม่หลายเส้นในสมัยรัชกาลที่<br />

๔ ยังมาพร้อมกับการสร้างตึกแถวสมัยใหม่ด้วย<br />

พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ (ช่วง<br />

บุนนาค) เดินทางไปดูงานที่เมืองสิงค์โปร์ และนำ<br />

เทคโนโลยีสมัยใหม่ต่างๆ เข้ามาใช้พัฒนาบ้านเมือง<br />

ซึ่งในการนี้เจ้าพระยาศรีสุริยวงศ์ได้นำแบบอย่างการ<br />

สร้างตึกแถวริมถนนในประเทศสิงค์โปร์เข้ามา<br />

ก่อสร้างในสยามพร้อมกับการตัดถนนด้วย<br />

การสร้างตึกแถวริมถนน ได้กลายเป็นแหล่งราย<br />

ได้ที่สำคัญแหล่งหนึ่งของรัฐบาลสยามในระยะเวลา<br />

เพียงไม่นาน เพราะการตัดถนนพร้อมสร้างตึกแถว<br />

นั้นได้กระตุ้นให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจการ<br />

ค้า เกิดการไหลเวียนของเงินตราและผู้คนเพิ่มมาก<br />

ขึ้น ถนนได้กลายมาเป็นจักรกลสำคัญทางเศรษฐกิจ<br />

ของประเทศสยามในสมัยแห่งการปฏิรูปประเทศสู่<br />

ความเป็นสมัยใหม่<br />

34<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

ถนนทั้งหมดที่ถูกตัดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๔ นี้ ได้<br />

เป็นจุดเริ่มต้นให้แก่การตัดถนนอย่างมากมายใน<br />

สมัยรัชกาลที่ ๕ ต่อมา และนับตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้น<br />

มากรุงเทพฯ ก็เจริญเติบโตและเปลี่ยนผ่านจากการ<br />

เป็นเมืองน้ำที่เต็มไปด้วยเครือข่ายคูคลองมาสู่เมือง<br />

บกที่มีถนนเป็นเส้นเลือดที่สำคัญของเมืองแทน<br />

กรุงเทพฯ วิ่งสู่ความก้าวหน้าและทันสมัยเพิ่มมากขึ้น<br />

ภายใต้นโยบายที่สำคัญที่สุดประการหนึ่งของการ<br />

พัฒนาประเทศ นั่นก็คือ การขยายเส้นทางคมนาคม<br />

กรุงเทพฯ เมืองแห่งความศิวิไลซ์<br />

การปฏิรูปบ้านเมืองนับตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๔<br />

ต่อเนื่องมาในสมัยรัชกาลที่ ๕ ถือว่าเป็นยุคสมัยแห่ง<br />

การเปลี่ยนแปลงชนิดก้าวกระโดดครั้งสำคัญหนึ่งใน<br />

หน้าประวัติศาสตร์ไทย เป็นช่วงสมัยแห่งการก้าวข้าม<br />

จากสังคมแบบจารีต (สยามเก่า) เข้าสู่สังคมสมัยใหม่<br />

(สยามใหม่) ภายใต้อุดมคติเรื่อง “ความศิวิไลซ์”<br />

กรุงเทพฯ ได้เริ่มเปลี่ยนจากเมืองศูนย์กลางศักดิ์สิทธิ์<br />

ตามคติพุทธ-ฮินดู มาสู่เมืองสมัยใหม่ตามมาตรฐาน<br />

วัฒนธรรมแบบยุโรป<br />

รัชกาลที่ ๕ ได้ดำเนินนโยบายการสร้าง “ความ<br />

ศิวิไลซ์” แก่สยามอย่างเข้มข้นต่อเนื่องตลอดรัชสมัย<br />

ซึ่งส่งผลให้เกิดความเจริญเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ<br />

ของบ้านเมืองสยามไปอย่างรวดเร็วภายในเวลาไม่<br />

นานนัก ในยุคสมัยดังกล่าว ได้มีการพัฒนาประเทศ<br />

ในหลากหลายรูปแบบในทิศทางแบบตะวันตก มีการ<br />

สร้างอาคารและสถานที่ราชการตามแบบตะวันตกขึ้น<br />

มากมาย เช่น โรงทหารหน้า (กระทรวงกลาโหม),<br />

ศาลสถิตยุติธรรม, โรงภาษี (ศุลกสถาน), กรมแผนที่<br />

ทหาร, ตึกกระทรวงการต่างประเทศ, วชิราวุธ<br />

วิทยาลัย ฯลฯ<br />

ในส่วนบ้านเรือนของเจ้านายและชนชั้นสูงเปลี่ยน<br />

รสนิยมมาเป็นบ้านแบบยุโรป เช่น วังบางขุนพรหม,<br />

วังปารุสกวัน, วังสวนดุสิต, วังวรดิศ, วังวาริชเวสม์,<br />

บ้านอิศรเสนา, บ้านพิษณุโลก, บ้านมนังคศิลา,<br />

อาคารสุริยานุวัตร ฯลฯ<br />

นอกจากนี้ในยุคสมัยที่น่าตื่นเต้นดังกล่าวก็ได้มี<br />

การพัฒนาการคมนาคมทางรถไฟ การไฟฟ้า ประปา


FROM THE OLD SIAM TO THE NEW SIAM:<br />

WESTERN INFLUENCE<br />

Under the reign of King Rama III, western<br />

culture was not widely adopted. Only modern<br />

technologies such as medical knowledge and<br />

ship building were adopted. King Rama III was<br />

wary and watchful with regards to adopting<br />

western culture. If it appeared that certain culture<br />

from the West might undermine the tradition or<br />

Siamese culture if adopted, it would be resolutely<br />

prohibited.<br />

In the reign of King Mongkut (Rama IV),<br />

however, Siam significantly adopted greater<br />

degree of Western culture, and also in various<br />

dimensions. King Mongkut familiarized himself<br />

with western culture when he was still a monk<br />

during the reign of King Rama III.<br />

Whether it was his personal preference;<br />

or whether it was the fact that King Mongkut<br />

realized that it would be best for Siam to adopt<br />

western culture under the current political<br />

circumstances; or whether it was a combination<br />

of both possibilities, western culture became<br />

significant in the development of Siam from then<br />

onwards.<br />

King Mongkut was interested in new<br />

scientific discoveries and technologies. His<br />

interests covered a wide range from linguistics,<br />

astronomy, to geography and medicine. King<br />

Mongkut was not the only one who developed<br />

an interest in new knowledge from outside of<br />

Siam; other members of the Royal family, too,<br />

were opened to western knowledge and<br />

expertise.<br />

Having extensively opened up for new<br />

western technologies, the governing class of<br />

Siam recognized the growing power of the West<br />

and the political situation that Siam would soon<br />

be facing. Siam was no longer a country<br />

governed by its own norm and tradition; but one<br />

that would subject to influence from outside.<br />

Western culture became the symbol of modern<br />

developments and civilizations. In addition,<br />

it became the main guidelines in the development<br />

of Siam from then on.<br />

Following the Western idea of urban<br />

planning, King Mongkut initiated the construction<br />

of roads such as Charoen Krung, Bamrung<br />

Mueang, Fuang Nakhon; construction of the new<br />

city canal- Khlong Phadung Krung Kasem; as<br />

well as building new forts following precedents<br />

from the West.<br />

旧 暹 罗 时 期 向 新 泰 王 国 的 转 变 : 西 方 文 化 的 学 习 探 究<br />

在 拉 玛 三 世 执 政 期 间 , 对 西 方 文 化 的 接 收 仍 然 具 有 一 定 的 局 限 性 ,<br />

特 别 是 在 新 科 技 这 一 方 面 , 例 如 : 现 代 医 学 、 造 船 技 术 等 等 。 国 王 在 面<br />

对 接 收 学 习 西 方 文 化 的 时 候 , 表 现 得 比 较 谨 慎 和 思 想 具 有 局 限 性 , 并 且<br />

对 威 胁 或 者 破 坏 传 统 泰 国 文 化 的 西 方 文 化 时 , 采 取 非 常 严 苛 的 政 策 进 行<br />

管 理 。<br />

当 时 仍 然 是 储 君 的 拉 玛 四 世 已 经 受 到 了 很 多 西 方 新 进 学 术 文 化 的 影<br />

响 , 所 以 在 其 登 基 执 政 以 后 , 与 西 方 世 界 有 了 更 多 的 接 触 和 交 流 , 并 且<br />

开 始 向 西 方 学 习 各 个 方 面 的 文 化 和 知 识 。<br />

无 论 是 什 么 样 的 原 因 , 使 得 比 之 前 的 王 朝 对 西 方 文 化 的 接 收 程 度 越<br />

来 越 高 , 不 管 是 赞 扬 国 王 或 者 是 国 王 在 面 对 西 方 文 化 时 的 保 守 作 风 , 不<br />

愿 意 学 习 西 方 文 化 , 还 是 两 者 皆 有 , 都 是 使 得 新 暹 罗 文 化 诞 生 的 重 要 原<br />

因 和 影 响 因 素 。<br />

一 直 以 来 , 拉 玛 四 世 对 西 方 的 科 学 和 技 术 方 面 都 非 常 的 感 兴 趣 并 且<br />

始 终 保 持 着 关 注 , 对 很 多 学 科 的 学 术 研 究 都 悉 心 研 究 , 包 括 语 言 学 、 天<br />

文 学 、 地 理 学 、 医 学 等 等 。 而 且 在 那 个 时 期 不 仅 仅 是 国 王 对 国 外 的 文 化<br />

感 兴 趣 , 其 他 的 亲 王 和 领 导 层 在 向 国 外 学 习 知 识 文 化 这 方 面 也 不 输 给 拉<br />

玛 四 世 。<br />

对 西 方 文 化 进 行 长 时 间 和 深 入 地 学 习 之 后 , 最 明 显 和 深 刻 的 影 响 就<br />

是 使 得 暹 罗 王 国 的 执 政 者 阶 级 出 现 了 新 的 政 治 权 利 。 认 识 到 了 西 方 国 家<br />

的 强 大 , 而 且 清 楚 地 认 识 到 了 暹 罗 王 国 在 世 界 上 的 现 状 大 大 不 同 于 过 去<br />

传 统 的 时 期 , 在 那 个 时 期 , 西 方 文 化 成 为 了 当 时 社 会 发 达 、 繁 荣 、 进 步<br />

和 文 明 的 象 征 , 这 些 都 促 使 暹 罗 王 国 的 面 貌 开 始 全 方 位 地 向 西 方 文 化 靠<br />

拢 , 西 方 文 化 也 从 这 个 时 期 起 , 成 为 了 当 时 社 会 推 崇 的 主 要 理 念 。<br />

城 市 的 发 展 方 面 , 根 据 国 王 的 指 令 , 首 次 在 暹 罗 效 仿 西 方 国 家 进 行<br />

道 路 规 划 建 设 , 当 时 重 要 的 道 路 主 要 有 石 龙 军 路 、 巴 隆 蒙 路 、 丰 那 坤 路 。<br />

还 有 一 个 指 令 是 要 求 将 护 城 墙 环 状 地 向 周 围 扩 建 , 开 凿 了 新 的 河 道 — 帕<br />

东 公 开 赛 河 道 。 并 且 在 新 城 墙 完 整 地 修 建 了 新 式 的 西 方 堡 垒 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

35


สมัยใหม่ เกิดการไปรษณีย์โทรเลข ปฏิรูประบบศาล<br />

ปฏิรูประบบราชการตามอย่างในยุโรป ฯลฯ<br />

ย้อนกลับมาพิจารณาการพัฒนาเมืองผ่าน<br />

เครือข่ายถนนหนทาง ถนนสมัยใหม่นั้นมิใช่มีเพียง<br />

บทบาทในแง่การสัญจรเพียงอย่างเดียว แต่ถนนสมัย<br />

ใหม่ยังทำหน้าที่ที่สำคัญอย่างน้อยๆ อีก ๒ ประการ<br />

ประการที่หนึ่งในด้านเศรษฐกิจ เนื่องจากถนนจะนำ<br />

มาซึ่งการก่อสร้างตึกแถวและส่งผลสืบเนื่องให้เกิด<br />

รายได้จากการค้าขายและค่าเช่าเป็นจำนวนมาก จาก<br />

หลักฐานหลายชิ้นแสดงให้เห็นว่ารายได้จากค่าเช่า<br />

ตึกแถวเป็นแรงจูงใจสำคัญหนึ่งที่ทำให้เกิดการ<br />

ตัดถนน อาทิ โครงการตัดถนน ๑๘ สายในย่านสำ<br />

เพ็ง และถนนแพร่งนรา เป็นต้น<br />

ประการที่สอง ถนนสมัยใหม่ได้ทำหน้าที่เชิง<br />

สัญลักษณ์เป็นหน้าเป็นตาของบ้านเมือง อันสะท้อน<br />

ภาพแห่งความเจริญก้าวหน้าของสยามที่ทัดเทียมกับ<br />

นานาอารยประเทศ ตัวอย่างที่ชัดเจนในกรณีนี้คือ<br />

ถนนราชดำเนิน<br />

ด้วยเหตุนี้จึงพบว่าถนนในสมัยรัชกาลที่ ๕ มี<br />

มากถึงกว่า ๑๑๐ สายตลอดรัชกาล ส่งผลให้<br />

เศรษฐกิจและการสัญจรทางถนนเจริญขึ้นอย่าง<br />

รวดเร็วควบคู่ (หรืออาจจะก้าวหน้ากว่า) การสัญจร<br />

ทางน้ำซึ่งเป็นระบบการคมนาคมหลักในอดีตของ<br />

สยาม โดยในเขตกำแพงพระนครได้มีการตัดถนน<br />

ใหม่ถึง ๓๙ สาย<br />

โครงการที่ถือว่าสำคัญมากที่สุดในยุคสมัยที่<br />

ส่งผลต่อกายภาพของกรุงเทพฯ คือ การขยาย<br />

พระนครด้วยโครงข่ายถนนไปยังด้านทิศเหนือ พร้อม<br />

กับการสร้าง “พระราชวังดุสิต” (เมื่อแรกเริ่มมีชื่อว่า<br />

“วังสวนดุสิต”) ขึ้นใหม่ให้กลายเป็นศูนย์กลางใหม่<br />

ของพระนคร ซึ่งเป็นเสมือนการพัฒนาพื้นที่ทาง<br />

ตอนเหนือซึ่งยังรกร้างอยู่ให้เจริญขึ้น เฉพาะในเขต<br />

พระราชวังดุสิตเพียงแห่งเดียว ในรัชสมัยนี้ได้มีการ<br />

วางเครือข่ายถนนมากถึง ๕๐ สาย ทั้งนี้ยังไม่นับ<br />

ถนนอีกหลายสายที่เชื่อมโยงวังสวนดุสิตกับสถานที่<br />

อื ่นๆ ทั่วพระนคร ทั้งหมดได้ทำให้เกิดการเจริญ<br />

เติบโตและการขยายตัวทางกายภาพของกรุง<br />

รัตนโกสินทร์เป็นอย่างมาก<br />

36<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


The construction of Charoen Krung Road led<br />

to the expansion of the communities along<br />

the new road, mainly residential buildings of<br />

Westerners who came to reside in the city.<br />

The area bounded by Charoen Krung and Chao<br />

Phraya River became a new thriving district, with<br />

consulates such as Portuguese, English and<br />

French, Western-style shops, churches, and<br />

steamboat piers. These still leave traces in the<br />

architecture of the area until today.<br />

An important architectural landmark was<br />

a cluster of Royal residences called Apinaoniwes.<br />

Built in 1852, it was one of the first buildings in<br />

Siam that was built in Western style. Sra Pathum<br />

Palace was also built under the reign of King<br />

Mongkut. The Palace was the first royal residence<br />

of Siam to adopt the Western idea of summer<br />

palace, and was built along the new modern road<br />

which extended from Bamrung Mueang Road.<br />

The city expanded eastward. And as a result,<br />

modern developments concentrated along<br />

the line of this road (later Rama I Road).<br />

In this period, many dramatic physical<br />

changes occurred in <strong>Bangkok</strong> that some<br />

scholars called it the transition point between<br />

the “old Siam” to the “new Siam”<br />

Road building under the reign of King<br />

Mongkut also brought about the construction of<br />

shophouses. Under the reign of King Mongkut,<br />

Chaophraya Sri Suriwongse (Chuang Bunnag)<br />

travelled to Singapore, studied new technologies<br />

in order to modernize Siam. Building shophouses<br />

along the road was one of the urban planning<br />

feature that Siam adopted from Singapore.<br />

These roadside shophouses soon became<br />

a major source of income for the Siamese<br />

government as it greatly stimulated economic<br />

growth. Roads became the important mechanism<br />

in driving the economy and reforming Siam.<br />

All the roads built under the reign of King<br />

Mongkut laid the foundation for many more<br />

roads to be built under the reign of King<br />

Chulalongkorn (Rama V). <strong>Bangkok</strong> transformed<br />

from a city with canal networks, into a city with<br />

roads as the major transportation. One of the<br />

main development strategies for <strong>Bangkok</strong>, from<br />

that point, became transport infrastructure.<br />

石 龙 军 路 的 修 建 , 扩 大 了 道 路 沿 线 的 居 民 住 宅 区 , 这 些 住 宅 区 主 要<br />

是 以 从 西 方 移 民 到 曼 谷 居 住 的 西 方 人 为 主 , 从 这 条 道 路 到 湄 南 河 之 间 的<br />

区 域 也 成 为 了 新 的 城 市 繁 华 地 带 , 有 许 多 外 国 大 使 馆 都 建 立 在 这 条 路 上 ,<br />

比 较 重 要 的 有 葡 萄 牙 、 英 国 和 法 国 等 等 。 还 有 许 多 欧 式 的 百 货 大 楼 , 欧<br />

式 寺 庙 和 西 方 新 式 的 码 头 。 从 这 些 建 筑 的 本 身 , 我 们 可 以 清 楚 地 看 到 历<br />

史 留 下 的 痕 迹 。<br />

在 建 筑 方 面 , 拉 玛 四 世 在 佛 历 2395 年 下 旨 修 建 了 一 座 新 的 宫 殿 ,<br />

命 名 为 帕 那 阿 批 瑙 瓦 尼 , 成 为 了 泰 国 第 一 座 采 用 西 式 风 格 建 筑 的 宫 殿 。<br />

拉 玛 四 世 还 下 旨 修 建 了 萨 拉 巴 吞 王 宫 , 将 其 作 为 第 一 座 避 暑 的 王 宫 。 在<br />

后 来 的 王 朝 中 出 现 更 多 王 宫 之 前 , 这 座 王 宫 第 一 座 修 建 在 新 式 道 路 上 的<br />

宫 殿 , 从 石 龙 军 路 一 直 延 伸 出 去 , 是 向 东 边 开 放 土 地 、 扩 建 城 市 的 重 要<br />

开 端 , 并 且 使 得 在 接 下 来 的 时 期 里 这 条 道 路 ( 拉 玛 一 路 ) 周 边 的 区 域 越<br />

来 越 繁 荣 。<br />

从 这 个 时 期 开 始 , 曼 谷 的 面 貌 也 焕 然 一 新 , 有 些 学 者 也 称 这 个 时 期<br />

为 是 旧 暹 罗 时 期 向 新 泰 王 国 转 变 的 转 折 点 。<br />

在 拉 玛 四 世 时 期 设 计 修 建 了 很 多 条 新 道 路 的 同 时 , 沿 路 也 建 造 了 许<br />

多 新 式 的 楼 房 。 国 王 层 下 旨 让 昭 披 耶 西 · 素 里 耶 旺 亲 王 出 使 到 新 加 坡 ,<br />

并 且 将 新 式 的 科 技 文 化 带 回 泰 国 建 设 自 己 的 家 乡 。 因 此 , 昭 披 耶 西 · 素<br />

里 耶 旺 亲 王 的 这 次 出 行 , 带 回 了 新 加 坡 沿 路 修 建 楼 房 的 设 计 理 念 , 并 且<br />

暹 罗 的 土 地 上 也 进 行 了 道 路 规 划 和 城 市 建 设 。<br />

沿 路 楼 房 的 修 建 , 作 为 政 府 一 项 非 常 重 要 的 经 济 收 入 来 的 时 间 并 不<br />

长 , 因 为 这 样 的 城 市 规 划 大 大 推 动 了 经 济 贸 易 的 发 展 , 使 得 货 币 的 流 通<br />

率 和 人 口 数 量 都 大 大 增 加 。 因 此 , 这 些 道 路 的 诞 生 也 成 为 了 加 快 推 进 泰<br />

王 国 向 新 时 代 发 展 的 重 要 推 动 器 。<br />

拉 玛 四 世 时 期 设 计 修 建 的 所 有 道 路 , 成 为 了 拉 玛 五 世 时 期 大 量 修 建<br />

道 路 的 起 点 , 并 且 从 那 个 时 候 开 始 , 曼 谷 的 发 展 也 越 来 越 繁 荣 , 也 从 过<br />

去 以 河 道 为 主 要 交 通 干 线 的 水 城 向 以 道 路 交 通 为 的 陆 地 城 市 转 变 。 促 使<br />

曼 谷 能 够 紧 跟 时 代 并 且 得 到 飞 速 发 展 的 一 项 非 常 重 要 的 政 策 就 是 交 通 网<br />

络 的 建 立 。<br />

曼 谷 — 城 市 的 社 会 文 明<br />

从 拉 玛 四 世 到 拉 玛 五 世 时 期 内 一 直 都 在 进 行 城 市 建 设 的 改 革 , 这 一<br />

次 改 革 纵 观 整 个 泰 国 历 史 , 都 是 一 次 具 有 飞 跃 性 转 变 意 义 的 变 革 。 从 传<br />

统 型 ( 旧 暹 罗 时 期 ) 向 新 时 代 ( 泰 王 国 ) 的 改 变 。 在 社 会 文 明 进 步 的 推<br />

动 作 用 下 , 以 前 的 城 市 中 心 是 以 “ 印 度 教 - 佛 教 ” 为 主 的 文 化 影 响 , 而 现<br />

在 则 倾 向 于 慢 慢 向 欧 洲 文 化 学 习 。<br />

THE CIVILIZED CITY OF BANGKOK<br />

The reformation took place under the reigns<br />

of King Mongkut and King Chulalongkorn were<br />

one of the turning points in the history of Siam.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

37


ขยายสนามหลวง<br />

สนามหลวงมีมาแต่แรกสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์<br />

แล้ว เป็นพื้นที่โล่งกว้างระหว่างพระบรมมหาราชวัง<br />

(วังหลวง) กับพระราชวังบวรสถานมงคล (วังหน้า)<br />

ทำหน้าที่เช่นเดียวกับ “สนามหน้าจักรวรรดิ” ของกรุง<br />

ศรีอยุธยา<br />

พื้นที่สนามหลวงใช้ป็นที่สร้างพระเมรุมาศ<br />

ถวายพระเพลิงพระบรมศพพระมหากษัตริย์และ<br />

พระราชวงศ์ชั้นสูง คนทั่วไปแต่เดิมจึงเรียกว่า<br />

“ทุ่งพระเมรุ” บางครั้งก็ใช่เป็นพื้นที่ทำนาหลวง<br />

แต่หากไม่มีงานพระเมรุ “ทุ่งพระเมรุ” ก็จะถูกปล่อย<br />

ทิ้งร้าง หญ้าขึ้นรก เป็นหนองบึงตามธรรมชาติ<br />

ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ โปรดให้เรียกชื่อ<br />

“ทุ่งพระเมรุ” ว่า “ท้องสนามหลวง” เนื่องจากพระองค์<br />

มีพระราชดำริว่า ชื่อที่คนทั่วไปเรียกว่า “ทุ่งพระเมรุ”<br />

นั้นเป็นชื่อที่ใช้เรียกในงานอวมงคล ไม่เหมาะที่จะใช้<br />

เป็นชื่อเรียกพื้นที่นี้ พระองค์มีพระราชดำริให้เรียกชื่อ<br />

ใหม่ว่า “ท้องสนามหลวง”<br />

เนื้อที่เดิมของสนามหลวงตั้งแต่แรกสร้าง<br />

กรุงเทพฯ นั้น พื้นที่เป็นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู และมีอยู่<br />

เพียงครึ่งเดียวจากที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน โดยอีกครึ่งที่<br />

เพิ่มมาภายหลังนั้นแต่เดิมคือพื้นที่ของวังหน้ามา<br />

ก่อน แต่ภายหลังจากการเสด็จทิวงคตของกรม<br />

พระราชวังบวรวิไชยชาญ (วังหน้าในรัชกาลที่ ๕)<br />

รัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าฯ ให้ยุบตำแหน่งวังหน้าลง<br />

เปลี่ยนเป็นตำแหน่ง “มกุฏราชกุมาร” แทน ซึ่งใน<br />

การนี้เองพระองค์ได้โปรดเกล้าฯ ให้ทำการขยายพื้นที่<br />

สนามหลวงเข้าไปในพื้นที่วังหน้า โปรดเกล้าฯ ให้รื้อ<br />

กำแพงป้อมปราการของวังหน้าด้านทิศตะวันออกลง<br />

แล้วแต่งพื ้นที่รวมกับสนามหลวงเดิมเป็นรูปวงรีรูป<br />

ไข่อย่างที่เห็นในปัจจุบัน ปลูกต้นมะขาม ๒ แถวโดย<br />

รอบ เพื่อให้เกิดความร่มรื่นแบบถนนและสวน<br />

สาธารณะที่พระองค์ทรงเคยเห็นมาในยุโรป<br />

เมื ่อคราวฉลองกรุงครบรอบ ๑๐๐ ปี เมื่อปี<br />

๒๔๒๕ รัชกาลที่ ๕ ก็ได้ใช้ท้องสนามหลวงเป็นที่ตั้ง<br />

กระบวนแห่พยุหยาตรา มีการออกร้าน จัดแสดง<br />

นิทรรศการอย่างยิ่งใหญ่เป็นเวลาถึง ๓ เดือน<br />

นอกจากนี้พระองค์ยังเคยใช้สนามหลวงใหม่นี้เป็น<br />

สนามกอล์ฟ สนามแข่งว่าว สนามแข่งม้า อีกด้วย<br />

ถนนราชดำเนิน: ถนนแห่งความศิวิไลซ์<br />

ในบรรดาถนนกว่า ๑๑๐ สายที่ถูกสร้างขึ้นใน<br />

สมัยรัชกาลที่ ๕ คงจะไม่เกินไปหากจะกล่าวว่า ถนน<br />

ที่มีความสำคัญที่สุด งดงามที่สุด ส่งผลกระทบต่อ<br />

กายภาพเมืองมากที่สุด และมีนัยเชิงสัญลักษณ์ของ<br />

ความศิวิไลซ์มากที่สุดคือ “ถนนราชดำเนิน”<br />

ถนนราชดำเนิน เป็นถนนที่ประกอบด้วยถนน ๓<br />

สายคือ ราชดำเนินนอก ราชดำเนินกลาง และ<br />

ราชดำเนินใน มีแนวตั้งแต่ถนนพฤฒิบาศ ผ่านตำบล<br />

บ้านหล่อ ตรงไปยังป้อมหักกำลังดัสกร ข้ามคลอง<br />

ผดุงกรุงเกษม ไปจนบรรจบกับถนนเบญจมาศ ใน<br />

พื้นที่วังสวนดุสิต เริ่มตัดในเดือนสิงหาคม พ.ศ.<br />

๒๔๔๒ เพื่อใช้เป็นทางเสด็จพระราชดำเนินสู่วัง<br />

สวนดุสิต<br />

ถนนสามสายถูกเรียกรวมว่า “ถนนราชดำเนิน”<br />

ตลอดแนวถนนได้พาดผ่านคลองสำคัญ ๓ สายคือ<br />

คลองคูเมืองเดิม คลองรอบกรุง และคลองผดุง<br />

กรุงเกษม รัชกาลที่ ๕ จึงโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวง<br />

โยธาธิการก่อสร้างสะพานสมัยใหม่ด้วยรูปแบบศิลปะ<br />

ตะวันตกขึ้นเพื่อเชื่อมร้อยถนนราชดำเนินทั้งสามให้<br />

งดงามและต่อเนื่องเป็นสายเดียวกันคือ สะพานผ่าน<br />

พิภพลีลา ผ่านฟ้าลีลาศ และ มัฆวานรังสรรค์ ทั้งหมด<br />

ทำให้ถนนราชดำเนินกลายเป็นถนนที่สวยงามและยิ่ง<br />

ใหญ่ที่สุดของสยาม<br />

ความสำคัญของถนนราชดำเนินมิได้เป็นเพียง<br />

ถนนเพื่อการเสด็จจากพระบรมมหาราชวังสู่<br />

พระราชวังดุสิตเพียงเท่านั้น บทบาทสำคัญของถนน<br />

ราชดำเนินอีกด้านคือ เป็น “ฉากแห่งความศิวิไลซ์”<br />

ของสยามที่แสดงต่อสายตาชาวโลก และคงไม่อาจ<br />

มองแยกจากการเกิดขึ้นของพระราชวังดุสิตที่<br />

พระองค์โปรดเกล้าฯ ให้สร้างในช่วงเวลาเดียวกัน<br />

ทั้งหมดล้วนเป็นไปในทิศทางเดียวกับการพัฒนาบ้าน<br />

เมืองด้านอื่นๆ ของพระองค์ ที่โน้มนำไปตาม<br />

แนวทางตะวันตกนิยม<br />

38<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


The country shifted from traditional society<br />

(old Siam), to the modern society (new Siam)<br />

following the ideology of “civilizations” from<br />

Europe. <strong>Bangkok</strong> transformed from the sacred<br />

center of the country according to Buddhism<br />

and Hinduism principles, to a modern city<br />

following western precedents.<br />

King Chulalongkorn concentrated on<br />

building Siam following the ‘civilized country’<br />

ideology. The result was the rapid physical<br />

change of Siamese cities. Siam was developed<br />

following the western ideas in many ways. For<br />

example, many governmental buildings were<br />

built following precedents in the west. This<br />

includes the Ministry of Defense building (on<br />

Sanam Chai Road), the Royal Court of Justice,<br />

The Old Customs House, Royal Thai Survey<br />

Department at the Royal Thai Armed Forces<br />

Headquarters, Ministry of Foreign Affairs<br />

building, Vajiravudh College.<br />

Residences of royal family members and<br />

court officials, too, were built in western style.<br />

Some of these examples are Bang Khun Phrom<br />

palace, Parusakawan Palace, Dusit Palace,<br />

Varadis Palace, Varichaves Palace, Israsena<br />

Mansion, Phitsanulok Mansion, Baan Manangkasila,<br />

Suriyanuwat Building.<br />

This exciting era also saw the development<br />

and reformation of rail transport, modern system<br />

of electrical and water supply, telegram and post,<br />

judicial system, and governmental reforms.<br />

In this period, modern roads were not just for<br />

getting around, they also served two more<br />

purposes: economic purpose and symbol of<br />

modern civilizations. Roads brought<br />

about construction of shophouses and as a<br />

consequence, income from rent and trade. There<br />

are historic evidences that suggest that income<br />

from shophouse renting was one of the main<br />

incentives for road building. For example, 18 new<br />

streets were built in Sampeng and Phraeng Nara.<br />

Modern roads symbolized civilized cities,<br />

portrayed the image of Siam as a modern,<br />

progressive nation on a par with leading nations<br />

of the world. The prominent example of this was<br />

Ratchadamnoen Avenue.<br />

There were more than 110 roads in the reign<br />

of King Chulalongkorn. Road transportation<br />

rapidly became as important as (or probably<br />

more important than) canal transportation<br />

which was the main transportation routes of the<br />

old Siam. Within the walls Phra Nakhon alone,<br />

there were 39 new roads.<br />

拉 玛 五 世 在 整 个 执 政 期 间 , 都 致 力 于 在 暹 罗 建 立 新 的 社 会 文 明 , 也 使 得<br />

这 段 时 期 的 暹 罗 国 整 体 实 力 在 短 时 间 内 得 到 了 飞 速 的 发 展 。 在 很 多 方 面<br />

都 效 仿 西 方 国 家 大 力 发 展 国 家 , 修 建 了 很 多 西 式 建 筑 和 政 府 行 政 楼 , 例<br />

如 : 国 防 部 驻 地 、 国 家 法 院 、 海 关 部 、 军 事 测 绘 部 、 外 事 处 、 维 基 拉 吾<br />

大 学 等 等 。<br />

执 政 者 以 及 高 层 贵 族 的 住 所 建 造 风 格 也 开 始 向 欧 式 风 格 转 变 , 例<br />

如 : 邦 坤 弗 洛 宫 殿 、 巴 鲁 斯 卡 湾 宫 殿 、 川 登 喜 宫 殿 、 维 拉 迪 斯 宫 殿 、 瓦<br />

拉 维 斯 宫 殿 、 逸 顺 塞 纳 故 居 、 彭 世 洛 故 居 、 曼 那 卡 斯 拉 故 居 、 苏 利 亚 努<br />

瓦 图 书 馆 等 等 。<br />

此 外 , 在 这 个 以 惊 人 速 度 迅 速 发 展 的 时 期 , 火 车 、 电 力 、 自 来 水 厂<br />

也 得 到 了 发 展 , 也 出 现 了 电 报 这 样 的 通 讯 工 具 , 法 院 体 系 的 改 革 以 及 仿<br />

照 欧 洲 国 家 的 体 系 对 政 府 执 政 部 门 进 行 了 相 关 的 改 革 。<br />

公 路 交 通 网 络 对 一 座 城 市 的 发 展 , 不 仅 仅 是 起 到 运 输 、 连 接 的 作<br />

用 , 新 式 道 路 或 多 或 少 还 在 两 个 方 面 起 到 重 要 的 作 用 。 第 一 个 方 面 就 是<br />

经 济 方 面 , 由 于 道 路 的 两 边 会 修 建 很 多 的 楼 房 , 无 论 是 沿 街 的 商 业 贸 易<br />

还 是 房 租 费 用 , 都 是 会 带 来 很 可 观 的 经 济 收 入 , 这 一 点 也 成 了 在 道 路 两<br />

旁 修 建 房 屋 的 重 要 因 素 。 例 如 : 三 聘 区 的 十 八 条 街 和 蓬 拉 那 路 等 等 。<br />

第 二 个 方 面 就 是 新 式 道 路 作 为 一 座 城 市 最 直 观 的 面 貌 , 直 接 体 现 了<br />

暹 罗 国 当 时 的 强 大 和 进 步 , 也 是 一 座 城 市 文 明 的 象 征 , 最 典 型 的 例 子 就<br />

是 拉 差 丹 嫩 路 。<br />

正 因 如 此 , 拉 玛 五 世 执 政 期 间 有 多 大 一 百 一 十 条 街 道 , 直 接 导 致 这<br />

些 地 区 的 经 济 和 交 通 得 到 高 速 发 展 。 而 拍 那 空 内 新 修 建 的 道 路 有 三 十 九<br />

条 , 所 以 主 要 的 交 通 方 式 还 是 以 旧 暹 罗 时 期 的 水 运 为 主 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

39


หากจะมองถนนราชดำเนินในอีกแง่หนึ่งก็จะ<br />

พบว่า ถนนสายนี้เป็นเสมือนถนนที่เชื่อมโยงระหว่าง<br />

วัฒนธรรมแบบจารีตของสยามกับวัฒนธรรมสมัย<br />

ใหม่แบบตะวันตกเข้าด้วยกัน เนื่องจากกายภาพของ<br />

ถนนสายนี้เป็นถนนที่ตัดเชื่อมจากพื้นที่ทาง<br />

วัฒนธรรมแบบจารีตที่เป็นหัวใจของ “สยามเก่า” คือ<br />

พระบรมมหาราชวังและวัดพระศรีรัตนศาสดาราม<br />

เข้ากับพื้นที่ทางวัฒนธรรมสมัยใหม่ที่เป็นหัวใจของ<br />

“สยามใหม่” คือ พระราชวังดุสิตและวัดเบญจมบพิตร<br />

ดุสิตวนาราม และนี่เองทำให้ถนนราชดำเนินดำรง<br />

สถานะพิเศษในเชิงสัญลักษณ์ยิ่งกว่าถนนทุกสายใน<br />

ประเทศไทยนับจากนั้นเป็นต้นมา<br />

นอกจากนี้ถนนราชดำเนินและโครงข่ายถนน<br />

ที่เกี่ยวข้องยังส่งผลทำให้เกิดการเจริญเติบโต<br />

มากมายของกรุงเทพฯ ทางด้านทิศเหนือ เป็นการเปิด<br />

พื้นที่ทางด้านเหนือที่ไม่เคยได้รับการพัฒนาอย่าง<br />

จริงจังมาก่อนนับตั้งแต่การสร้างกรุงเทพฯ ใน<br />

พ.ศ. ๒๓๒๕ เป็นต้นมา เกิดย่านราชการและวัง<br />

เจ้านายตลอดจนข้าราชบริพารที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น<br />

ผ่านการตัดถนนราชดำเนินและการสร้างพระราชวัง<br />

ดุสิต มีการสร้างงานสถาปัตยกรรมมากมายรองรับ<br />

การขยายตัวขนาดใหญ่ในครั้งนี้<br />

เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจการค้าเพิ่มขึ้น<br />

ในรูปแบบต่างๆ ต่อมา ที่สำคัญคือการเกิดขึ้นของ<br />

ตึกแถวและการค้าโดยรอบ แม้ว่าในช่วงต้นมูลค่า<br />

ทางเศรษฐกิจการค้าริมถนนในพื้นที่ด้านเหนือแถบ<br />

พระราชวังดุสิตและถนนราชดำเนินจะไม่ขยายตัว<br />

มากนักหากเทียบกับบริเวณโดยรอบของถนน<br />

ในกำแพงพระนครและนอกพระนครทางทิศใต้<br />

เนื่องจากพื้นที่ส่วนใหญ่ที่ถนนตัดผ่านล้วนเป็นพื้นที่<br />

ทางการเกษตรเป็นหลัก แต่ในปัจจุบันก็คงเป็น<br />

ที่ประจักษ์ชัดแล้วว่ามีการขยายตัวของชุมชน<br />

40<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


One of the prominent construction projects<br />

was the expansion of the city by extending the<br />

road networks northwards, along with building<br />

Dusit Palace as the new Royal palace and center<br />

of the Kingdom. The land to the north of the city<br />

had been left largely abandoned prior to this<br />

major project.<br />

Within the boundary of Dusit Palace alone,<br />

a network of as many as 50 roads was laid out.<br />

There excluded more roads that connected<br />

the Palace with other points in the city. All these<br />

led to the growth and physical expansion of<br />

Rattanakosin Kingdom.<br />

ENLARGING SANAM LUANG<br />

Sanam Luang had existed since Rattanakosin<br />

Kingdom was founded. It was an open field<br />

between the Grand Palace and the Front Palace<br />

(Wang Na) and served the same purpose as<br />

Sanam Na Chakravarti of Ayutthaya.<br />

Sanam Luang has been used for cremation<br />

ceremony for Kings and high-ranking members<br />

of the Royal families. General public referred to<br />

Sanam Luang as “Thung Phra Men” (translated<br />

as the Royal cremation ground). Sanam Luang<br />

was also used for rice growing. When there was<br />

no royal cremation ceremony, Thung Phra Men<br />

was left as an uncultivated natural land.<br />

King Mongkut changed the name of “Thung<br />

Phra Men” to “Sanam Luang” as he thought<br />

“Thung Phra Men” carried an inauspicious<br />

connotation, and was not suitable for this<br />

location.<br />

Sanam Luang in the early days of the<br />

establishment of <strong>Bangkok</strong> had a trapezoid<br />

shape, and had an area of only half of its present<br />

size. The extra area added to Sanam Luang<br />

was previously an area belonged to the Front<br />

Palace. After Krom Phra Ratchawang Bowon<br />

Wichaichan, holder of the Wang Na title under<br />

the reign of King Chulalongkorn, passed away;<br />

King Chulalongkorn abolished the title ‘Wang<br />

Na’ and introduced the ‘Crown Prince’ title<br />

instead. Eastern walls of the Front Palace were<br />

demolished and Sanam Luang enlarged into an<br />

oval-shaped as we see today. King Chulalongkorn<br />

also ordered two rows of tamarind trees to be<br />

planted around Sanam Luang following examples<br />

of public parks he had visited in Europe.<br />

这 个 时 期 对 曼 谷 城 市 面 貌 影 响 最 大 的 工 程 是 通 过 对 交 通 网 络 向 北 延<br />

伸 修 建 , 来 扩 建 整 个 城 市 , 同 时 还 新 修 建 了 登 喜 宫 殿 ( 开 始 命 名 为 川 登<br />

喜 宫 殿 ), 成 为 了 城 市 新 的 中 心 , 使 得 北 边 较 为 荒 凉 的 地 区 也 得 到 了 发<br />

展 , 慢 慢 变 得 繁 荣 起 来 。<br />

仅 仅 是 登 喜 宫 殿 这 一 个 区 域 , 执 政 者 就 规 划 修 建 了 多 达 五 十 条 街 道<br />

的 交 通 网 络 , 其 中 还 不 包 括 其 他 地 区 连 接 到 川 登 喜 宫 殿 的 道 路 。 总 而 言<br />

之 , 当 时 不 仅 仅 是 在 社 会 经 济 方 面 得 到 了 蓬 勃 的 发 展 , 同 时 也 扩 大 了 拉<br />

达 纳 哥 信 王 朝 统 治 区 的 版 图 。<br />

皇 家 田 广 场 的 扩 建<br />

在 拉 达 纳 哥 信 王 朝 初 期 就 已 经 皇 家 田 广 场 就 已 经 修 建 好 了 , 是 在 大<br />

皇 宫 ( 前 王 ) 和 蓬 宫 圣 地 ( 后 王 ) 之 间 的 一 片 空 旷 的 土 地 , 其 作 用 与 大<br />

城 王 朝 时 期 的 那 咋 洛 翁 广 场 的 用 途 是 一 样 的 。<br />

皇 家 田 广 场 的 修 建 , 是 用 来 作 为 为 国 王 或 者 高 层 皇 室 成 员 举 行 葬 礼<br />

的 地 点 , 以 前 的 人 把 这 个 地 方 称 之 为 “ 举 行 火 葬 的 田 野 ”, 有 时 候 也 用<br />

来 作 为 皇 家 的 田 地 进 行 耕 种 。 但 是 如 果 没 有 葬 礼 需 要 举 行 , 人 们 口 中 的 “<br />

举 行 火 葬 的 田 野 ” 就 会 闲 置 下 来 , 长 满 了 杂 草 , 成 为 一 片 自 然 的 沼 泽 地 。<br />

后 来 拉 玛 四 世 下 令 将 “ 举 行 火 葬 的 田 野 ” 更 名 为 “ 皇 家 田 广 场 ”,<br />

原 因 是 国 王 认 为 大 家 所 称 呼 的 “ 火 葬 的 田 野 ” 在 佛 教 文 化 中 具 有 吉 祥 的<br />

意 义 , 与 这 片 土 地 的 实 际 用 途 不 相 符 合 , 所 以 下 令 让 大 家 把 这 个 地 方 叫<br />

做 “ 皇 家 田 广 场 ”。<br />

曼 谷 城 刚 刚 修 建 起 来 的 时 候 , 皇 家 田 广 场 所 占 的 面 积 是 一 块 四 方 梯<br />

形 的 土 地 , 仅 仅 是 现 在 皇 家 田 广 场 面 积 的 一 半 。 皇 家 田 广 场 第 一 次 扩 大<br />

的 原 因 是 当 波 沃 维 差 澶 士 官 ( 拉 玛 五 世 的 前 王 ) 去 世 后 , 拉 玛 五 世 并 下<br />

令 将 这 个 职 位 取 消 , 而 用 皇 太 子 来 代 替 。 因 为 这 次 机 会 , 国 王 就 将 皇 家<br />

田 广 场 扩 张 到 前 宫 的 位 置 , 并 且 打 破 了 前 宫 东 边 的 城 墙 , 然 后 把 前 宫 的<br />

面 积 和 原 来 的 广 场 的 面 积 连 在 一 起 , 就 是 现 在 的 呈 椭 圆 形 的 皇 家 田 广 场 。<br />

并 且 在 广 场 周 围 种 植 了 两 排 罗 望 子 数 , 以 便 有 乘 凉 的 地 方 , 这 也 是 来 源<br />

于 拉 玛 五 世 在 欧 洲 亲 自 看 到 的 自 然 风 景 而 产 生 的 灵 感 。<br />

佛 历 2425 年 , 为 了 庆 祝 建 立 王 朝 100 周 年 纪 念 日 , 拉 玛 五 世 把 皇 家<br />

田 广 场 作 游 行 队 伍 使 用 的 位 置 , 还 举 行 为 期 三 个 月 贸 易 会 、 开 放 展 览 馆<br />

等 等 。 除 了 这 些 活 动 以 外 , 拉 玛 五 世 还 用 新 建 的 皇 家 田 广 场 作 为 高 尔 夫<br />

球 场 、 风 筝 赛 场 和 赛 马 场 等 等 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

41


และเศรษฐกิจเพิ่มมากขึ้นโดยลำดับผ่านโครงข่าย<br />

ถนนที่รัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าฯ ให้ตัดขึ้นเพื่อรองรับ<br />

พื้นที่พระราชวังดุสิตและถนนราชดำเนิน พื้นที่แห่ง<br />

“ความศิวิไลซ์ใหม่” ของสยามและของกรุงเทพฯ<br />

สะพานพระพุทธยอดฟ้า - เชื่อมสองฝั่งกรุงเทพฯ<br />

เมื่อกรุงเทพฯ กำลังจะครบรอบอายุ ๑๕๐ ปี<br />

ใน พ.ศ. ๒๔๗๕ รัชกาลที่ ๗ ทรงพระราชปรารภว่า<br />

สมควรมีการสมโภชและสร้างสิ่งสำคัญเป็นอนุสรณ์<br />

ขึ้นไว้ให้ปรากฎแก่อารยชนในนานาประเทศ พระองค์<br />

ทรงปรึกษากับแก่อภิรัฐมนตรีและเสนาบดีซึ่งเห็น<br />

ชอบด้วยพระราชดำริว่า ควรสร้างปฐมบรมราชานุสรณ์<br />

โดยมี ๒ สิ่งประกอบกันคือ พระบรมรูปพระบาท<br />

สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก องค์ปฐมกษัตริย์<br />

และสร้างสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาเชื่อมฝั่งพระ<br />

นครและฝั่งธนบุรี<br />

พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า<br />

จุฬาโลกนั้น ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้า<br />

บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรง<br />

ออกแบบ ให้ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี ปั้นหุ่นหล่อ<br />

ส่วนสะพานทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระเจ้า<br />

บรมวงศ์เธอ กรมพระยากำแพงเพชรอัครโยธิน<br />

อำนวยการสร้าง และพระราชทานนามว่า “สะพาน<br />

พระพุทธยอดฟ้า” โดยพระองค์ได้ทรงเลือกแบบของ<br />

“บริษัทดอร์แมนลอง” ประเทศอังกฤษ โดยแบบที่<br />

เลือกนั้นวางผังเป็นรูป “ลูกศร” ชี้ไปทางฝั่งธนบุรี ซึ่ง<br />

เป็นการออกแบบโดยใช้ตราพระราชลัญกรของ<br />

รัชกาลที่ ๗ มาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบ<br />

แล้วเสร็จเมื่อวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ซึ่งเป็น<br />

วันครบ ๑๕๐ ปี และมีการพระราชพิธีเฉลิมฉลอง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

สะพานพระพุทธยอดฟ้า ได้กลายเป็นสะพาน<br />

ขนาดใหญ่ที่เชื่อมพื้นที่ฝั่งพระนครกับฝั่งธนบุรีเข้า<br />

ด้วยกัน ทำให้เกิดการคมนาคมเชื่อมต่อกันอย่าง<br />

สะดวกมากขึ้น และส่งผลทำให้พื้นที่ฝั่งธนบุรีและ<br />

กรุงเทพฯ โดยภาพรวมเกิดการขยายตัวและเจริญขึ้น<br />

เป็นอย่างมาก สองข้างทางและอาณาบริเวณโดยรอบ<br />

ในส่วนฝั่งพระนครได้เกิดการขยายตัวเป็นย่านการค้า<br />

และบันเทิงที่สำคัญๆ ในเวลาต่อมาเช่น วังบูรพา<br />

และย่านแถบโรงภาพยนตร์เฉลิมกรุง เป็นต้น ส่วน<br />

ฝั่งธนบุรี ได้เกิดเป็นแนวถนนประชาธิปก วงเวียน<br />

ใหญ่ และถนนสมเด็จพระเจ้าตากสินในเวลาต่อมา<br />

ซึ่งเป็นการเปิดพื้นที่ความเจริญให้เกิดขึ ้นในย่านฝั่ง<br />

ธนบุรีที่สำคัญยิ่ง<br />

กรุงเทพฯ ในยุคสมัยนี้ได้ขยายตัวออกไปใน<br />

ทุกทิศทุกทางทั้งทางตะวันออกในสมัยรัชกาลที่ ๔<br />

ผ่านการตัดถนนบำรุงเมืองและพระรามที่ ๑ ด้าน<br />

ทิศเหนือในสมัยรัชกาลที่ ๕ ผ่านการตัดถนน<br />

ราชดำเนิน การสร้างวังสวนดุสิตและการตัดถนน<br />

เครือข่ายอื่นๆ ที่สัมพันธ์กับการสร้างพระราชวังใหม่<br />

ด้านทิศใต้ข้ามยาวมาจนถึงฝั่งธนบุรีความเจริญก็ได้<br />

วิ่งมาตามแนวสะพานพุทธและถนนประชาธิปก<br />

กรุงเทพฯ ในฐานะ “มหานคร” ยุคหลังเปลี่ยนแปลง<br />

การปกครอง<br />

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ<br />

พ.ศ. ๒๔๗๕ การพัฒนาเมืองได้ขยายตัวเพิ่มมากขึ้น<br />

โดยลำดับ มีการทำโครงการพัฒนาถนนราชดำเนินกลาง<br />

ครั้งใหญ่ สร้างตึกแถวตามรูปแบบ “สถาปัตยกรรม<br />

สมัยใหม่” สองข้างทาง สร้างอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย<br />

และตัดถนนขึ้นตรงไปทางเหนือผ่านถนนพหลโยธิน<br />

เพื่อเชื่อมยาวไปสู่จังหวัดลพบุรีและจังหวัดอื่นๆ ทาง<br />

ภาคเหนือ ถนนพหลโยธินได้กลายเป็นถนนสาย<br />

สำคัญในยุคสมัยนี้และนำมาซึ่งการพัฒนาเมืองขึ้น<br />

ไปทางทิศเหนือครั้งสำคัญ<br />

ถนนพหลโยธินในหลายจุดได้มีการพัฒนาขึ้น<br />

เป็นย่านสำคัญผ่านโครงการก่อสร้างทางสถาปัตย-<br />

กรรมหลายชิ้นในช่วงระยะเวลานี้ ที่สำคัญเช่น<br />

การสร้างอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิใน พ.ศ. ๒๔๘๕<br />

ซึ่งได้กลายเป็นจุดหมายตาสำคัญของกรุงเทพฯ<br />

การสร้างอนุสาวรีย์นี้ได้นำไปสู่การพัฒนาพื้นที่โดย<br />

รอบขึ้นเป็นย่านชุมชนและย่านเศรษฐกิจสมัยใหม่<br />

เป็นจุดที่เชื่อมต่อเข้ากับถนนราชวิถีที่วิ่งผ่าน<br />

พระราชวังดุสิต และต่อมายังได้เชื่อมต่อไปยัง<br />

42<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


For the centennial celebrations of <strong>Bangkok</strong><br />

as the capital city in 1882, King Chulalongkorn<br />

used Sanam Luang as the site for the Royal<br />

procession. A three-month long exhibition and<br />

fair was held. In the reign of King Chulalongkorn,<br />

Sanam Luang was only used for golf, kite<br />

competition, and horse racing.<br />

RATCHADAMNOEN AVENUE: THE CIVILIZED<br />

SIAM<br />

Among 110 streets built in the reign of King<br />

Chulalongkorn, the most prominent, the most<br />

picturesque, and the one with the greatest<br />

importance symbolically in conveying the image<br />

of civilized Siam, would be no other than<br />

“Ratchadamnoen Avenue”<br />

Ratchadamnoen Avenue consists of three<br />

avenues: Ratchadamnoen Nok, Ratchadamnoen<br />

Klang, Ratchadamnoen Nai. The avenue started<br />

from Pruettibas road, through Ban lhor District,<br />

to Hakkamlangdassakorn Fort, across Khlong<br />

Phadung Krung Kasem, and joined with<br />

Benjamas Road in Dusit Palace. Construction<br />

started in August 1899 as a thoroughfare for<br />

royal journeys to and from Dusit Palace.<br />

The three sections are collectively called<br />

“Ratchadamnoen Avenue”. The Avenue cut<br />

through 3 prominent canals: Khu Mueang Doem,<br />

Klong Rob Krung, and Khlong Phadung Krung<br />

Kasem. King Chulalongkorn had the Department<br />

of Public Works and Town & Country Planning<br />

constructed new bridges in western style to<br />

decorate and to join the three sections of the<br />

Avenue together. The three bridges, which make<br />

Ratchadamnoen the most visually stunning<br />

avenue in Siam, are Phan Phiphop Lila, Phan Fa<br />

Lilat, and Makkhawan Rangsan.<br />

The significance of Ratchadamnoen was<br />

not only the thoroughfare for Royal journeys<br />

between the Grand Palace and Dusit Palace,<br />

but the ‘backdrop of civilizations’ of Siam to<br />

the world. Ratchadamnoen Avenue, along with<br />

its contemporary, Dusit Palace, were both<br />

developments to Siam which followed the<br />

western examples.<br />

Another aspect of Ratchadamnoen Avenue<br />

is the fact that it ties the traditional society of<br />

the old Siam, to the modern society following<br />

western influences together. The Grand Palace<br />

and Wat Phra Kaew- the heart of the “old Siam”,<br />

and Dusit Palace and Wat Benchamabophit –<br />

the heart of the “new Siam”, are linked together<br />

叻 差 丹 嫩 路 : 文 明 之 路<br />

在 拉 玛 五 世 执 政 期 间 修 建 的 一 百 一 十 条 道 路 中 , 最 重 要 、 最 漂 亮 、<br />

对 城 市 面 貌 影 响 最 大 以 及 最 具 有 文 明 象 征 的 道 路 就 是 叻 差 丹 嫩 路 。<br />

叻 差 丹 嫩 路 包 括 三 条 马 路 , 分 别 是 叻 差 丹 嫩 外 道 , 叻 差 丹 嫩 路 中 路 和 叻<br />

差 丹 嫩 路 内 道 , 从 普 提 巴 路 开 始 , 途 径 邦 罗 区 , 直 走 就 是 哈 甘 瑯 达 撒 空<br />

堡 垒 , 穿 过 帕 都 宮 咖 瑟 河 道 后 到 堋 砸 玛 路 为 止 , 那 里 就 是 律 实 皇 宫 。 这<br />

条 路 修 建 于 佛 历 2442 年 , 修 建 的 目 的 是 为 了 拉 玛 五 世 返 回 律 实 皇 宫 时 更<br />

加 方 便 。<br />

这 三 条 路 可 以 被 合 称 为 叻 差 丹 嫩 路 , 整 条 道 路 经 过 了 三 条 重 要 的 河<br />

道 , 分 别 是 原 来 的 护 城 河 、 绕 城 河 和 帕 都 宮 咖 瑟 河 。 拉 玛 五 世 下 旨 让 公<br />

共 工 程 部 修 建 新 式 的 具 有 西 式 风 格 的 桥 梁 , 使 得 三 条 道 路 能 够 连 接 在 一<br />

起 同 时 也 显 得 更 加 美 观 , 三 座 桥 梁 分 别 是 庞 丕 珀 利 拉 桥 、 庞 珐 利 拉 桥 和<br />

玛 卡 宛 拉 散 桥 。 从 而 使 得 叻 差 丹 嫩 路 成 为 了 暹 罗 最 漂 亮 和 最 宏 伟 的 道 路 。<br />

叻 差 丹 嫩 路 的 意 义 不 仅 仅 是 作 为 拉 玛 五 世 回 宫 时 的 通 道 , 这 条 道 路<br />

扮 演 的 另 一 个 重 要 的 角 色 是 作 为 暹 罗 城 市 文 明 的 象 征 , 展 示 在 世 人 眼 前 。<br />

而 且 在 这 条 道 路 的 修 建 是 和 律 实 皇 宫 同 期 修 建 的 , 可 以 认 为 是 泰 国 文 化<br />

和 西 方 文 化 的 融 合 , 当 然 所 以 也 可 以 看 作 是 学 习 西 方 建 筑 风 格 建 造 宫 殿<br />

和 道 路 的 表 现 。<br />

如 果 从 另 一 个 方 面 来 看 叻 差 丹 嫩 路 , 可 以 看 到 这 条 道 路 是 连 接 了 泰<br />

国 传 统 文 化 和 新 文 化 的 桥 梁 , 因 为 这 条 道 路 的 一 端 是 泰 国 传 统 文 化 的 中<br />

心 , 也 就 是 大 皇 宫 和 玉 佛 寺 。 连 接 的 另 一 端 就 是 泰 国 新 文 化 的 中 心 , 就<br />

是 律 实 皇 宫 和 云 石 寺 。 因 此 从 那 时 起 , 叻 差 丹 嫩 路 比 起 泰 国 其 他 的 任 何<br />

一 条 道 路 , 在 文 化 象 征 意 义 方 面 都 显 得 更 加 重 要 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

43


44<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

45


สะพานกรุงธนบุรี (สะพานซังฮี้) ที่เป็นสะพานข้าม<br />

แม่น้ำเจ้าพระยาอีกแห่งหนึ่งที่ถูกสร้างขึ้นใน<br />

พ.ศ. ๒๔๙๗ - ๒๕๐๑ ทั้งหมดได้กลายเป็นจุดเชื่อม<br />

การคมนาคมที่สำคัญมากที่สุดจุดหนึ่งในพื้นที่ตอน<br />

เหนือของกรุงเทพฯ<br />

ถัดขึ้นไปตามถนนพหลโยธินคือย่านบางเขนที่<br />

ถูกพัฒนาขึ้นอย่างมากในช่วงทศวรรษ ๒๔๘๐<br />

ภายหลังการปราบกบฏบวรเดชสำเร็จใน พ.ศ.<br />

๒๔๗๖ พื้นที่นี้ได้มีโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ขึ้น<br />

มากมาย เช่น วัดพระศรีมหาธาตุบางเขน อนุสาวรีย์<br />

พิทักษ์รัฐธรรมนูญ ตลอดจนสถานที่ราชการมากมาย<br />

และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จนพื้นที่นี้เกิดเป็น<br />

ย่านชุมชนใหญ่ที่เชื่อมต่อเนื่องขึ้นไปจนถึงย่าน<br />

ดอนเมืองในเวลาต่อมา<br />

ในส่วนพื้นที่ตอนใต้ของกรุงเทพฯ ใน พ.ศ.<br />

๒๔๙๖ ได้มีการจัดสร้างอนุสาวรีย์พระเจ้ากรุงธนบุรี<br />

และวงเวียนใหญ่ขึ้น โดยวงเวียนนี้ได้กลายเป็นจุด<br />

เชื่อมต่อเส้นทางข้ามแม่น้ำเจ้าพระยามาจากสะพาน<br />

พุทธและต่อเนื่องไปตามถนนเพชรเกษมที ่สร้างขึ้น<br />

ใหม่ใน พ.ศ. ๒๔๙๓ ทำให้การขยายเมืองกรุงเทพฯ<br />

ลงทางทิศใต้เป็นไปได้อย่างสะดวกมากขึ้น และการ<br />

เชื่อมต่อเส้นทางถนนลงไปยังพื้นที่ภาคใต้ของ<br />

ประเทศก็ได้เริ่มขยายตัวอย่างจริงจังนับตั้งแต่นั้น<br />

เป็นต้นมา<br />

ภูมิภาคตะวันออกก็เช่นเดียวกัน ในช่วงนี ้ได้มี<br />

การขยายถนนสุขุมวิทที่แต่เดิมตัดไปถึงเพียงแค่<br />

สมุทรปราการเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๙ ให้ขยายยาวต่อเนื่อง<br />

ไปเชื่อมกับจังหวัดต่างๆ ในภาคตะวันออก เช่น<br />

ชลบุรี ระยอง และไปสิ้นสุดที่จังหวัดตราดใน พ.ศ.<br />

๒๔๙๓<br />

อาจกล่าวได้ว่าในช่วงเวลานับตั้งแต่ พ.ศ.<br />

๒๔๗๕ - ๒๕๐๐ กรุงเทพฯ ได้มีการพัฒนาการ<br />

ออกแบบผังเมืองขึ้นไปในอีกระดับ กรุงเทพฯ กลาย<br />

เป็นศูนย์กลางที่เชื่อมโยงเมืองในภูมิภาคต่างๆ<br />

เข้ามารวมศูนย์ที่กรุงเทพฯ อย่างแท้จริงผ่านโครงข่าย<br />

ของถนนมากมายที่ถูกตัดขึ ้นในเวลานี้ กรุงเทพฯ<br />

กลายเป็นเมืองที่ดูดซับทรัพยากรจากภูมิภาคต่างๆ<br />

กรุงเทพฯ กลายเป็น “มหานคร” (metropolis)<br />

อย่างแท้จริงและกลายเป็นจุดหมายปลายทางของ<br />

การอพยพเข้ามาของคนต่างจังหวัด ประชากรที่<br />

อาศัยในกรุงเทพฯ ขยายตัวขนานใหญ่นับตั้งแต่นั ้น<br />

เป็นต้นมา<br />

เมื่อถนนแทนที่คลอง การมาถึงของผังเมือง<br />

สมัยใหม่ และความเสื่อมโทรม<br />

ด้วยการขยายตัวอย่างรวดเร็วของกรุงเทพฯ<br />

นำมาซึ่งปัญหาด้านต่างๆ ที่เพิ่มสูงขึ้น แผนการ<br />

บริหารและจัดการทางด้านผังเมืองอย่างเป็นระบบ<br />

ตามมาตรฐานสมัยใหม่จึงเริ่มถูกนำมาใช้ โดยใน<br />

พ.ศ. ๒๔๙๘ ได้มีการเชิญหน่วยงาน USOM (United<br />

States Overseas Mission) เข้ามาเป็นที่ปรึกษาทาง<br />

ด้านการวางผังเมือง ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๐๐ รัฐบาล<br />

ได้มีการทำสัญญาดำเนินโครงการ “ผังนครหลวง”<br />

(Greater <strong>Bangkok</strong> Plan) ขึ้นโดยว่าจ้างบริษัทลิช<br />

ฟิลด์ (Litchfield Whiting Bowne & Associates)<br />

เข้ามาทำการศึกษาโดยมีเป้าหมายหลักคือการจัดทำ<br />

ผังเมืองกรุงเทพฯ อย่างเป็นระบบรองรับการเติบโต<br />

ในอีก ๓๐ ปี ข้างหน้า (พ.ศ. ๒๕๐๓ - ๒๕๓๓) และ<br />

นำมาสู่การออก “พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ.<br />

๒๕๑๘” ซึ่งถือเป็นกฎหมายทางด้านผังเมืองฉบับแรก<br />

แม้ว่าในการปฏิบัติใช้จริงจะไม่สามารถดำเนิน<br />

การได้อย่างเต็มประสิทธิภาพมากนัก แต่สิ่งนี้ก็<br />

ถือเป็นจุดเริ่มต้นในการออกแบบเมืองกรุงเทพฯ<br />

ภายใต้วิธีคิดว่าด้วยการแยกพื้นที่ตามประโยชน์<br />

ใช้สอยแบบต่างๆ (zoning) เช่น แยกเป็นพื้นที่ย่าน<br />

พักอาศัย พื้นที่พาณิชยกรรม พื้นที่อุตสาหกรรม พื้นที่<br />

เกษตรกรรม เป็นต้น ทั้งหมดเพื่อเตรียมรองรับกับ<br />

การพัฒนากรุงเทพฯ ที่กำลังพัฒนาไปอย่างก้าว<br />

กระโดด<br />

อย่างไรก็ตาม การเร่งรัดพัฒนาประเทศภายใต้<br />

ระบบทุนนิยมโลกาภิวัฒน์ที่ขยายตัวอย่างมากหลัง<br />

พ.ศ. ๒๕๐๐ จนนำมาสู่การจัดทำ “แผนพัฒนา<br />

เศรษฐกิจแห่งชาติ” ได้ทำให้กรุงเทพฯ ในฐานะเมือง<br />

หลวงและเป็นมหานครที่สำคัญที่สุดในระบบ<br />

เศรษฐกิจของประเทศขยายตัวมากขึ้นจนเกินกว่า<br />

46<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


y Ratchadamnoen Avenue. And this is why<br />

the Avenue holds a special status symbolically.<br />

Ratchadamnoen Avenue and its branches<br />

also brought about significant growth to<br />

the north of <strong>Bangkok</strong>. The construction of<br />

the Avenue meant the development of an<br />

unplanned, abandoned area of <strong>Bangkok</strong><br />

since the establishment of the capital city in 1782.<br />

A number of architectural heritage followed as<br />

a result of the construction of the Avenue: from<br />

government area, to palaces and mansions of<br />

royal family members and high-ranking officials.<br />

This major construction project also<br />

brought about economic growth, especially as<br />

a result of shophouses and trade center.<br />

Though in its early days, the economic values in<br />

the north of <strong>Bangkok</strong> around Dusit Palacae and<br />

Ratchadamnoen was not as high as those<br />

within the city walls and beyond the city walls to<br />

the south. This was because Ratchadamnoen<br />

cut through mainly agricultural land. Nowadays,<br />

nevertheless, we can see that social and<br />

economic growth of <strong>Bangkok</strong> occurred as<br />

a result of these networks of roads that King<br />

Chulalongkorn initiated – the avenue of new<br />

civilizations of <strong>Bangkok</strong> and Siam.<br />

PHRA PHUTTAYOTFA BRIDGE – CONNECTING<br />

THE TWO BANKS OF BANGKOK<br />

On the occasion of 150 years of <strong>Bangkok</strong> as<br />

the capital city of Siam in 1932, King Prajadhipok<br />

(Rama VII) initiated there would be a celebration<br />

and a project to build a national memorial to<br />

commemorate the event. The King consulted<br />

with the Supreme Council of State of Siam and<br />

ministers who agreed on building 2 memorials:<br />

the statue of King Rama I, and a bridge linking<br />

Phra Nakhon and Thonburi.<br />

The statue of King Rama I was designed by<br />

Prince Narisara Nuwattiwong and made by<br />

Professor Silpa Bhirasri. The construction of<br />

the bridge was managed by the Prince of<br />

Kamphaengphet. King Prajadhipok named the<br />

bridge “Phra Phuttayotfa Bridge” (Memorial<br />

Bridge in English). The design of the bridge was<br />

designed by Dorman Long, a British company.<br />

The design is a shape of an arrow pointing<br />

towards Thonburi, and was inspired by King<br />

Prajadhipok’s royal emblem. The construction<br />

completed on 6th April 1932 which was the 150 th<br />

anniversary of the establishment of <strong>Bangkok</strong> as<br />

the capital city.<br />

除 此 以 外 , 从 佛 历 2325 年 建 立 王 朝 以 来 , 叻 差 丹 嫩 路 和 相 关 的 交<br />

通 工 程 还 打 开 了 北 部 封 闭 的 地 区 , 促 使 了 曼 谷 经 济 的 繁 荣 发 展 。 由 于 叻<br />

差 丹 嫩 路 和 律 实 皇 宫 的 修 建 , 执 政 人 员 和 亲 王 的 居 住 区 也 逐 渐 增 多 , 为<br />

满 足 城 市 发 展 需 求 的 建 筑 物 也 大 量 被 修 建 起 来 。<br />

各 种 各 样 经 济 贸 易 形 式 也 在 接 下 来 的 时 间 中 慢 慢 得 到 发 展 , 比 较 重<br />

要 的 是 出 现 了 整 排 楼 房 式 和 贸 易 区 。 尽 管 当 时 律 实 皇 宫 北 边 和 叻 差 丹 嫩<br />

路 地 区 进 行 贸 易 的 商 品 价 值 较 低 , 繁 荣 度 也 比 不 上 拍 那 空 县 城 内 或 者 城<br />

外 的 南 边 地 区 , 是 由 于 当 时 修 建 道 路 经 过 的 地 区 大 部 分 是 以 农 民 为 主 ,<br />

但 是 到 现 在 为 止 的 发 展 状 况 来 看 , 通 过 修 建 交 通 干 道 确 实 能 够 为 这 片 区<br />

域 的 居 民 生 活 和 经 济 发 展 带 来 巨 大 的 提 升 。 也 证 明 了 拉 玛 五 世 下 令 修 建<br />

律 实 皇 宫 和 叻 差 丹 嫩 路 , 建 立 属 于 曼 谷 和 暹 罗 的 城 市 文 明 地 带 是 非 常 明<br />

智 的 。<br />

曼 谷 拉 玛 一 世 纪 念 大 桥 — 连 接 曼 谷 两 岸 地 区<br />

佛 历 2475 年 , 在 曼 谷 建 城 快 满 一 百 五 十 年 之 际 , 拉 玛 七 世 认 为 应<br />

当 举 行 庆 祝 活 动 和 建 造 一 座 具 有 重 要 纪 念 意 义 的 建 筑 , 同 时 也 是 展 现 国<br />

家 文 明 的 象 征 。 拉 玛 七 世 通 过 与 暹 罗 最 高 委 员 会 商 议 后 , 部 长 也 非 常 赞<br />

同 国 王 所 说 的 要 建 造 一 座 具 有 纪 念 意 义 的 建 筑 物 , 并 且 支 出 应 当 具 有 两<br />

个 意 义 , 第 一 个 就 是 要 有 拉 玛 一 世 的 雕 像 , 第 二 个 就 是 在 湄 南 河 上 建 造<br />

一 座 跨 河 大 桥 , 连 接 拍 那 空 和 吞 武 里 。<br />

至 于 拉 玛 一 世 的 雕 像 , 拉 玛 七 世 下 旨 由 那 里 沙 拉 · 努 瓦 迪 翁 亲 王 画<br />

好 图 像 、 设 计 , 然 后 由 皇 家 工 匠 进 行 雕 像 制 作 。 而 大 桥 的 建 造 拉 玛 七 世<br />

下 旨 由 普 拉 查 特 叻 · 差 亚 卡 叻 亲 王 作 为 总 监 工 负 责 整 个 工 程 , 七 世 皇 亲<br />

自 将 大 桥 命 名 为 “ 拉 玛 一 世 纪 念 大 桥 ”, 并 且 选 择 英 国 的 多 尔 曼 朗 公 司<br />

作 为 施 工 公 司 。 并 且 将 大 桥 主 体 设 计 为 一 个 箭 头 , 指 向 吞 武 里 方 向 , 这<br />

一 灵 感 是 拉 玛 七 世 从 国 王 印 章 上 的 团 上 得 来 的 。 修 建 完 工 的 日 期 是 佛 历<br />

2475 年 , 刚 好 是 一 百 五 十 年 的 纪 念 日 , 并 且 在 曼 谷 举 行 了 隆 重 庆 贺 仪<br />

式 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

47


การควบคุมของมาตรการทางผังเมืองใดๆ ทั้งสิ้น<br />

นโยบายการถมคลองเพื่อทำเป็นถนนถูกดำเนินการ<br />

อย่างเป็นระบบในช่วงหลัง พ.ศ. ๒๕๐๐ (เพราะ<br />

ทำได้ง่าย รวดเร็ว และประหยัดงบประมาณในการ<br />

เวนคืนที่ดิน) และเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาเมือง<br />

โดยหันหลังให้กับการคมนาคมทางน้ำอย่างสมบูรณ์<br />

คูคลองเริ่มเสื่อมสภาพเพราะน้ำไม่สามารถไหลเวียน<br />

ได้ตามธรรมชาติ พื้นที่ติดคลองกลายเป็นพื้นที่ไร้<br />

การพัฒนา ถูกละเลย และสุดท้ายกลายเป็นแหล่ง<br />

เสื่อมโทรม<br />

กรุงเทพฯ ยุคสมัยนี้แปรสภาพจาก เมืองน้ำ<br />

หรือ เวนิสตะวันออก กลายมาเป็น เมืองที่เน้นแต่<br />

การพัฒนาถนนและสิ่งก่อสร้างทางสถาปัตยกรรม<br />

เพื่อรองรับทุนนิยมโดยสมบูรณ์แบบ อาคารเก่าหลาย<br />

แห่งที่ตั้งในทำเลทางเศรษฐกิจเริ่มถูกรื้อถอนทำลาย<br />

เพื่อพัฒนาเป็นอาคารที่มีความสูงรองรับพื้นที่ใช้สอย<br />

ที่เพิ่มมากขึ้น กรุงเทพฯ เริ่มประสบปัญหาที่ไม่ต่าง<br />

จากมหานครใหญ่ๆ ในโลกที่อื่นๆ ที่เต็มไปด้วย<br />

การอพยพย้ายเข้ามาของคนต่างจังหวัด ประชากร<br />

แออัด การคมนาคมติดขัด และคุณภาพชีวิตเสื่อมโทรม<br />

แนวคิดการอนุรักษ์ย่านเมืองเก่าและกรุงเทพฯ<br />

ชั้นใน ในฐานะพื้นที่เพื่อการท่องเที่ยว<br />

กรุงเทพฯ ในทศวรรษที่ ๒๕๒๐ กลายเป็นเมือง<br />

ที่ขึ้นชื่อเรื่องปัญหาการคมนาคมและแหล่ง<br />

เสื่อมโทรมที่กระจายตัวไปทั่วกรุงเทพฯ ทั้งหมดนำ<br />

ไปสู่แนวความคิดในการฟื้นฟูเมืองกรุงเทพฯ โดย<br />

เฉพาะในย่านเมืองเก่าให้กลับมามีสภาพทาง<br />

กายภาพที่ดีขึ้น ความคิดนี้ถูกผลักดันอย่างเป็น<br />

ระบบมากขึ้นเพื่อให้ทันกับการเฉลิมฉลองกรุง<br />

รัตนโกสินทร์ ๒๐๐ ปี และสุดท้ายนำมาสู่การจัดตั้ง<br />

คณะกรรมการกรุงรัตนโกสินทร์ในที่สุด<br />

คณะกรรมการชุดนี ้มีเป้าหมายในการอนุรักษ์<br />

และพัฒนาพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นในให้มีความแออัดของ<br />

การใช้งานพื้นที่ลดลง ผ่านนโยบายการย้ายหน่วย<br />

งานราชการออกจากพื้นที่ไปตั้งในย่านรอบนอกของ<br />

เมือง เช่น ไปตั้งยังหน่วยราชการใหม่บริเวณถนน<br />

แจ้งวัฒนะ สำนักงานกรุงเทพมหานครย้ายไป<br />

ย่านดินแดง หน่วยงานทางการศาลทั้งหมด (ยกเว้น<br />

ศาลฎีกา) ถูกย้ายไปถนนรัชดาภิเษก ตลอดจน<br />

มหาวิทยาลัยก็ถูกขับเคลื่อนและผลักดันให้ย้ายไป<br />

ตั้งวิทยาเขตแถบชานเมืองแทน เช่น มหาวิทยาลัย<br />

ธรรมศาสตร์ย้ายไปรังสิต เป็นต้น<br />

ภายใต้นโยบายนี้ได้ทำให้ศูนย์กลางหน่วยงาน<br />

ราชการทั้งหลายที่เคยรวมศูนย์อยู่ในบริเวณใจกลาง<br />

กรุงเทพฯ ชั้นในมาโดยตลอดนับตั้งแต่สร้าง<br />

กรุงเทพฯ ถูกย้ายออกจากพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นในไปสู่<br />

พื้นที่กรุงเทพฯ รอบนอกเป็นครั้งแรก พื้นที่กรุงเทพฯ<br />

ชั้นในเริ่มเปลี่ยนสถานะจากศูนย์กลางการปกครอง<br />

และสถานที่ราชการมาเป็นสถานที่ท่องเที่ยวทาง<br />

วัฒนธรรม<br />

ในส่วนของอาคารเก่าต่างๆ ในพื้นที่ คณะกรรมการ<br />

ชุดนี ้มีนโยบายที่จะทำการอนุรักษ์และฟื้นฟูสภาพ<br />

แวดล้อมให้สวยงามกลับมาอีกครั้ง พร้อมทั้งการเปิด<br />

มุมมองที่สวยงามเข้าสู่อาคารเก่าเหล่านี้ ในส่วนของ<br />

พื้นที่พักอาศัยเสื่อมโทรมทั้งหลาย มีนโยบายที่จะรื้อ<br />

เพื่อทำสวนสาธารณะขนาดเล็ก (pocket park) โดย<br />

มุ่งหวังว่าจะเป็นการเพิ่มพื้นที่สีเขียวและคุณภาพ<br />

ชีวิตของคนเมืองให้สูงขึ้น พร้อมๆ ไปกับการพัฒนา<br />

อาคารเก่าและโบราณสถานทั้งหลายให้กลายเป็น<br />

สถานที่ท่องเที่ยว<br />

ภายใต้แนวคิดข้างต้น ได้นำมาสู่การปรับกายภาพ<br />

ของเมืองกรุงเทพฯ ชั้นในอย่ างมีนัยยะสำคัญ โครงการ<br />

ที่เห็นได้ชัดเจน เช่น การรื้อโรงภาพยนตร์เฉลิมไทย<br />

เพื ่อทำเป็นลานพลับพลามหาเจษฎาบดินทร์ และ<br />

เปิดมุมมองต่อโลหะปราสาท วัดราชนัดดาราม และ<br />

การทำสวนสันติไชยปราการบริเวณป้อมพระสุเมรุ เป็นต้น<br />

อย่างไรก็ตาม แม้เจตนาของคณะกรรมการกรุง<br />

รัตนโกสินทร์จะเต็มไปด้วยความหวังดีในการฟื้นฟู<br />

เมืองเก่ากรุงเทพฯ แต่ด้วยการวางแผนที่มีลักษณะ<br />

top down โดยปราศจากการมีส่วนร่วมจากภาค<br />

ประชาชนอย่างแท้จริง ทำให้แผนแม่บทที่กำหนดไว้<br />

ได้รับการต่อต้านจากประชาชนและนักวิชาการเป็น<br />

จำนวนมาก แผนการส่วนใหญ่จึงไม่สามารถดำเนิน<br />

การให้สำเร็จลุล่วงไปได้จวบจนกระทั่งในปัจจุบัน<br />

48<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


Phra Phuttayotfa Bridge was a large bridge<br />

connecting Phra Nakhon and Thonburi,<br />

facilitating traffic between the two sides of<br />

Chao Phraya River. This also resulted in social<br />

and economic growth. Commercial and<br />

entertainment districts in the Phra Nakhon area<br />

such as Wang Burapha and Chalermkrung<br />

Theatre followed as a result of this growth; while<br />

Prajadhipok Road, Wong Wian Yai and Prachao<br />

Taksin Road formed the commercial hub on<br />

Thonburi.<br />

<strong>Bangkok</strong>, in the reign of King Mongkut,<br />

expanded eastward following the construction<br />

of Bumrung Mueang Road and Rama I Road.<br />

Later in the reign of King Chulalongkorn, the city<br />

expanded northwards following the construction<br />

of Ratchadamnoen Avenue, Dusit Palace, and<br />

other road networks connecting Dusit Palace.<br />

Subsequently, <strong>Bangkok</strong> expanded southwards<br />

and across the River to Thonburi following the<br />

construction of Phra Phuttayotfa Bridge and<br />

Prajadhipok Road.<br />

BANGKOK THE “METROPOLIS” – POST 1932<br />

SIAMESE REVOLUTION<br />

After the Siamese Revolution in 1932, the city<br />

continued to grow. The extensive development<br />

plan for Ratchadamnoen Klang Avenue was<br />

realized. Buildings built in the style of “modern<br />

architecture” were built on either side of the<br />

Avenue, along with the Democracy Monument.<br />

Phahonyothin Road was built to connect Lopburi<br />

and other provinces to the north of <strong>Bangkok</strong>.<br />

The road became a major road in this era and<br />

led to the city expanding northward.<br />

Many sections along Phahonyothin Road<br />

became major hubs as a result of architectural<br />

features being built during this period. For<br />

example, the Victory Monument built in 1942<br />

has now become the landmark of <strong>Bangkok</strong>.<br />

As a consequence of the construction of<br />

the monument, the area around it grew into<br />

a residential and commercial hub. The<br />

monument connects with Ratchawithi Road –<br />

which leads to Dusit Palace as well as Krung Thon<br />

Bridge (or Sang Hi Bridge), a bridge built in 1954<br />

– 1958 spanning the two banks of Chao Phraya<br />

River. All of this has become one of the major<br />

transport route in the north of <strong>Bangkok</strong>.<br />

Bang Khen, one of the bustling communities<br />

along Phahonyothin Road, was significantly<br />

modernized in the B.E. 2480s (A.D. 1937). After<br />

曼 谷 拉 玛 一 世 纪 念 大 桥 是 一 座 将 拍 那 空 和 吞 武 里 连 接 在 一 起 的 大 型<br />

桥 梁 , 使 得 两 岸 的 交 通 更 加 便 利 , 使 得 吞 武 里 和 拍 那 空 两 个 地 区 的 经 济<br />

和 城 市 规 模 都 有 很 大 发 展 。 在 接 下 来 的 时 期 , 拍 那 空 区 不 断 发 展 成 为 了<br />

重 要 的 贸 易 区 和 娱 乐 区 , 如 : 布 拉 帕 王 宫 、 曼 谷 电 影 院 等 等 。 而 河 对 岸<br />

的 吞 武 里 区 , 则 是 在 接 下 来 的 时 间 里 修 建 了 巴 差 提 波 路 、 大 罗 斗 圈 和 郑<br />

信 大 帝 路 。 因 此 也 使 得 吞 武 里 区 更 加 的 繁 荣 。<br />

这 个 时 期 的 曼 谷 开 始 向 四 周 各 个 方 向 扩 张 发 展 , 拉 玛 四 世 时 期 因 为<br />

石 龙 军 路 和 拉 玛 一 路 的 修 建 向 东 边 延 伸 ; 拉 玛 五 世 时 期 则 因 为 叻 差 丹 嫩<br />

路 、 律 实 皇 宫 及 其 他 交 通 干 道 的 修 建 , 使 得 城 市 发 展 朝 着 北 边 地 带 扩 张 。<br />

由 于 修 建 新 皇 宫 的 原 因 , 南 边 地 带 也 在 拉 玛 一 世 纪 念 大 桥 修 建 成 功 后 的<br />

影 响 下 , 各 个 方 面 也 开 始 了 新 的 发 展 。<br />

“ 大 都 市 ”— 曼 谷 在 新 时 代 背 景 下 的 统 治 变 化<br />

从 佛 历 2475 年 开 始 , 城 市 的 发 展 壮 大 突 飞 猛 进 , 首 先 是 完 成 了 扩<br />

建 拉 差 丹 嫩 大 道 的 工 程 , 并 且 在 道 路 两 边 修 建 新 式 建 筑 风 格 的 楼 房 , 还<br />

修 建 一 世 皇 胜 利 纪 念 碑 , 以 及 新 修 公 路 一 直 往 北 延 伸 直 达 华 富 里 府 和 北<br />

部 其 他 外 府 。 拍 凤 裕 庭 路 则 成 为 了 当 时 非 常 重 要 的 交 通 干 道 而 且 对 城 市<br />

北 边 的 经 济 发 展 来 说 具 有 巨 大 的 贡 献 意 义 。<br />

拍 凤 裕 庭 路 上 也 有 不 少 的 发 展 , 通 过 多 个 建 筑 项 目 的 修 建 , 使 其 开<br />

发 成 为 了 重 要 的 区 域 , 例 如 : 佛 历 2485 年 修 建 了 胜 利 纪 念 碑 , 后 来 就 变<br />

成 曼 谷 重 要 的 地 点 之 一 。 这 座 胜 利 纪 念 碑 的 修 建 , 使 得 周 边 区 域 发 展 成<br />

为 了 新 时 期 的 居 民 居 住 区 和 经 济 区 。 是 与 之 叻 提 路 的 交 叉 点 , 而 且 经 过<br />

川 登 喜 宫 殿 , 再 往 下 还 与 吞 武 里 大 桥 相 连 接 , 这 座 大 桥 修 建 于 佛 历 2497<br />

年 至 佛 历 2501 年 , 横 跨 湄 南 河 两 岸 。 这 些 地 段 都 成 为 了 连 接 整 个 曼 谷 市<br />

区 非 常 重 要 的 交 通 枢 纽 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

49


50<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


the Boworadet rebellion was defeated in 1933,<br />

many architectural features were built in<br />

this area. Examples are Wat Phra Sri Mahathat<br />

Bang Khen, the Fifth Constitution Monument,<br />

several governmental buildings, and Kasetsart<br />

University. This area became a large community<br />

and later expanded to connect with Don Mueang<br />

area.<br />

To the south of <strong>Bangkok</strong>, King Taksin the<br />

Great Monument was built in 1953 as well as<br />

Wong Wian Yai. This roundabout (Wong Wian)<br />

has become a connecting hub, between King<br />

Rama I Memorial Bridge spanning the Chao<br />

Phraya, and Phet Kasem Road (built in 1950)<br />

leading to southern provinces. Major<br />

developments to the south of Thailand started<br />

from this point forward.<br />

Similarly, for the eastern provinces, Sukhumvit<br />

Road which had previously culminated in Samut<br />

Prakan Province in 1936 was extended. The<br />

extension connected many eastern provinces<br />

such as Chonburi, Rayong, and concluded in Trat<br />

in 1950.<br />

It can be argued that the urban planning of<br />

<strong>Bangkok</strong> evolved between 1932-1957. Through<br />

several road networks built in this period,<br />

<strong>Bangkok</strong> became a central hub connecting<br />

various parts of Thailand. <strong>Bangkok</strong> transformed<br />

into a “metropolis” and a destination of migration<br />

from the provinces. The population of <strong>Bangkok</strong><br />

dramatically expanded from then on.<br />

WHEN ROADS REPLACE CANALS – THE ARRIVAL<br />

OF NEW URBAN PLANNING AND URBAN DECAY<br />

The rapid expansion of <strong>Bangkok</strong> led to<br />

several social issues. Modern practice in order<br />

to systematically manage the city was<br />

then employed. In 1955, the Thai government<br />

employed USOM (United States Overseas<br />

Mission) as the government’s consultant in urban<br />

planning. Later in 1957, the Thai government<br />

contracted Litchfield Whiting Bowne and<br />

Associates on the Greater <strong>Bangkok</strong> Plan. The<br />

aim of this was to study and systematically plan<br />

<strong>Bangkok</strong> to accommodate the growth in the next<br />

30 years (1960-1990). This led to the first law on<br />

town planning – the 1975 Town Planning Act.<br />

In practice, this did not successfully manage<br />

the growth of <strong>Bangkok</strong>. Nevertheless, it was<br />

the starting point where the urban planning of<br />

<strong>Bangkok</strong> was based on zoning according to land<br />

use, such as residential, commercial, industrial,<br />

沿 着 拍 凤 裕 庭 路 继 续 往 前 走 就 到 了 邦 肯 区 , 这 个 区 域 在 佛 历 2440<br />

年 后 的 十 年 里 得 到 巨 大 发 展 。 佛 历 2476 年 , 在 波 瓦 拉 特 叛 乱 被 成 功 平 叛<br />

后 , 这 个 区 域 有 很 多 的 大 型 工 程 项 目 , 如 邦 肯 玛 哈 泰 弥 勒 寺 、 宪 法 纪 念<br />

碑 、 和 许 多 政 府 部 门 在 此 设 立 以 及 在 这 里 建 立 泰 国 农 业 大 学 , 因 此 这 片<br />

区 域 开 始 出 现 大 量 的 居 民 居 住 , 并 且 随 着 时 间 的 迁 移 一 直 不 断 扩 大 , 最<br />

终 与 廊 曼 区 相 连 接 。<br />

曼 谷 南 地 区 的 发 展 , 于 佛 历 2496 年 组 织 修 建 了 郑 信 大 帝 纪 念 碑 和<br />

大 罗 斗 圈 。 从 大 罗 斗 圈 可 以 连 接 到 曼 谷 纪 念 大 桥 , 然 后 与 修 建 于 佛 历<br />

2493 年 的 碧 甲 盛 路 相 连 接 , 使 得 曼 谷 向 南 边 进 行 城 市 扩 建 更 加 方 便 , 从<br />

此 以 后 , 整 个 国 家 南 部 地 区 的 发 展 也 开 始 越 来 越 好 。<br />

城 市 东 边 地 区 也 一 样 , 随 着 近 期 素 坤 逸 路 的 不 断 扩 大 , 最 初 的 素 坤<br />

逸 路 时 仅 仅 是 到 达 北 榄 府 。 佛 历 2479 年 对 素 坤 逸 路 进 行 了 扩 建 , 与 东 部<br />

的 外 府 相 连 , 如 : 罗 勇 府 、 春 武 里 府 , 直 到 佛 历 2493 年 直 达 泰 国 最 东 边<br />

的 桐 艾 府 。<br />

可 以 说 , 从 佛 历 2475 年 到 佛 历 2500 年 期 间 , 曼 谷 的 城 市 规 划 与 之<br />

前 相 比 上 了 一 个 台 阶 , 曼 谷 成 为 连 接 其 他 各 地 区 城 市 的 中 心 。 通 过 这 些<br />

庞 大 且 方 便 的 交 通 网 络 , 各 地 区 的 商 人 都 汇 集 到 曼 谷 进 行 贸 易 活 动 , 在<br />

其 他 地 区 人 们 的 眼 中 , 曼 谷 也 成 为 了 真 正 的 大 都 市 。 从 那 时 起 , 各 个 地<br />

区 的 老 百 姓 都 开 始 向 曼 谷 迁 移 , 定 居 在 曼 谷 。<br />

当 道 路 取 代 运 河 时 , 城 市 规 划 中 的 革 新 与 退 化<br />

随 着 曼 谷 的 快 速 扩 张 , 带 来 的 问 题 也 不 断 上 升 , 于 佛 历 2498 年 ,<br />

开 始 意 识 到 在 进 行 城 市 规 划 时 应 当 有 更 完 善 的 计 划 以 达 到 国 际 标 准 的 城<br />

市 规 划 , 因 此 邀 请 了 美 国 援 外 使 团 (USOM) 到 泰 国 作 为 城 市 规 划 方 面<br />

的 顾 问 。 接 下 来 在 佛 历 2500 年 的 时 候 , 政 府 与 利 奇 菲 尔 德 惠 廷 布 恩 公 司<br />

签 订 了 《 皇 家 城 市 建 设 计 划 》 合 约 , 旨 在 研 究 系 统 科 学 地 对 曼 谷 的 进 行<br />

城 市 规 划 , 在 前 三 十 年 内 提 供 技 术 支 持 ( 佛 历 2503 年 -2533 年 ), 并 且<br />

于 佛 历 2518 年 签 署 发 布 了 第 一 部 于 城 市 规 划 有 关 的 法 律 法 规 。<br />

尽 管 实 践 中 不 能 够 完 全 按 照 计 划 进 行 , 但 这 也 是 按 照 城 市 区 域 功 能<br />

的 不 同 来 展 开 城 市 规 划 的 开 始 , 例 如 : 划 分 为 居 住 区 、 贸 易 区 、 工 业 区 、<br />

农 业 区 等 等 , 所 有 的 这 些 规 划 都 是 为 了 支 持 曼 谷 飞 跃 式 的 发 展 而 做 的 准 备 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

51


การพัฒนากรุงเทพฯ ภายใต้โครงข่ายการขนส่ง<br />

มวลชนระบบราง<br />

ในส่วนพื้นที่กรุงเทพฯ ที่มิใช่ย่านเมืองเก่า<br />

การแก้ไขปัญหาของเมืองที่เพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะ<br />

ปัญหาด้านการคมนาคมได้เริ่มถูกวางแผนผ่าน<br />

การออกแบบจัดสร้างการขนส่งระบบราง (รถไฟฟ้า)<br />

โดยริเริ่มขึ้นตั้งแต่ในราวทศวรรษที่ ๒๕๓๐ เป็นต้นมา<br />

โดยมีการเปิดใช้จริงครั้งแรกใน พ.ศ. ๒๕๔๒<br />

นับตั้งแต่นั้นมาการพัฒนารถไฟฟ้าก็กลายเป็น<br />

การพัฒนาที่สำคัญมากขึ้นโดยลำดับและได้เข้ามา<br />

เปลี่ยนโฉมหน้าการพัฒนาเมืองกรุงเทพฯ ไปอีกครั้ง<br />

พื้นที่สองข้างแนวรถไฟฟ้า โดยเฉพาะในจุดที่<br />

เป็นสถานีขึ้นลงได้กลายเป็นทำเลทองที่ก่อให้เกิด<br />

การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ครั้งใหญ่ หลายสถานี<br />

กลายเป็นแหล่งชุมชนใหม่และศูนย์กลางเมืองใหม่<br />

เช่น บริเวณสถานีอ่อนนุชที่เคยเป็นจุดสิ้นสุดของเส้น<br />

รถไฟฟ้าสายสุขุมวิท ได้ขยายตัวกลายเป็นแหล่ง<br />

ชุมชนขนาดใหญ่ มีห้างสรรพสินค้าและคอนโด-<br />

มิเนียมเกิดขึ้นมากมายรายล้อมพื้นที่สถานี ลักษณะ<br />

ดังกล่าวเกิดขึ้นแทบทุกจุดขึ้นลงสถานีรถไฟฟ้า<br />

อาจกล่าวได้ว่า การขยายตัวของกรุงเทพฯ<br />

ในปัจจุบันถูกขับเคลื่อนผ่านการขนส่งระบบรถไฟฟ้า<br />

อย่างสมบูรณ์เหมือนที่เมื่อครั้งหนึ่งกรุงเทพฯ เคย<br />

ขยายตัวผ่านเส้นทางคูคลองในยุคต้นรัตนโกสินทร์<br />

และขยายตัวผ่านเครือข่ายถนนนับตั้งแต่สมัย<br />

รัชกาลที่ ๕<br />

การหวนคืนสู่แม่น้ำเจ้าพระพระยา: กรุงเทพฯ<br />

เพื่อการท่องเที่ยวในทศวรรษที่ ๒๕๖๐<br />

ในรอบ ๑๐ ปีที่ผ่านมาได้เกิดแนวโน้มใหม่ที่<br />

สำคัญคือ การเกิดขึ้นของโครงการพัฒนาพื้นที่สอง<br />

ฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาครั้งใหญ่นับตั้งแต่การเกิด<br />

ปรากฏการณ์พัฒนาเมืองโดยหันหลังให้แม่น้ำที่เริ่ม<br />

ขึ้นหลัง พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็นต้นมา ซึ่งทำให้พื้นที่สอง<br />

52<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


agricultural and so on. All of this was to prepare<br />

<strong>Bangkok</strong> for the accelerated growth of the city.<br />

The aim to rapidly modernize the city under<br />

the capitalist and globalized world after 1957,<br />

along with the series of National Economic and<br />

Social Development Plans that follow, have<br />

turned <strong>Bangkok</strong> into the country’s most<br />

important city economically. However, this also<br />

led to the extremely rapid growth of <strong>Bangkok</strong><br />

that no town planning regulations could keep<br />

up. From 1957, canals were filled in to make ways<br />

for roads. This method was chosen in favor of<br />

land and property expropriation as it was quick<br />

and inexpensive. The strategy in the expansion<br />

of <strong>Bangkok</strong> dismissed canal transportation<br />

entirely. The flow of canal water was disrupted.<br />

The canals fell into disrepair. The area around<br />

the canals, as a consequence, was left out from<br />

the development, and declined.<br />

Once called ‘Venice of the East’ because of<br />

its reliance on canal networks, <strong>Bangkok</strong><br />

transformed into a city that focused on<br />

construction of roads and new developments in<br />

response to the capitalist economy. Many old<br />

buildings in commercial district were torn down<br />

to make way for building with a greater number<br />

of floors, and as a result, more area which can<br />

generate more economic values. Like other<br />

metropolises around the world, <strong>Bangkok</strong> started<br />

to suffer from urban issues such as high<br />

population density following migration from the<br />

provinces, heavy road traffic and deteriorating<br />

living conditions.<br />

佛 历 2500 年 后 , 全 球 资 本 主 义 国 家 加 速 发 展 的 背 景 下 , 曼 谷 作 为<br />

国 家 的 首 都 和 全 国 最 重 要 的 经 济 中 心 , 制 定 了 发 展 全 国 经 济 的 计 划 , 因<br />

此 城 市 的 高 速 发 展 已 经 超 出 了 现 有 的 所 能 提 供 的 城 市 道 路 规 划 。 因 此 佛<br />

历 2500 年 下 半 年 , 开 始 有 计 划 将 河 道 进 行 填 充 , 新 建 为 公 路 , 因 为 这 样<br />

的 方 法 操 作 简 单 、 快 速 而 且 节 约 土 地 赔 偿 金 。 这 也 是 回 过 头 来 将 交 通 方<br />

式 中 的 水 路 进 行 合 理 运 用 的 起 点 。 河 道 的 环 境 恶 化 甚 至 开 始 退 化 , 因 为<br />

不 能 够 自 然 的 进 行 流 通 , 靠 近 河 道 的 地 区 成 为 了 缺 少 发 展 、 被 忽 视 的 地<br />

区 , 最 后 成 为 了 贫 民 窟 地 区 。<br />

这 个 时 期 的 曼 谷 城 市 特 质 也 变 了 , 原 来 是 水 上 城 市 甚 至 被 称 为 是 东<br />

方 威 尼 斯 , 但 是 现 在 更 注 重 城 市 道 路 和 建 筑 工 程 的 建 设 , 为 了 更 快 的 发<br />

展 和 创 造 更 多 的 财 富 , 许 多 传 统 的 旧 建 筑 呗 拆 除 , 在 原 来 的 位 置 新 建 更<br />

高 更 大 的 建 筑 , 以 便 有 更 多 的 使 用 空 间 。 曼 谷 同 样 也 开 始 面 临 世 界 上 的<br />

其 他 大 都 市 面 临 的 问 题 。 大 量 的 外 府 居 民 的 迁 入 , 也 使 得 城 市 空 间 拥 挤<br />

不 堪 , 交 通 拥 堵 , 生 活 质 量 也 越 来 越 差 。<br />

保 护 古 城 区 和 将 曼 谷 建 设 为 旅 游 城 市 的 新 理 念<br />

佛 历 2520 年 , 曼 谷 开 始 以 交 通 拥 堵 和 大 量 的 贫 民 窟 而 出 名 , 因 此<br />

产 生 了 需 要 治 理 城 市 问 题 的 理 念 , 尤 其 是 让 旧 城 区 更 好 地 恢 复 到 原 来 的<br />

面 貌 。 这 个 理 念 被 广 泛 的 推 广 开 来 是 为 了 在 拉 达 纳 哥 信 王 朝 成 立 两 百 年<br />

纪 念 典 礼 前 能 够 有 治 理 成 效 , 最 后 也 成 立 了 拉 达 纳 哥 信 委 员 会 。<br />

该 委 员 会 的 目 的 是 在 保 护 和 发 展 曼 谷 城 市 , 解 决 城 市 用 地 拥 挤 问<br />

题 , 将 政 府 行 政 部 门 迁 移 到 市 中 心 外 围 , 如 : 将 政 府 办 公 中 心 搬 到 正 瓦<br />

他 纳 路 , 将 曼 谷 市 政 府 迁 移 到 磷 玲 路 附 近 , 除 了 最 高 法 院 , 其 他 的 所 有<br />

法 院 相 关 部 门 都 被 迁 到 拉 差 达 批 色 路 上 。 不 少 大 学 也 被 动 员 在 城 市 郊 区<br />

建 立 校 区 , 如 法 政 大 学 搬 迁 到 兰 实 区 等 等 。<br />

CONSERVATIONAL APPROACH TOWARDS<br />

THE OLD TOWN AND INNER CITY BANGKOK FOR<br />

TOURISM<br />

<strong>Bangkok</strong> in B.E. 2520s became notorious<br />

for heavy traffic and extensive area of urban<br />

decay throughout the city. All of this led to the<br />

initiative to regenerate <strong>Bangkok</strong>, especially in<br />

the old town. The idea eventually materialized in<br />

time for <strong>Bangkok</strong> Bicentennial Celebration and<br />

led to the appointment of the Committee on the<br />

Conservation of Rattanakosin and Old Towns.<br />

The committee aimed to conserve the inner<br />

city of <strong>Bangkok</strong> by reducing the density of<br />

activity within this area. Many government<br />

offices were moved to the outer zones of the city;<br />

such as to the Chaeng Watthana Government<br />

Complex. Office of the <strong>Bangkok</strong> Metropolitan<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

53


ฝั่งแม่น้ำตลอดจนคูคลองสายต่างๆ ที่เคยถูกละเลย<br />

จากการพัฒนามาหลายสิบปีได้รับความสนใจอีกครั้ง<br />

ปรากฎการณ์นี้เกิดขึ้นอย่างแยกไม่ออกจาก<br />

การที่พื้นที่ชั้นในของกรุงเทพฯ ได้เปลี่ยนมาสู่การเป็น<br />

พื้นที่เพื่อรองรับการท่องเที่ยวโดยสมบูรณ์แบบ<br />

นับตั้งแต่มีการดำเนินการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่<br />

กรุงเทพฯ ชั้นในตามแผนของคณะกรรมการกรุง<br />

รัตนโกสินทร์เมื่อราว ๓๐ ปีที่ผ่านมา<br />

พื้นที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา โดยเฉพาะส่วนที่ไหล<br />

ผ่านย่านเมืองเก่าได้รับความสนใจจากทั้งภาครัฐและ<br />

เอกชนในการลงทุนสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ<br />

ต่างๆ อย่างมากมายเพื่อรองรับธุรกิจท่องเที่ยว<br />

ในส่วนของเอกชนเรามองเห็นแนวโน้มสำคัญในการ<br />

พัฒนาพื้นที่ริมน้ำให้กลายเป็นห้างสรรพสินค้าขนาด<br />

ใหญ่ เช่น โครงการไอคอนสยาม คอมมูนิตี้มอล<br />

ที่เน้นจุดขายของการเป็นพื้นที่ริมน้ำ เช่น ท่ามหาราช<br />

ยอดพิมานริเวอร์วอร์ค หรือสถานที่ท่องเที่ยวรูปแบบ<br />

ใหม่ เช่น Asiatique เป็นต้น<br />

ในส่วนของภาครัฐก็ได้มีนโยบายในการลงทุน<br />

มหาศาลเพื่อเพิ่มมูลค่าของพื้นที่ริมแม่น้ำเจ้าพระยา<br />

ครั้งใหญ่ผ่านโครงการสร้างทางเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา<br />

ตลอดจนการลงทุนในโครงการขนาดใหญ่ที่เกี่ยว<br />

เนื่องต่างๆ มากมาย เช่น โครงการหอชมเมือง<br />

กรุงเทพฯ โครงการสร้างสะพานคนเดินข้ามแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยาบริเวณท่าพระจันทร์และท่าวังหลัง ซึ่ง<br />

โครงการทั้งหมดจะนำมาซึ่งการเปลี่ยนโฉมพื้นที่ริม<br />

ฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาครั้งใหญ่<br />

หากเราพิจารณาพื้นที ่กรุงเทพฯ โดยมีเกาะ<br />

รัตนโกสินทร์เป็นศูนย์กลาง พื้นที่เหนือแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยาขึ้นไปในอีกไม่กี่ปีข้างหน้าจะเกิดโครงการ<br />

ทางเลียบแม่น้ำเจ้าพระยา ๑๔ กิโลเมตร พื้นที่สอง<br />

ฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณเกาะรัตนโกสินทร์ใน<br />

ทศวรรษหน้าจะเต็มไปด้วยคอมมูนิตี้มอลและสถาน<br />

ที่ท่องเที่ยวมากมาย พื้นที่ท้ายน้ำลงไปทางทิศใต้จะ<br />

ถูกพัฒนาภายใต้ “แผนแม่บทวิสัยทัศน์แห่งแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยา” ที่เป็นการรวมตัวกันของภาคเอกชนที่มี<br />

ธุรกิจประกอบการสองฟากฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตลอด<br />

จนโครงการย่อยอื่นๆ อีกมาก เช่น Creative District<br />

ย่านเจริญกรุงและคลองสาน โครงการพัฒนาพื้นที่<br />

ชุมชนย่านกะดีจีน โครงการพัฒนาพื้นที่ริมฝั่งแม่น้ำ<br />

ในพื้นที่ย่านยานนาวา ฯลฯ<br />

โครงการทั้งหมดนี้ยังเต็มไปด้วยคำถาม<br />

มากมายถึงผลกระทบต่อชุมชนและย่านเก่าของเมือง<br />

นักวิชาการมากมายในปัจจุบันต่างเรียกร้องให้มี<br />

การทบทวนในหลายๆ โครงการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง<br />

โครงการทางเลียบแม่น้ำเจ้าพระยาของรัฐบาล<br />

และอีกมากมายหลายปัญหาที่ยังคงต้องการการ<br />

ศึกษาที่มากขึ้นถึงผลกระทบต่อกรุงเทพฯ ในอนาคต<br />

ไม่ว่าผลสุดท้ายจะเป็นอย่างไร หากมองใน<br />

ภาพกว้าง เราจะมองเห็นถึงแนวโน้มและทิศทาง<br />

การพัฒนาที่เราอาจเรียกได้ว่าเป็น “การหวนคืนสู่<br />

แม่น้ำเจ้าพระยา” ที่จะเปลี่ยนโฉมหน้าเมืองกรุงเทพฯ<br />

ชั้นในครั้งใหญ่อีกครั้ง และหากสำเร็จพื้นที่กรุงเทพฯ<br />

ชั้นในในทศวรรษหน้าก็จะมีสถานะของการเป็นพื้นที่<br />

เพื่อรองรับเศรษฐกิจเพื่อการท่องเที่ยวโดยสมบูรณ์<br />

สรุป<br />

ประวัติศาสตร์ของกรุงเทพฯ เริ่มขึ้นจากการเป็น<br />

ชุมชนเล็กๆ ความเปลี่ยนแปลงครั้งแรกที่สำคัญคือ<br />

การตัดคลองลัดแม่น้ำเจ้าพระยาที่ทำให้พื ้นที่ชุมชน<br />

บางกอกกลายมาเป็นพื้นที่ที่มีแม่น้ำสายสำคัญไหล<br />

ผ่านกลางพื้นที่ ชุมชนขยายตัวจนกลายมาเป็นเมือง<br />

หน้าด่านที่สำคัญของอยุธยา มีชาวต่างชาตินานาเข้า<br />

มาตั้งถิ่นฐาน ร่องรอยความเป็นเมืองนานาชาติ<br />

เช่นนี้ยังคงอยู่ผ่านโบราณสถานมากมายในกรุงเทพฯ<br />

ต่อมาเมื่อเสียกรุงศรีอยุธยา พระเจ้ากรุงธนบุรี<br />

ได้เลือกทำเลเมืองธนบุรีให้กลายมาเป็นศูนย์กลางรัฐ<br />

แห่งใหม่ พอถึงใน พ.ศ. ๒๓๒๕ รัชกาลที่ ๑ ได้ทรง<br />

ย้ายศูนย์กลางรัฐอีกครั้งมาสู่พื้นที่ฝั่งพระนครของ<br />

กรุงเทพฯ และเป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาพื้นที่<br />

กรุงเทพฯ ครั้งใหญ่จวบจนกระทั่งในปัจจุบัน มีการ<br />

ตัดคลองและคูน้ำมากมาย ชุมชนขยายตัว<br />

สถาปัตยกรรมถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นสัญลักษณ์ของ<br />

ราชธานีแห่งใหม่<br />

54<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


Administration was moved to Din Daeng. Law<br />

courts, with the exception of the Supreme Court,<br />

were moved to Ratchadaphisek Road. And<br />

universities such as Thammasat University built<br />

a new campus in Rangsit.<br />

With this policy, several government offices<br />

which had previously located in the old town of<br />

<strong>Bangkok</strong> since the establishment of <strong>Bangkok</strong> as<br />

the capital city, were relocated to the outer zones<br />

of the city. The status of the old town and inner<br />

city, as a result, transformed from a government<br />

headquarters to a cultural tourism area.<br />

The committee also initiated the policy to<br />

conserve, renovate and restore historic buildings<br />

in the area. Another policy was to demolish the<br />

slum areas to make ways for small public parks<br />

(pocket parks). The goals were to increase more<br />

green space and improve the living condition of<br />

<strong>Bangkok</strong> residents; as well as to conserve<br />

historic buildings and develop them into tourist<br />

attractions.<br />

Under this policy, the scenery of the old town<br />

and inner city <strong>Bangkok</strong> was dramatically<br />

changed. Major projects include the demolition<br />

of Chalerm Thai Theater, while the Royal Pavilion<br />

Mahajetsadabadin was built in its place. The<br />

vista to Loha Prasat and Wat Ratchanatdaram,<br />

as a result, was opened up. Another major project<br />

was the construction of Santi Chai Prakan<br />

Public Park next to Phra Sumen Fort.<br />

Although the policies of the Committee on<br />

the Conservation of Rattanakosin and Old Towns<br />

were of good intention to regenerate <strong>Bangkok</strong>,<br />

the top-down policies meant the lack of<br />

participation from the public. Many plans faced<br />

opposition from the public and many academics.<br />

As a consequence, many plans have not been<br />

realized even until today.<br />

从 曼 谷 建 城 起 , 许 多 政 府 部 门 就 汇 聚 在 城 市 的 中 心 地 带 , 在 新 政 策<br />

的 影 响 下 , 也 是 首 次 将 政 府 部 门 办 公 地 点 迁 移 出 市 中 心 , 建 立 在 市 中 心<br />

周 边 地 带 。 城 市 中 心 地 带 开 始 从 政 治 权 利 中 心 向 文 化 旅 游 区 转 变 。<br />

针 对 城 内 的 这 些 旧 建 筑 , 委 员 会 有 相 关 政 策 对 环 境 进 行 保 护 和 文 物<br />

恢 复 , 使 得 这 些 区 域 再 一 次 恢 复 原 有 的 景 色 。 对 于 在 城 中 心 内 大 大 小 小<br />

的 贫 民 窟 问 题 , 相 关 政 策 将 其 拆 除 然 后 修 建 成 为 一 些 小 型 的 公 园 , 目 的<br />

是 为 了 增 加 城 市 绿 化 面 积 和 改 善 生 活 环 境 。 并 且 还 将 许 多 旧 建 筑 和 文 物<br />

古 迹 发 展 成 为 旅 游 景 点 。<br />

在 以 上 提 到 的 这 些 理 念 的 影 响 下 , 曼 谷 中 心 地 带 的 市 容 市 貌 得 到 了<br />

巨 大 的 改 善 。 较 为 典 型 的 例 子 有 : 拆 除 了 旧 电 影 院 修 建 为 皇 家 庭 院 , 可<br />

以 在 庭 院 中 欣 赏 叻 查 纳 达 兰 金 殿 寺 和 帕 那 苏 门 堡 垒 附 近 花 园 的 美 景 , 等<br />

等 。<br />

然 而 , 尽 管 该 委 员 会 希 望 能 够 全 心 全 意 的 致 力 于 为 恢 复 古 城 , 但 是<br />

其 制 定 计 划 时 从 上 而 下 的 作 风 , 缺 乏 普 通 群 众 的 参 与 , 导 致 制 定 好 的 计<br />

划 缺 乏 相 关 学 者 和 群 众 的 支 持 , 因 此 不 能 完 全 地 按 照 计 划 进 行 , 直 到 现<br />

在 也 不 能 完 全 实 现 目 标 。<br />

曼 谷 轨 道 客 运 交 通 网 络 的 发 展<br />

非 老 城 区 的 曼 谷 其 他 地 带 , 也 在 致 力 于 解 决 不 断 增 加 的 城 市 问 题 ,<br />

尤 其 是 交 通 拥 堵 这 一 方 面 , 从 佛 历 2530 年 就 开 始 规 划 建 立 轨 道 客 运 交 通<br />

网 络 ( 轻 轨 )。 在 佛 历 的 2543 年 第 一 次 真 正 地 投 入 使 用 。 从 那 以 后 , 又<br />

一 次 改 变 了 曼 谷 的 城 市 面 貌 , 而 轨 道 运 输 系 统 的 发 展 也 成 为 了 城 市 规 划<br />

非 常 重 要 的 一 部 分 。<br />

轨 道 两 侧 的 地 区 , 尤 其 是 有 站 台 的 位 置 , 成 为 促 使 房 地 产 业 迅 速 发<br />

展 的 新 区 域 。 许 多 站 台 附 近 都 成 为 了 新 的 居 民 聚 居 区 和 新 城 市 中 心 , 例<br />

如 : 翁 努 曾 是 素 坤 逸 线 铁 路 的 终 点 站 , 现 在 发 展 壮 大 成 为 了 大 型 居 民 聚<br />

居 区 , 新 建 了 很 多 百 货 大 楼 和 新 型 公 寓 , 几 乎 在 每 一 个 轻 轨 站 附 近 都 有<br />

这 样 的 变 化 。<br />

DEVELOPING BANGKOK BY RAIL NETWORK<br />

<strong>Bangkok</strong> suffers from heavy traffic. Outside<br />

of <strong>Bangkok</strong> old town, the plan to solve the heavy<br />

road traffic by rail network (electric train) was<br />

initiated around 1987. The electric train system<br />

first operated in 1999. From then on, rail network<br />

has become one of the focal points in<br />

development plans for <strong>Bangkok</strong>, and has played<br />

an important role in altering the physical<br />

appearance of the city.<br />

Area along the rail network, especially at<br />

the stations, has become highly-sought after<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

55


เศรษฐกิจที่เฟื่องฟูในเวลาต่อมาทำให้กรุงเทพฯ<br />

ขยายตัวกลายเป็นเมืองท่านานาชาติที่สัมพันธ์กับ<br />

โลกภายนอก ชาวต่างชาติทั้งจีน แขก ฝรั่ง และอื่นๆ<br />

อีกมากมายต่างเดินทางเข้ามาเพื่อทำมาค้าขายและ<br />

ตั ้งถิ่นฐานในกรุงเทพฯ ภูมิสถานในกรุงเทพฯ<br />

เปลี่ยนแปลงไปจากนครรัฐแบบจารีตตามโลกทัศน์<br />

แบบ “ฮินดู - พุทธ” เปลี่ยนผ่านไปสู่เมืองสมัยใหม่<br />

ที่ก้าวหน้าทั้งทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรม สะท้อน<br />

ผ่านถนนหนทางสมัยใหม่และการขนส่งระบบราง<br />

ตลอดจนโครงการก่อสร้างทางสถาปัตยกรรมสมัย<br />

ใหม่มากมายที่เทียบเคียงได้กับเมืองทันสมัยทั่วโลก<br />

กรุงเทพฯ ขยายตัวออกไปทุกทิศทุกทางและกลาย<br />

เป็นมหานครที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลกในยุค<br />

ปัจจุบัน<br />

ทั้งหมดที่กล่าวมาคือลักษณะความเปลี่ยนแปลง<br />

ทางประวัติศาสตร์ของเมืองกรุงเทพฯ นับตั้งแต่อดีต<br />

จนถึงปัจจุบัน เป็นการร้อยเรียงเล่าเรื่องประวัติศาสตร์<br />

โดยมองผ่านการออกแบบวางผังเมืองการตัดถนน<br />

การออกแบบระบบขนส่งมวลชน และการสร้างงาน<br />

สถาปัตยกรรม เป็นอีกด้านหนึ่งของการทำความ<br />

เข้าใจอดีตที่ยาวนานและซับซ้อนของกรุงเทพฯ ที่<br />

สำคัญคือ เครือข่ายของระบบการคมนาคมเหล่านี้<br />

ตลอดจนงานสถาปัตยกรรมมากมายที่อ้างอิงถึง<br />

เกือบทั้งหมดยังคงหลงเหลืออยู่โดยได้รับการอนุรักษ์<br />

ไว้เป็นอย่างดี แม้สภาพจะไม่เหมือนเมื่อครั้งแรก<br />

สร้าง แต่อย่างไรก็ตามร่องรอยอดีตของกรุงเทพฯ ที่<br />

หล่นหายไปตามกาลเวลาก็ยังคงฝังความทรงจำเอา<br />

ไว้ไม่มากก็น้อยในงานสถาปัตยกรรมเหล่านี้<br />

บรรณานุกรม<br />

ชาตรี ประกิตนนทการ. การเมืองและสังคมในศิลป<br />

สถาปัตยกรรม สยามสมัย ไทยประยุกต์ ชาตินิยม.<br />

กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๗.<br />

ณัฐวุฒิ ปรียวนิตย์. เศรษฐกิจการเมืองของการตัดถนน<br />

ในพระนคร สมัยรัชกาลที่ ๑ - ๕. กรุงเทพฯ: คณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๖๐.<br />

ถัด พรหมมาณพ. ภูมิศาสตร์มณฑลกรุงเทพฯ. พระนคร:<br />

โรงพิมพ์ธรรมพิทยาคาร, ๒๔๗๔.<br />

ทำเนียบนามภาค ๔: ถนนในจังหวัดพระนครและธนบุรี.<br />

พระนคร: โรงพิมพ์บำรุงธรรม, ๒๔๘๒.<br />

แน่งน้อย ศักดิ์ศรี, หม่อมราชวงศ์, ณพิศร กฤตติกากุล<br />

และดรุณี แก้วม่วง. พระราชวังและวังในกรุงเทพฯ<br />

(พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๕๒๕). กรุงเทพฯ: คณะอนุกรรมการ<br />

ปฏิบัติภาระกิจโครงการวิจัย “วิวัฒนาการของศิลป<br />

วัฒนธรรมไทยในรอบ ๒๐๐ ปี แห่งกรุงรัตนโกสินทร์”<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๕.<br />

พีรศรี โพวาทอง. “ถนนราชดำเนิน: ประวัติการก่อสร้าง,”<br />

เมืองโบราณ ๓๓, ๔ (ต.ค. - ธ.ค. ๒๕๕๐): ๓๒ - ๕๔.<br />

รวี สิริอิสสระนันท์, บรรณาธิการ. พระราชพงศาวดาร<br />

กรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ - ๔ ฉบับเจ้าพระยา<br />

ทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค). นนทบุรี: ศรีปัญญา, ๒๕๕๕.<br />

ศันสนีย์ วีระศิลป์ชัย. ย่านการค้า “ตะวันตก” แห่งแรก<br />

ของกรุงเทพฯ: สามแพร่ง แพร่งภูธร แพร่งนรา<br />

แพร่งสรรพศาสตร์. กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๗.<br />

สมชาติ จึงสิริอารักษ์. สถาปัตยกรรมแบบตะวันตก<br />

ในสยามสมัยรัชกาลที่ ๔ - พ.ศ. ๒๔๘๐. กรุงเทพฯ:<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร,<br />

๒๕๕๓.<br />

สุจิตต์ วงษ์เทศ. กรุงเทพฯ มาจากไหน? = <strong>Bangkok</strong>:<br />

the historical background. กรุงเทพฯ: มติชน,<br />

๒๕๔๘.<br />

Bowring, John. The Kingdom and people of Siam.<br />

Kuala Lumpur; London: Oxford University Press,<br />

1969.<br />

Wyatt, David. Thailand: a short history. New Haven,<br />

Conn.; London: Silkworm, 2003.<br />

56<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


area with high market values. They have become<br />

new community hubs. For example, there are<br />

now shopping malls and condominiums around<br />

On Nut – previously the final stop of the<br />

Sukhumvit Line. This has not only occurred to<br />

On Nut, but to almost every stations along the<br />

rail network.<br />

It can be said that the growth and expansion<br />

of <strong>Bangkok</strong> today has been driven by the rail<br />

network – just as its growth and expansion had<br />

been driven by the canal network in the early<br />

Rattanakosin era; and by the construction of<br />

roads in the reign of King Chulalongkorn.<br />

可 以 说 , 曼 谷 城 市 目 前 的 扩 张 , 是 沿 着 轻 轨 系 统 路 线 来 发 展 的 , 这<br />

样 的 情 况 就 跟 拉 达 纳 哥 信 王 朝 初 期 城 市 沿 河 道 扩 张 , 以 及 拉 玛 五 世 时 期<br />

城 市 沿 新 公 路 扩 张 是 一 样 打 。<br />

重 回 湄 南 河 流 域 : 从 佛 历 2560 起 曼 谷 十 年 来 的 旅 游 发 展<br />

在 过 去 的 十 年 里 , 发 生 了 重 要 的 新 趋 势 就 是 重 视 对 湄 南 河 两 岸 的 发 展 。<br />

因 为 从 佛 历 2500 年 后 , 开 始 向 与 湄 南 河 的 相 反 的 方 向 发 展 城 市 , 因 此 导<br />

致 河 两 岸 以 及 很 多 条 河 道 周 围 的 区 域 被 忽 视 了 好 几 十 年 , 现 在 又 被 重 新<br />

关 注 起 来 。<br />

CHAO PHRAYA REVIVAL: BANGKOK AND<br />

TOURISM IN 2017<br />

In the last ten years, there has been a<br />

renewed interest in the regeneration of Chao<br />

Phraya River. The development plan of <strong>Bangkok</strong><br />

seemed to have turned away from the river since<br />

1957. The River, unfortunately, had been left out<br />

of the city’s modern interest.<br />

This renewed interest is in accordance with<br />

the transformation of inner <strong>Bangkok</strong> into a<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

57


tourism-centered area, and since the Committee<br />

on the Conservation of Rattanakosin and Old<br />

Towns was set up.<br />

Area along the Chao Phraya, especially the<br />

section of the river where it runs through the old<br />

town, is now under the focus of both the public<br />

and the private sector. There are plans to<br />

build new infrastructures and facilities to<br />

accommodate tourists. For the private sector,<br />

there are trends towards the construction of<br />

large shopping malls such as Icon Siam Project;<br />

community malls which capitalize on the riverside<br />

qualities like Tha Maharaj; or new attractions<br />

such as Asiatique.<br />

For the government sector, there are plans<br />

for mega-projects which hope to increase<br />

the market values of the River. For example,<br />

construction of Chao Phraya promenade and<br />

other related projects such as <strong>Bangkok</strong><br />

Observation Tower and pedestrian bridge crossing<br />

the River at Phrachan – Wang Lang piers. All of<br />

these will dramatically transform the physical<br />

image of Chao Phraya River.<br />

Looking at <strong>Bangkok</strong> with the Rattanakosin<br />

Island as the center; upstream there will be<br />

14-kilometer-long riverside promenade; there will<br />

be community malls and other attractions along<br />

the two banks of the River where it runs through<br />

Rattanakosin Island; downstream the riverside<br />

will be developed through the development plan<br />

formed by private companies who own businesses<br />

along the two banks of the River. We also need<br />

to take into account other smaller projects such<br />

as Creative District in Charoen Krung and Khlong<br />

San, development plan for Kadeejeen community<br />

and riverside development plan around Yannawa.<br />

There are still many unanswered questions<br />

for these projects regarding their impact on the<br />

existing communities and the old town. Many<br />

academics have called for several plans to be<br />

revised, especially the Chao Phraya promenade.<br />

Many of these plans still need to be revisited and<br />

studied thoroughly on how they might affect the<br />

future of <strong>Bangkok</strong>.<br />

For whatever the outcome would turn out to<br />

be, it could be concluded that there has been a<br />

genuine revived interest in the area along the<br />

Chao Phraya river. All of this would dramatically<br />

change the physical image of the inner city of<br />

<strong>Bangkok</strong>. And if these projects were successful<br />

in the next decade, the inner city would become<br />

the area for tourism economy to a large extent.<br />

出 现 这 样 的 现 象 是 因 为 分 不 清 曼 谷 的 城 市 中 心 , 从 三 十 年 前 , 拉 达 纳 哥<br />

信 委 员 会 成 立 并 且 开 始 采 取 行 动 保 护 市 中 心 的 环 境 开 始 , 就 开 始 重 视 对<br />

湄 南 河 沿 岸 地 区 的 发 展 , 为 了 使 得 曼 谷 的 旅 游 业 更 加 完 美 。<br />

湄 南 河 地 区 特 别 是 通 流 经 旧 城 区 的 区 域 , 受 到 了 政 府 部 门 和 各 种 私 营 投<br />

资 公 司 的 重 视 , 因 为 有 更 多 的 旅 游 商 机 。 私 营 投 资 我 们 可 以 看 到 一 个 趋<br />

势 就 是 开 发 沿 河 地 段 , 建 造 大 型 的 百 货 商 场 , 如 暹 罗 之 印 工 程 项 目 ; 商<br />

贸 区 也 重 点 集 中 在 靠 近 河 边 的 地 带 , 如 玛 哈 拉 码 头 、 约 德 丕 娜 河 边 步 行<br />

街 ; 或 者 是 新 型 的 旅 游 景 点 , 如 亚 洲 码 头 夜 市 等 等 。<br />

从 政 府 部 门 来 看 , 为 了 提 高 湄 南 河 的 价 值 , 也 有 一 些 投 资 政 策 投 入 巨 额<br />

的 资 金 , 在 湄 南 河 上 修 建 通 道 , 各 种 各 样 的 相 关 投 资 项 目 也 非 常 多 , 例<br />

如 : 曼 谷 城 市 观 景 楼 、 在 帕 那 簪 码 头 和 汪 兰 码 头 附 近 修 建 供 游 客 能 够 行<br />

走 通 过 湄 南 河 的 大 桥 。 所 有 的 这 些 在 湄 南 河 流 域 的 投 资 , 都 将 再 一 次 使<br />

得 河 流 两 岸 出 现 新 的 面 貌 。<br />

如 果 我 们 想 象 成 曼 谷 城 是 拉 达 纳 哥 信 王 朝 的 中 心 , 再 过 没 几 年 的 时 间 ,<br />

湄 南 河 流 域 上 将 有 一 条 可 供 行 人 行 走 的 、 长 达 十 四 公 里 的 通 道 , 十 年 后<br />

的 河 流 两 岸 地 区 将 充 满 着 许 多 商 业 贸 易 区 和 旅 游 景 点 。 南 边 的 河 流 下 游<br />

地 带 也 将 受 到 湄 南 河 愿 景 规 划 的 影 响 , 将 汇 聚 许 多 私 人 商 务 投 资 者 在 两<br />

岸 区 域 进 行 更 多 的 心 投 资 计 划 , 例 如 : 石 龙 军 路 和 空 汕 区 一 带 的 开 发 区 ,<br />

甘 迪 金 区 的 土 地 扩 建 项 目 、 耀 华 路 临 河 地 段 的 开 发 项 目 的 等 等 。<br />

这 些 投 资 项 目 同 时 也 充 满 了 许 多 关 于 居 民 聚 居 区 和 旧 居 民 区 等 等 各 种 问<br />

题 , 许 多 的 专 家 学 者 纷 纷 呼 吁 , 在 实 施 工 程 项 目 之 前 要 仔 细 分 析 , 尤 其<br />

是 在 政 府 部 门 计 划 在 湄 南 河 上 修 建 人 行 通 道 这 一 工 程 , 除 此 之 外 也 有 许<br />

多 问 题 需 要 慢 慢 研 究 调 查 , 避 免 未 来 可 能 会 在 曼 谷 城 市 内 出 现 的 问 题 。<br />

不 管 最 终 的 结 果 将 如 何 , 如 果 我 们 从 较 广 的 角 度 来 看 , 我 们 可 以 看 到 目<br />

前 发 展 的 方 向 和 趋 势 , 或 许 可 以 称 之 为 是 重 回 湄 南 河 流 域 的 转 变 , 将 再<br />

一 次 重 新 改 变 城 市 的 面 貌 。 并 且 如 果 在 曼 谷 的 这 片 土 地 上 成 功 的 话 , 那<br />

么 接 下 来 的 十 年 里 城 市 中 心 又 会 成 为 完 美 的 经 济 和 旅 游 地 带 。<br />

总 结<br />

曼 谷 的 历 史 从 小 小 的 居 民 聚 居 区 开 始 , 第 一 次 发 生 改 变 是 因 为 开 凿 河 道<br />

使 得 湄 南 河 从 当 时 的 城 市 中 心 流 过 , 居 民 数 量 的 增 加 使 得 这 座 城 市 成 为<br />

大 城 王 朝 的 门 户 城 市 , 有 许 多 外 国 人 移 民 到 此 , 从 曼 谷 城 内 的 一 些 古 代<br />

建 筑 , 还 能 看 到 曾 经 作 为 国 际 化 城 市 留 下 的 痕 迹 。<br />

随 着 大 城 王 朝 的 覆 灭 , 郑 信 大 帝 选 择 吞 武 里 城 作 为 新 政 权 的 中 心 城 市 ,<br />

到 佛 历 2325 年 的 时 候 , 拉 玛 一 世 又 一 次 将 政 权 的 中 心 搬 迁 到 河 对 岸 的 拍<br />

那 空 县 , 并 且 开 凿 了 许 多 的 河 道 和 沟 渠 。 居 民 区 也 随 之 扩 大 , 许 多 建 筑<br />

的 修 建 也 是 为 了 作 为 新 政 权 成 立 的 标 志 。<br />

在 接 下 来 的 时 间 里 , 经 济 的 蓬 勃 发 展 使 得 曼 谷 成 为 了 一 座 与 国 外 接 轨 的<br />

国 际 性 城 市 , 华 人 、 客 家 人 、 西 方 人 以 及 其 他 许 许 多 多 的 民 族 都 纷 纷 来<br />

这 里 进 行 贸 易 和 移 民 。 曼 谷 的 地 理 位 置 , 也 从 传 统 的 “ 印 度 教 - 佛 教 ” 相<br />

58<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


CONCLUSION<br />

<strong>Bangkok</strong> started as a small community.<br />

A major change came about when a shortcut<br />

was made in the course of Chao Phraya River,<br />

and turned <strong>Bangkok</strong> into a site where a major<br />

river ran through. The small community grew into<br />

a major border town of Ayutthaya. A number of<br />

foreign nationals moved to <strong>Bangkok</strong> and this<br />

multicultural influences still leave traces in the<br />

architecture of the city.<br />

After Ayutthaya was devastated, King Taksin<br />

chose Thonburi as the new centre of the<br />

Kingdom. In 1782, King Rama I moved the centre<br />

of the Kingdom once again to Phra Nakhon, the<br />

eastern bank of Chao Phraya River. This marked<br />

the beginning of major developments of<br />

<strong>Bangkok</strong>. Networks of canals were built;<br />

communities expanded; new buildings built to<br />

symbolise the new Kingdom.<br />

The flourishing trade later saw <strong>Bangkok</strong><br />

became an international port, connecting with<br />

foreign merchants such as Chinese, Indian,<br />

Westerners and so on. They came to <strong>Bangkok</strong><br />

for business and some settled down in the city.<br />

The architectural landscape of <strong>Bangkok</strong><br />

transformed from the traditional society following<br />

Hinduism and Buddhism beliefs, to a vibrant city<br />

economically and socially. This was reflected in<br />

the construction of new roads, rail network, and<br />

new modern architecture. All of these were on a<br />

par with other modern cities of the world at the<br />

time. <strong>Bangkok</strong> has expanded in all directions and<br />

has become one of the world’s biggest cities.<br />

All of these are the changes that took place<br />

in the history of <strong>Bangkok</strong> from past to present<br />

through the lens of urban planning, road<br />

construction, public transport and architectural<br />

design. This is one way to understand the complex<br />

and long history of <strong>Bangkok</strong>. An important point<br />

to note is that, the transport system and buildings<br />

referred to in this book, still exist thanks to the<br />

good practice of conservation. Though they are<br />

not entirely in their original conditions, fascinating<br />

traces of time, story, and memory are still<br />

preserved in the architecture.<br />

融 合 的 城 邦 向 新 城 市 的 转 变 , 无 论 是 经 济 和 文 化 都 得 到 了 巨 大 的 发 展 。<br />

随 着 新 式 道 路 和 轨 道 交 通 网 络 的 完 善 , 以 及 许 多 可 以 和 国 外 相 媲 美 的 新<br />

式 建 筑 的 修 建 , 曼 谷 开 始 向 四 周 各 个 方 向 扩 大 发 展 , 最 终 成 为 了 当 代 世<br />

界 上 最 大 的 都 市 之 一 。<br />

所 有 上 述 的 内 容 是 从 历 史 角 度 来 看 曼 谷 城 市 发 展 变 化 的 特 点 , 囊 括<br />

了 过 去 到 现 在 , 通 过 从 城 市 规 划 、 道 路 设 计 、 客 运 系 统 的 建 设 以 及 建 筑<br />

的 修 建 等 角 度 , 按 照 时 间 顺 序 将 其 讲 述 出 来 。 也 是 了 解 悠 久 而 且 复 杂 的<br />

曼 谷 历 史 一 个 视 角 。 引 用 到 的 许 多 城 市 交 通 路 线 和 建 筑 物 , 几 乎 都 得 到<br />

了 妥 善 的 保 护 和 保 存 , 尽 管 现 状 已 经 不 像 刚 刚 修 建 的 时 候 , 但 是 无 论 如<br />

何 , 随 着 时 间 消 失 掉 的 历 史 痕 迹 , 或 多 或 少 都 有 一 部 分 仍 然 留 存 在 这 些<br />

建 筑 物 上 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

59


คู่มือการใช้หนังสือ<br />

HOW TO USE THIS GUIDE BOOK<br />

1<br />

เส้นทาง<br />

Route<br />

7<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

เส้นทางที่ ๑ Route 1<br />

เส้นทางที่ ๒ Route 2<br />

เส้นทางที่ ๓ Route 3<br />

เส้นทางที่ ๔ Route 4<br />

เส้นทางที่ ๕ Route 5<br />

เส้นทางที่ ๖ Route 6<br />

เส้นทางที่ ๗ Route 7<br />

เส้นทางที่ ๘ Route 8<br />

เส้นทางที่ ๙ Route 9<br />

หมายเลขอาคาร<br />

Number of architecture<br />

ชื่ออาคารที่ได้รับรางวัล<br />

Name of awarded achitectur<br />

ภาพอาคารที่ได้รับรางวัล<br />

Image of awarded<br />

architecture<br />

ข้อมูลการออกแบบและก่อสร้าง<br />

Building Profile<br />

8<br />

เที่ยวชม Walk to<br />

เที่ยวชิม Eat at<br />

เที่ยวชิลล์ Chill in<br />

ที่ตั้ง เวลาทำการ จุดเช้าชม<br />

ค่าเข้าชม และการเดินทาง<br />

Location, Hours, Point of<br />

interest, Fee and Getting there<br />

รายละเอียดที่ตั้ง Location<br />

เวลาทำการ Hours<br />

จุดเข้าชม Point of interest<br />

ค่าเข้าชม Fee<br />

การเดินทาง<br />

(รถโดยสารประจำทาง)<br />

Getting there (Bus)<br />

การเดินทาง<br />

(เรือด่วนเจ้าพระยา)<br />

Getting there<br />

(Chao Phraya Express Boat)<br />

การเดินทาง (รถไฟฟ้า)<br />

Getting there (BTS)<br />

การเดินทาง (รถไฟฟ้าใต้ดิน)<br />

Getting there (MRT)<br />

6<br />

ข้อมูลอาคาร<br />

Building Information<br />

60<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

bwg_how to_20180614.indd 60<br />

6/14/2561 BE 2:41 PM


สยามแบบจารีต<br />

TRADITIONAL SIAM<br />

暹 罗 时 期 的 传 统 建 筑<br />

กรุงเทพฯ เมื่อแรกสร้าง คือ เมืองที่ออกแบบขึ้นเพื่อจ าลองโลกและจักรวาลตามคติ “ฮินดู-พุทธ”<br />

แบบจารีตที่สืบทอดมาตั้งแต่สมัยอยุธยา พระบรมมหาราชวัง คือ ภาพจาลองของวิมาน<br />

พระอินทร์ สนามหลวง (ทุ่งพระเมรุ) คือ ลานประกอบพระราชพิธีส่งเสด็จกษัตริย์สู่ดาวดึงสวรรค์<br />

เมื่อสวรรคต วังต่างๆ จัดวางรายรอบตามลาดับฐานานุศักดิ์และบทบาทหน้าที่ในการปกป้อง<br />

พระนคร (เช่น วังหน้า วังหลัง และ วังท่าพระ) มีเทวสถานโบสถ์พราหมณ์และเสาชิงช้าเป็น<br />

สถานที่ประกอบพิธีกรรมเนื่องในคติพราหมณ์ วัดวาอารามล้วนถูกสร้างขึ้นบนฐานคิดในการ<br />

เป็นพื้นที่อุดมคติทางพุทธศาสนา ไม่ว่าจะเป็นการสะท้อนหลักธรรมขั้นสูง เช่น โลหะปราสาท<br />

วัดราชนัดดารามที่แสดงหลักคิดเรื่องโพธปักขิยธรรม ๓๗ ประการ คติเขาพระสุเมรุหรือมัชฌิม<br />

ประเทศในชมพูทวีปเช่นที่ปรากฏในการออกแบบวัดสุทัศนเทพวรารามและวัดพระเชตุพนฯ<br />

อย่างไรก็ตาม แม้กรุงเทพฯ จะถูกสถาปนาขึ้นบนฐานคิดแบบ “ฮินดู-พุทธ” แต่กรุงเทพฯ ก็ถูกสร้าง<br />

บนความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์และความเชื่อทางศาสนา ทั้งพุทธ คริสต์ และ อิสลาม<br />

ที่ผสมผสานเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน แสดงออกให้เห็นผ่านย่านชุมชนหลากหลายศาสนา<br />

ในบริเวณ กะดีจีน และในงานสถาปัตยกรรมหลายชิ้น เช่น มัสยิดต้นสนที่งานศิลปกรรมภายใน<br />

ผสมกันระหว่างศิลปะแบบอิสลาม ศิลปะไทย และศิลปะตะวันตก หรือ มัสยิดบางอ้อที่ผสมผสาน<br />

ระหว่างศิลปะตะวันตกกับศิลปะในศาสนาอิสลาม เป็นต้น<br />

1<br />

<strong>Bangkok</strong> was intentionally planned after the cosmology according to Hinduism and<br />

Buddhism beliefs. This planning practice had been inherited from the Ayutthaya Kingdom.<br />

The Grand Palace represents the heaven where Indra resides. Sanam Luang (Thung Pra<br />

Men) is the site for court rituals such as royal cremation ceremony. Essential palaces,<br />

such as the Front Palace, the Rear Palace, and Tha Phra Palace, are located according<br />

to their status and roles in the city, while devasathan and the Giant Swing are designated<br />

as the sites for Brahmin rituals. Meanwhiles, temples are built following Buddhism<br />

teachings or beliefs; for example, Loha Prasat at Wat Ratchanatdaram represents the<br />

Bodhipakkhiya Dhamma, the layout of Wat Suthat Thepphawararam and Wat Phra<br />

Chetuphon (Wat Pho) follows the belief of Mount Meru as the sacred centre of the universe.<br />

While <strong>Bangkok</strong> was designed on the ground of Hinduism and Buddhism beliefs, the<br />

city consists of many ethnic groups and religious faiths: Buddhism, Christianity, and<br />

Islam. All of these ethnic cultures and religious beliefs co-exist side-by-side, as evident<br />

in communities such as Kadeejeen; and in hybrid buildings such as Tonson Mosque –<br />

where the interior is a mix of Islamic, Thai and Western influences as well as in Bang Ao<br />

Mosque – where Islamic and Western styles are beautifully integrated.<br />

曼 谷 , 继 承 了 从 大 城 时 期 就 流 传 下 来 的 传 统 建 筑 风 格 , 是 第 一 座 为 了 模 拟 印 度 教 和 佛 教 传 说 中 天 堂 和 世 界 的 样 子 而 建 立 的 城 市 。 大 皇<br />

宫 , 就 是 印 度 教 中 帝 释 天 因 陀 罗 所 在 的 天 堂 呈 现 ; 皇 家 田 广 场 , 就 是 当 国 王 陛 下 驾 崩 或 者 其 他 皇 室 成 员 去 世 时 , 用 来 举 行 飞 升 天 堂 仪<br />

式 的 场 地 , 是 按 照 佛 教 中 的 僧 人 级 别 和 庇 佑 曼 谷 的 职 责 来 布 置 场 地 周 围 ( 如 : 位 列 于 僧 王 前 后 的 佛 教 高 僧 职 务 )。 还 有 婆 罗 门 教 中<br />

用 来 举 行 仪 式 的 圣 坛 和 大 回 环 等 宗 教 建 筑 。 很 多 想 象 中 的 佛 教 寺 庙 也 大 量 出 现 , 大 部 分 是 受 佛 教 影 响 建 立 起 来 的 寺 庙 , 如 拉 察 纳 达<br />

寺 , 是 为 了 展 示 佛 教 中 规 定 的 37 条 清 规 以 及 印 度 教 中 的 须 弥 山 和 南 赡 部 洲 。 并 且 , 很 多 寺 庙 被 设 计 成 适 用 于 教 众 修 行 的 佛 教 寺 庙 。<br />

尽 管 曼 谷 的 建 筑 风 格 是 以 “ 印 度 教 和 佛 教 ” 为 基 础 , 但 是 曼 谷 的 建 筑 风 格 仍 然 受 到 了 多 宗 教 和 多 民 族 的 影 响 , 如 佛 教 、 基 督 教 和 伊 斯<br />

兰 教 , 并 且 多 宗 教 文 化 也 通 过 曼 谷 城 内 各 宗 教 信 仰 者 的 交 流 , 使 各 宗 教 间 产 生 了 和 谐 地 融 合 与 发 展 。 很 多 中 式 以 及 多 风 格 混 合 的 建<br />

筑 物 也 随 之 产 生 , 如 清 真 寺 内 部 的 艺 术 风 格 就 融 合 了 伊 斯 兰 教 、 泰 式 和 西 方 风 格 , 或 者 是 清 真 寺 融 合 了 西 方 和 伊 斯 兰 教 风 格 等 等 。<br />

62<br />

• BANGKOK WALKING GUIDE BANGKOK WALKING GUIDE • 63<br />

OO3<br />

2<br />

โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร<br />

LOHA PRASAT, WAT RATCHANATDARAM<br />

叻 查 纳 达 兰 金 殿 寺<br />

3<br />

4<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

850 m<br />

ภูเขาทอง<br />

Phu Khao Thong<br />

(The Golden Mountain)<br />

900 m<br />

ย่านถนนข้าวสาร<br />

Khaosan Road<br />

300 m<br />

4<br />

7<br />

อาคาร<br />

นิทรรศน์รัตนโกสินทร์<br />

Rattanakosin<br />

Exhibition Hall<br />

(Nitasrattanakosin)<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : วัดราชนัดดารามวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๓๙๔<br />

ลำาดับการบูรณปฎิสังขรณ์ :<br />

สมัยรัชกาลที่ ๕ และ รัชกาลที่ ๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

5<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Wat Ratchanatdaram<br />

Year of construction : 1851 A.D.<br />

Restoration : King Chulalongkorn<br />

(Rama V) and King Bhumibol<br />

(Rama IX)<br />

Year Awarded : 2007 A.D.<br />

จะบอกว่าเป็นมรดกเพียงชิ้นเดียว<br />

ของโลกในตอนนี้ก็คงไม่ผิด เพราะ<br />

ถึงโลหะปราสาทแห่งนี ้จะสร้างขึ้น<br />

เป็นหลังที่ ๓ ต่อจากอินเดียและศรี<br />

ลังกา แต่ก็เป็นหลังแรกและหลังเดียว<br />

ของไทยที่ยังคงสมบูรณ์สวยงามอยู่<br />

เพียงแห่งเดียวในโลก ความน่าสนใจ<br />

อยู่ที่ตัวปราสาทซึ่งมีลักษณะศิลป<br />

สถาปัตยกรรมแบบไทยที่งดงามเอา<br />

6<br />

มากๆ ตัวอาคารสร้างขึ้นจากพระ<br />

ราชดาริของรัชกาลที่ ๓ เป็นปราสาท<br />

๓ ชั้น ๓๗ ยอดตามคติธรรมทางพุทธ<br />

ศาสนา ส่วนกลางปราสาทเป็นช่อง<br />

กลวง มีไม้ซุงต้นใหญ่เป็นแกนกลาง<br />

ตั้งสูงถึงยอดปราสาท เจาะลาต้นตอก<br />

เป็นบันไดเวียนขึ้นไป ๖๗ ขั้น ซึ่งเรา<br />

สามารถเข้าชมเรื่องราวการก่อสร้าง<br />

โลหะปราสาทได้ในส่วนของพิพิธภัณฑ์<br />

ที่ชั้นล่างอีกด้วย<br />

Though built as the third one<br />

in the world, after those in India<br />

and Sri Lanka, Loha Prasat at Wat<br />

Ratchanatdaram is the only one<br />

left in perfect condition. It is the<br />

first Loha Prasat and the only one<br />

of its kind in Thailand. Following<br />

the Buddhist belief, Loha Prasat is<br />

designed as three-storey building<br />

consisting of 37 Thai-style crowns.<br />

At the centre of the building is a hollow<br />

shaft, within which one large log<br />

erects from the bottom to the top of<br />

the building. Rounding this wooden<br />

core is the circular staircase of 67<br />

steps winding its way up to the top.<br />

The building history of this magnificent<br />

structure is exhibited at<br />

museum downstairs.<br />

如 果 说 叻 查 纳 达 兰 金 殿 寺 是 当 今 世 界 上 唯 一 的<br />

一 处 金 殿 寺 也 不 为 过 , 虽 该 座 金 殿 寺 为 世 界 范 围 内 印<br />

度 和 斯 里 兰 卡 的 第 三 座 , 而 在 泰 国 却 是 唯 一 的 一 座 。<br />

该 座 建 筑 物 由 第 三 世 皇 倡 议 而 兴 建 , 其 最 特 别 之 处 就<br />

在 于 宫 殿 的 整 体 是 一 座 极 其 精 美 的 泰 式 建 筑 。 金 殿 寺<br />

为 三 层 建 筑 , 按 照 佛 教 定 理 在 金 殿 寺 建 有 三 十 七 个 塔<br />

顶 , 金 殿 寺 中 部 为 空 凸 状 尖 顶 , 四 周 便 可 采 光 ; 螺 旋<br />

状 楼 梯 为 一 根 高 大 的 木 头 雕 挖 而 成 , 共 六 十 七 阶 。<br />

游 客 不 仅 可 以 登 高 望 远 , 还 可 以 参 访 底 层 的 博 物 馆 ,<br />

参 观 并 了 解 金 殿 的 来 历 。<br />

๒ ถนนมหาไชย แขวงสำาราญราษฎร์<br />

เขตพระนคร 2 Mahachai Road,<br />

Samran Rat, Phra Nakhon<br />

ทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.<br />

Everyday 09:00 AM – 04:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

2, 12, 15, 47, 59, 60, 157, 183<br />

ท่าพระอาทิตย์ ท่าพระจันทร์ ท่ามหาราช<br />

Phra Athit Pier, Phra Chan Pier,<br />

Maharaj Pier<br />

8<br />

68<br />

• BANGKOK WALKING GUIDE BANGKOK WALKING GUIDE • 69<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

61<br />

bwg_how to_20180614.indd 61<br />

6/14/2561 BE 2:41 PM


สยามแบบจารีต<br />

TRADITIONAL SIAM<br />

暹 罗 时 期 的 传 统 建 筑<br />

กรุงเทพฯ เมื่อแรกสร้าง คือ เมืองที่ออกแบบขึ้นเพื่อจ ำลองโลกและจักรวาลตามคติ “ฮินดู - พุทธ”<br />

แบบจารีตที่สืบทอดมาตั้งแต่สมัยอยุธยา พระบรมมหาราชวัง คือ ภาพจำลองของวิมาน<br />

พระอินทร์ สนามหลวง (ทุ่งพระเมรุ) คือ ลานประกอบพระราชพิธีส่งเสด็จกษัตริย์สู่ดาวดึงสวรรค์<br />

เมื่อสวรรคต วังต่างๆ จัดวางรายรอบตามลำดับฐานานุศักดิ์และบทบาทหน้าที่ในการปกป้อง<br />

พระนคร (เช่น วังหน้า วังหลัง และวังท่าพระ) มีเทวสถานโบสถ์พราหมณ์และเสาชิงช้าเป็น<br />

สถานที่ประกอบพิธีกรรมเนื่องในคติพราหมณ์ วัดวาอารามล้วนถูกสร้างขึ้นบนฐานคิดในการ<br />

เป็นพื้นที่อุดมคติทางพุทธศาสนา ไม่ว่าจะเป็นการสะท้อนหลักธรรมขั้นสูง เช่น โลหะปราสาท<br />

วัดราชนัดดารามที่แสดงหลักคิดเรื่องโพธปักขิยธรรม ๓๗ ประการ คติเขาพระสุเมรุหรือมัชฌิม<br />

ประเทศในชมพูทวีปเช่นที่ปรากฏในการออกแบบวัดสุทัศนเทพวรารามและวัดพระเชตุพนฯ<br />

อย่างไรก็ตาม แม้กรุงเทพฯ จะถูกสถาปนาขึ้นบนฐานคิดแบบ “ฮินดู - พุทธ” แต่กรุงเทพฯ ก็ถูก<br />

สร้างบนความหลากหลายของกลุ่มชาติพันธุ์และความเชื่อทางศาสนา ทั้งพุทธ คริสต์ และอิสลาม<br />

ที่ผสมผสานเข้าด้วยกันอย่างกลมกลืน แสดงออกให้เห็นผ่านย่านชุมชนหลากหลายศาสนา<br />

ในบริเวณ กะดีจีน และในงานสถาปัตยกรรมหลายชิ้น เช่น มัสยิดต้นสนที่งานศิลปกรรมภายใน<br />

ผสมกันระหว่างศิลปะแบบอิสลาม ศิลปะไทย และศิลปะตะวันตก หรือ มัสยิดบางอ้อที่ผสมผสาน<br />

ระหว่างศิลปะตะวันตกกับศิลปะในศาสนาอิสลาม เป็นต้น<br />

<strong>Bangkok</strong> was intentionally planned after the cosmology according to Hinduism and<br />

Buddhism beliefs. This planning practice had been inherited from the Ayutthaya Kingdom.<br />

The Grand Palace represents the heaven where Indra resides. Sanam Luang (Thung Pra<br />

Men) is the site for court rituals such as royal cremation ceremony. Essential palaces,<br />

such as the Front Palace, the Rear Palace, and Tha Phra Palace, are located according<br />

to their status and roles in the city, while devasathan and the Giant Swing are designated<br />

as the sites for Brahmin rituals. Meanwhiles, temples are built following Buddhism<br />

teachings or beliefs; for example, Loha Prasat at Wat Ratchanatdaram represents the<br />

Bodhipakkhiya Dhamma, the layout of Wat Suthat Thepphawararam and Wat Phra<br />

Chetuphon (Wat Pho) follows the belief of Mount Meru as the sacred centre of the universe.<br />

While <strong>Bangkok</strong> was designed on the ground of Hinduism and Buddhism beliefs, the<br />

city consists of many ethnic groups and religious faiths: Buddhism, Christianity, and<br />

Islam. All of these ethnic cultures and religious beliefs co-exist side-by-side, as evident<br />

in communities such as Kadeejeen; and in hybrid buildings such as Tonson Mosque –<br />

where the interior is a mix of Islamic, Thai and Western influences as well as in Bang Ao<br />

Mosque – where Islamic and Western styles are beautifully integrated.<br />

曼 谷 , 继 承 了 从 大 城 时 期 就 流 传 下 来 的 传 统 建 筑 风 格 , 是 第 一 座 为 了 模 拟 印 度 教 和 佛 教 传 说 中 天 堂 和 世 界 的 样 子 而 建 立 的 城 市 。 大 皇<br />

宫 , 就 是 印 度 教 中 帝 释 天 因 陀 罗 所 在 的 天 堂 呈 现 ; 皇 家 田 广 场 , 就 是 当 国 王 陛 下 驾 崩 或 者 其 他 皇 室 成 员 去 世 时 , 用 来 举 行 飞 升 天 堂 仪<br />

式 的 场 地 , 是 按 照 佛 教 中 的 僧 人 级 别 和 庇 佑 曼 谷 的 职 责 来 布 置 场 地 周 围 ( 如 : 位 列 于 僧 王 前 后 的 佛 教 高 僧 职 务 )。 还 有 婆 罗 门 教 中<br />

用 来 举 行 仪 式 的 圣 坛 和 大 回 环 等 宗 教 建 筑 。 很 多 想 象 中 的 佛 教 寺 庙 也 大 量 出 现 , 大 部 分 是 受 佛 教 影 响 建 立 起 来 的 寺 庙 , 如 拉 察 纳 达<br />

寺 , 是 为 了 展 示 佛 教 中 规 定 的 37 条 清 规 以 及 印 度 教 中 的 须 弥 山 和 南 赡 部 洲 。 并 且 , 很 多 寺 庙 被 设 计 成 适 用 于 教 众 修 行 的 佛 教 寺 庙 。<br />

尽 管 曼 谷 的 建 筑 风 格 是 以 “ 印 度 教 和 佛 教 ” 为 基 础 , 但 是 曼 谷 的 建 筑 风 格 仍 然 受 到 了 多 宗 教 和 多 民 族 的 影 响 , 如 佛 教 、 基 督 教 和 伊 斯<br />

兰 教 , 并 且 多 宗 教 文 化 也 通 过 曼 谷 城 内 各 宗 教 信 仰 者 的 交 流 , 使 各 宗 教 间 产 生 了 和 谐 地 融 合 与 发 展 。 很 多 中 式 以 及 多 风 格 混 合 的 建<br />

筑 物 也 随 之 产 生 , 如 清 真 寺 内 部 的 艺 术 风 格 就 融 合 了 伊 斯 兰 教 、 泰 式 和 西 方 风 格 , 或 者 是 清 真 寺 融 合 了 西 方 和 伊 斯 兰 教 风 格 等 等 。<br />

62<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

63


Lung Rd.<br />

ithi Rd.<br />

Soi Ra<br />

Charan Sanitwong Rd<br />

Rama VIII Rd<br />

Rama VIII Rd<br />

Chao Phraya River<br />

Rama VIII Bridge<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Samsen Rd.<br />

Au Thong Nok Rd.<br />

Soi Khang Samoson<br />

Thap Bok<br />

Soi Phitsanulok 2<br />

Ratchasima Rd.<br />

Charan Sanitwong Rd<br />

awat Rd<br />

Itsaraphap Rd Itsaraphap Rd<br />

Arun Amarin Rd<br />

Thonburi Railway<br />

Wang Lang Pier<br />

(Prannok)<br />

N10<br />

d Wang Lang Rd Wang Lang Rd<br />

Arun Amarin Rd<br />

7<br />

Somdet Phra Pin Klao Rd Somdet Phra Pin Klao Bridge<br />

Wat Daodungsaram Pier<br />

Phra Pin KlaoBridge<br />

Phra Pin Klao<br />

Thonburi<br />

Chao<br />

Phraya River<br />

Na Phra Lan Rd<br />

Maha Rat Rd<br />

Tha Phra Chan<br />

Tha Prachan<br />

Cross River Ferry<br />

Pier<br />

6<br />

Chang Pier<br />

Phra Pin Klo<br />

Phra Nakhon<br />

Ratchadamnoen Nai Rd<br />

Rop Krung Canal<br />

Phra Arthit<br />

Chakrabongse Rd<br />

Rop Krung Canal<br />

Rama VIII Rd<br />

Samsen Rd.<br />

Phra Sumen Rd<br />

Ratchadamnoen Klang Rd<br />

5<br />

Kalayana Maitri Rd<br />

Mahannop Rd.<br />

Din So Rd.<br />

Samsen Rd.<br />

Visut Kasat Rd.<br />

Maha Chai Rd.<br />

Luk Luang Rd.<br />

Rracha Thipatai Rd.<br />

Phra Sumen Rd<br />

3<br />

4<br />

Phitsanulok Rd.<br />

Soi Thewet 3<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Ratchdamnern Nok Rd.<br />

Worachak Rd.<br />

Sri Ayuth<br />

Soi<br />

Nak<br />

Maha Nak<br />

Chakka Phatdiphong Rd.<br />

Sanam Chai Rd<br />

Itsaraphap Rd<br />

Rop Krung Canal<br />

8<br />

Tha Tien<br />

Charoen Krung Rd<br />

Lung Rd.<br />

Itsaraphap Rd<br />

Khun Mae Pueak<br />

CrossRiver Ferry Pier<br />

Arun Amarin Rd<br />

10<br />

9<br />

Wat<br />

Kanlayanamit<br />

Chakphet Rd<br />

Rajinee<br />

Tri Phet Rd<br />

Pak Khlong Talat<br />

Chakphet Rd<br />

Chakkrawat Rd.<br />

Charoen Krung Rd<br />

Yaowarat Rd<br />

Plaeng Nam Rd<br />

Yaowa<br />

Itsaraphap Rd<br />

Arun Amarin Rd<br />

Phra Pokklao Rd<br />

Somdet Chao Ph<br />

Tha Din Daeng Rd<br />

ng Mai Rd


Soi<br />

Lan Luang 10<br />

Soi<br />

Lan Luang 10<br />

Samse<br />

ithi Rd.<br />

Samsen Rd.<br />

Thong Nok Rd.<br />

g Samoson<br />

Bok<br />

anulok 2<br />

.<br />

Ratchdamnern Nok Rd.<br />

ng Rd.<br />

Worachak Rd.<br />

oen Krung Rd<br />

d<br />

Soi Ra<br />

Ratchasima Rd.<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Charan Sanitwong Rd<br />

ra Pin Klao Bridge<br />

Plaeng Nam Rd<br />

Maha Nak Canal<br />

Chakka Phatdiphong Rd.<br />

Lung Rd.<br />

Phitsanulok Rd.<br />

Nakhon Sawan Rd.<br />

Soi<br />

Lan Luang 4<br />

Soi<br />

Lan Luang 6<br />

Rama VIII Rd<br />

Yaowarat Rd<br />

Phanlang Rd.<br />

Ratchasima<br />

Nakhon Pathom Rd.<br />

Rama V Rd.<br />

Soi<br />

Luk Luang 9<br />

Ratchawithi Rd.<br />

Au Thong Nai Rd.<br />

Luk Luang Rd.<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Suphamit Rd.<br />

Dumrongrak Rd.<br />

Lan Luang Rd.<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Maitri Chit Rd<br />

Santiphap<br />

hadamnoen Nai Rd<br />

Rama IV Rd.<br />

Mittraphan Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Rop Krung Canal<br />

Rama VIII Bridge<br />

Maitri Chit Rd<br />

Chakrabongse Rd<br />

Soi Wanit 2<br />

Soi Luk Luang 7<br />

Krung Kasem Rd<br />

Mittraphan Rd<br />

Phichai Rd<br />

Rama V Rd.<br />

Soi Su<br />

Soi Phitsanulok 1<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Soi Lan Luang 14<br />

Saen Saep Canal<br />

Charu Mueang<br />

Rama V Rd.<br />

Soi Sutcharit Nuea<br />

Soi Sutcharit 1<br />

Soi Sutcharit 2<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Banthat Thong Rd Banthat Thong Rd<br />

Sangkhothai Rd.<br />

Soi Ratchawithi 30<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Soi 4<br />

มัสยิดบางอ้อ “อัลอูบูดียะห์”<br />

Soi Liap Khlong Phadung Kasem<br />

Khao Lam Rd<br />

Khao Lam Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Charan Sanitwong Rd<br />

Ratchawithi Rd<br />

Sung Hi Marina<br />

Rama VIII Rd<br />

Mahaphuruttharam<br />

Samsen Rd.<br />

Phra Sumen Rd<br />

Ratchadamnoen Klang Rd<br />

Wat Thepakorn<br />

Wat<br />

Thepnahree<br />

Soi Lan Luang 2<br />

hannop Rd.<br />

Sawang Rd<br />

Sukhantharam Rd.<br />

Soi Sukhothai 5<br />

Ratchawithi Rd. Ratchawithi Rd.<br />

Rama VI Rd.<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Krung Thon Bridge Ratchawithi Rd.<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Din So Rd.<br />

Samsen Rd.<br />

Visut Kasat Rd.<br />

Luk Luang Rd.<br />

Rracha Thipatai Rd.<br />

Phra Sumen Rd<br />

Chao Phraya River<br />

Khao Rd.<br />

Rama VI Rd. Rama VI Rd.<br />

Rama IV Rd.<br />

Soi Ratchawithi 20<br />

Kamphange Phet 5 Rd.<br />

Sangkhalok Rd.<br />

Samsen Rd.<br />

Au Thong Nok Rd.<br />

Soi Khang Samoson<br />

Thap Bok<br />

Soi Phitsanulok 2<br />

Phitsanulok Rd.<br />

Soi Thewet 3<br />

Charan Sanitwong Rd<br />

Banthad Thong Rd.<br />

hraya Rd<br />

Rama VI Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Ratchasima Rd.<br />

Rama I Rd.<br />

Ratchdamnern Nok Rd.<br />

Maha Nak Canal<br />

Sawankhalok Rd. Sawa<br />

Samsen Rd.<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Soi Ratchawithi 44Sangkhothai Rd.<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

iphong Rd.<br />

Department of Royal<br />

Irrigation Express<br />

Boat Pier<br />

Payap Pier<br />

Phitsanulok Rd.<br />

Phanlang Rd.<br />

Nakhon Sawan Rd.<br />

Soi<br />

Lan Luang 4<br />

Soi<br />

Lan Luang 6<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Ratchasima Rd.<br />

Phayathai Rd<br />

Phayathai Rd<br />

Nakhon Pathom Rd.<br />

Rama V Rd.<br />

Soi<br />

Luk Luang 9<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Nakhon Chaisi Rd.<br />

Soi Ruam Chit 2<br />

Ratchawithi Rd.<br />

Au Thong Nai Rd.<br />

Luk Luang Rd.<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Suphamit Rd.<br />

Dumrongrak Rd.<br />

Kheaw Khai Ka Pier<br />

สยามแบบจารีต TRADITIONAL SIAM 暹 罗 时 期 的 传 统 建 筑<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

(บ่าวผู้ภักดี)<br />

Bang Ao Mosque<br />

邦 奥 清 真 寺<br />

พุทธาวาส วัดโบสถ์สามเสน<br />

Wat Bot Samsen<br />

圣 坛 寺 ( 佛 教 圣 地 )<br />

โลหะปราสาท<br />

วัดราชนัดดารามวรวิหาร<br />

Loha Prasat, Wat Ratchanatdaram<br />

叻 查 纳 达 兰 金 殿 寺<br />

หอพระไตรปิฎก<br />

วัดเทพธิดารามวรวิหาร<br />

Scripture Hall, Wat Thepthidaram<br />

藏 经 楼 (Wat Thepthidaram)<br />

เทวสถานโบสถ์พราหมณ์<br />

Devasathan (Brahmin Temple)<br />

婆 罗 门 庙<br />

6<br />

7<br />

8<br />

9<br />

10<br />

1<br />

2<br />

Ratchasima Rd.<br />

Lan Luang Rd.<br />

Samsen Rd.<br />

Amnuay Songkhram Rd<br />

Phichai Rd<br />

Soi Luk Luang 7<br />

Ruam Chit Rd<br />

Rama V Rd.<br />

Henri Dunant Rd<br />

Soi Sukhothai 8<br />

Soi Phitsanulok 1<br />

Soi 4<br />

Samsen Rd.<br />

Soi Ongkharak 6<br />

หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

Phayathai Rd<br />

Phetchaburi Rd<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Rama V Rd.<br />

Saen Saep Canal<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Soi Lan Luang 14<br />

Phichai Rd<br />

Silpakorn University Art Gallery<br />

大 学 美 术 馆<br />

หอพระไตรปิฎก วัดระฆังโฆสิตาราม<br />

Scripture Hall, Wat Rakhang<br />

Kositaram<br />

拉 康 寺 内 的 藏 经 阁<br />

Soi Lan Luang 2<br />

N<br />

Amnuay Songkhram Rd<br />

Soi Sutcharit Nuea<br />

Soi Sutcharit 1<br />

Soi Sutcharit 2<br />

กองบัญชาการกองทัพเรือ<br />

(พระราชวังเดิม กรุงธนบุรี)<br />

Royal Thai Navy Headquarters<br />

(Phra Racha Wang Derm or<br />

the Palace of Thonburi Kingdom)<br />

海 军 司 令 部 ( 前 吞 武 里 府 的 老 宫 殿 )<br />

พระอุโบสถ วัดเครือวัลย์วรวิหาร<br />

Phra Ubosot (The Ordination Hall),<br />

Wat Khrua Wan Worawihan<br />

壁 虎 神 庙 大 雄 宝 殿 内 的 壁 画<br />

อาคารรับเสด็จมัสยิดต้นสน<br />

The Pavilion of Tonson Mosque<br />

汤 森 清 真 寺 内 的 国 宴 厅<br />

Rama I Rd<br />

Phahon Yoth<br />

Ratchawithi R<br />

Ratchadamri Rd<br />

Phetchaburi Rd<br />

Ratchadamri Rd<br />

Soi Ratcha<br />

Sangkhothai Rd.<br />

Soi Ratchawithi 30<br />

Ratchawithi Rd.<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Rama V Rd.<br />

Suk<br />

Soi Sukhotha<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Kamphan<br />

Soi Sa<br />

a VI Rd. Rama VI Rd


OO1<br />

มัสยิดบางอ้อ “อัลอูบูดียะห์” (บ่าวผู้ภักดี)<br />

BANG AO MOSQUE<br />

邦 奥 清 真 寺<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : มัสยิดบางอ้อ<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๖๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer : Bang Ao Mosque<br />

Year of Construction : 1919 A.D.<br />

Year Awarded : 2016 A.D.<br />

bears an inscription of Muslim vows<br />

and the mosque’s opening year of<br />

1919 A.D. Characteristic features are<br />

the double towers topped with onion<br />

domes. Doors and windows are<br />

wood. European influences remain<br />

at highly decorative shallow-arch<br />

hoods and ventilation grills above<br />

the openings.<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.5 km<br />

วัดอาวุธวิกสิตาราม<br />

Awut Wikasitaram<br />

900 m<br />

ย่านท่าเรือพายัพ<br />

Around Payap Pier<br />

ถ้าจะมองหาอาคารสถาปัตยกรรม<br />

แบบตะวันตกผสมผสานกับสถาปัตย-<br />

กรรมแบบอิสลามที่มีรายละเอียดเรียบ<br />

ง่ายดูสวยงามแห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ<br />

ก็ต้องที่นี่เลย!..อาคารก่ออิฐถือปูนชั้น<br />

เดียวกว้าง ๑๒ เมตร ยาว ๒๔ เมตร<br />

หลังคาเป็นทรงปั้นหยามีชายคาเป็น<br />

หลังคาคอนกรีตแบน และมีลูกกรง<br />

ระเบียงทำลวดลายปูนปั้นประดับโดย<br />

รอบ ที่มุขด้านหน้ามีลวดลายปูนปั้น<br />

จารึกคำปฏิญาณตนของมุสลิมว่า<br />

“ลาอิลา ฮะอิล ลัลเลาะห์มูฮ้าหมัด<br />

รอซูล ลุลเลาะห์” พร้อมจารึก บ่าวผู้ภักดี<br />

และปีที่เริ่มใช้มัสยิดหลังนี้ (พ.ศ. ๒๔๖๒)<br />

มีหอคอยหลังคาทรงโดมขนาบทั้งสอง<br />

ข้าง ประตูและหน้าต่างเป็นไม้ ช่องลม<br />

เหนือประตูและช่องหน้าต่างเป็นปูน<br />

ปั้นทรงโค้งแบบยุโรป<br />

要 观 赏 曼 谷 最 精 致 西 方 与 伊 斯 兰 合 璧 建 筑 , 那<br />

就 一 定 要 来 邦 奥 (BangAo) 清 真 寺 ! 这 座 清 真 寺 为 砖<br />

砌 混 凝 土 结 构 建 筑 。 一 层 宽 12 米 , 进 深 24 米 ; 庑 殿<br />

式 屋 顶 , 屋 檐 成 扁 平 状 ; 灰 色 平 台 围 绕 屋 檐 一 周 ; 正<br />

面 标 有 穆 斯 林 诺 言 :“Lai laha illallah Muhammad<br />

rasul allah ” 其 含 意 为 “ 除 了 真 主 ( 安 拉 ) 外 , 无 其<br />

它 的 主 , 且 穆 罕 默 德 为 真 主 的 使 者 ( 先 知 )” 和 “ 忠<br />

诚 的 奴 扑 ”, 始 于 1919 年 , 此 年 代 正 时 该 清 真 起 用 的<br />

年 份 。 清 真 寺 大 典 左 右 两 侧 分 别 建 了 两 座 圆 顶 塔 楼 ,<br />

是 典 型 的 弧 形 玻 璃 窗 的 欧 式 建 筑 。<br />

๑๔๓ ซอยจรัญฯ ๘๖ แขวงบางอ้อ<br />

เขตบางพลัด 143 Soi Charan Sanit<br />

Wong 86, Charan Sanit Wong<br />

Road,Bang Ao, Bang Phlat<br />

วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๙.๐๐ น.<br />

และวันเสาร์ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น.<br />

Mon – Fri 09:00 AM – 07:00 PM and<br />

Sat 09:00 AM – 04:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior<br />

and interior ไม่เสียค่าเข้าชม<br />

Free entry 18, 110, 170, 175, 203<br />

ท่าเรือวัดอาวุธวิกสิตาราม Wat<br />

Awut Wikasitaram Pier<br />

The Mosque is a prime example<br />

of a mixture of Western architecture<br />

and Islamic architecture with simple<br />

but elegant details. The single-story<br />

brick and mortar building is 12 m. x<br />

24 m. in size, with hip roof and flat<br />

concrete eaves. The balustrades<br />

are exquisite plasterwork. At the<br />

centre of the balcony, a plaque<br />

66<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


OO2<br />

พุทธาวาส วัดโบสถ์สามเสน<br />

WAT BOT SAMSEN<br />

圣 坛 寺 ( 佛 教 圣 地 )<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.3 km<br />

สะพานกรุงธน<br />

Krung Thonburi Bridge<br />

500 m<br />

ตลาดศรีย่าน<br />

Sri Yan Market<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ออกแบบอนุรักษ์ : กรมศิลปากร โดย<br />

นายสุรยุทธ วิริยะดำารงค์<br />

นายกิตติพันธ์ พานสุวรรณ<br />

ผู้ครอบครอง : วัดโบสถ์สามเสน<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๒๕๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Conservation architects : Fine Arts<br />

Department by Mr. Surayut Viriyadamrong<br />

and Mr. Kittiphan Pansuwan<br />

Owner/ Overseer : Wat Bot Samsen<br />

Year of Construction : 1708 A.D.<br />

Year Awarded : 2009 A.D.<br />

ความโดดเด่นของวัดนี้คือ ตัวโบสถ์<br />

หลังเก่าที่ยังคงรูปแบบศิลปกรรมสมัย<br />

อยุธยาตอนปลายอยู่เพียงหลังเดียวใน<br />

วัด ซึ่งอาคารอื่นๆ นั้นมีลักษณะเป็น<br />

รูปแบบสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นไป<br />

หมดแล้ว ซึ่งลักษณะที่ชัดเจนที่สุดคือ<br />

ฐานโบสถ์ที่มีลักษณะโค้งลงเป็นท้อง<br />

สำเภา ซึ่งทำให้สิ่งก่อสร้างด้วยอิฐปูน<br />

ในยุคนั้นดูเบาขึ้นจนเหมือนว่าจะลอย<br />

น้ำได้ ภาพจิตรกรรมฝาผนังในโบสถ์<br />

ก็เป็นงานช่างสมัยอยุธยาตอนปลาย<br />

ที่หาดูได้ยากแล้วโดยเฉพาะพื้นที่ทาง<br />

ฝั่งพระนคร ส่วนผนังระหว่างช่อง<br />

หน้าต่างก็มีภาพเขียนทศชาติชาดกที่<br />

สวยงามจนเราอยากให้คุณได้ไปเห็น<br />

ด้วยตาตัวเอง<br />

curved base, like that of a vessel,<br />

making the brick and mortar building<br />

appears as if it were floating<br />

over the water. The murals inside<br />

the Ordination Hall is also of late<br />

Ayutthayan art, a rare example,<br />

remaining in Phra Nakhon District,<br />

especially ones between the windows<br />

depicting the Jataka Tales<br />

are worth a visit.<br />

圣 坛 寺 是 座 独 特 的 老 寺 庙 , 寺 庙 的 建 筑 艺 术 形<br />

式 仍 然 是 大 城 府 时 期 唯 一 的 , 其 它 庙 宇 建 筑 形 式 许 多<br />

具 有 曼 谷 王 朝 初 期 的 特 色 。 其 寺 庙 建 筑 最 明 显 的 特 征<br />

是 砖 泥 结 构 , 腹 部 的 大 殿 顶 部 成 弧 形 , 似 三 维 船 帆 的<br />

曲 线 建 筑 。 大 殿 内 的 墙 壁 上 绘 有 大 城 时 代 壁 画 , 特 别<br />

是 在 海 岸 地 区 部 分 之 间 的 壁 画 , 其 精 美 的 艺 术 造 诣 至<br />

今 难 以 寻 觅 。 圣 坛 寺 值 得 游 客 亲 眼 目 睹 , 值 得 一 游 。<br />

๖๕๘ ถนนสามเสน แขวงดุสิต<br />

เขตดุสิต 658 Samsen Road, Dusit,<br />

Dusit ทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐ –<br />

๑๗.๐๐ น. Everyday 08:00 AM –<br />

05:00 PM ภายนอกและภายใน<br />

Exterior and interior ไม่เสียค่าเข้าชม<br />

Free entry 3, 9, 16, 32, 33, 49, 65, 66<br />

ท่าเรือพายัพ Payap Pier<br />

700 m<br />

โรงแรมเดอะสยาม<br />

The Siam Hotel<br />

The highlight of this temple is<br />

the former Ordination Hall – the<br />

only remaining building from late<br />

Ayutthaya period, while others are<br />

more recent of early Rattanakosin<br />

style. Its unique feature is the<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

67


OO3<br />

โลหะปราสาท วัดราชนัดดารามวรวิหาร<br />

LOHA PRASAT, WAT RATCHANATDARAM<br />

叻 查 纳 达 兰 金 殿 寺<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

850 m<br />

ภูเขาทอง<br />

Phu Khao Thong<br />

(The Golden Mountain)<br />

900 m<br />

ย่านถนนข้าวสาร<br />

Khaosan Road<br />

300 m<br />

อาคาร<br />

นิทรรศน์รัตนโกสินทร์<br />

Rattanakosin<br />

Exhibition Hall<br />

(Nitasrattanakosin)<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : วัดราชนัดดารามวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๓๙๔<br />

ลำาดับการบูรณปฎิสังขรณ์ :<br />

สมัยรัชกาลที่ ๕ และ รัชกาลที่ ๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Wat Ratchanatdaram<br />

Year of construction : 1851 A.D.<br />

Restoration : King Chulalongkorn<br />

(Rama V) and King Bhumibol<br />

(Rama IX)<br />

Year Awarded : 2007 A.D.<br />

จะบอกว่าเป็นมรดกเพียงชิ้นเดียว<br />

ของโลกในตอนนี้ก็คงไม่ผิด เพราะ<br />

ถึงโลหะปราสาทแห่งนี ้จะสร้างขึ้น<br />

เป็นหลังที่ ๓ ต่อจากอินเดียและศรี<br />

ลังกา แต่ก็เป็นหลังแรกและหลังเดียว<br />

ของไทยที่ยังคงสมบูรณ์สวยงามอยู่<br />

เพียงแห่งเดียวในโลก ความน่าสนใจ<br />

อยู่ที่ตัวปราสาทซึ่งมีลักษณะศิลป<br />

สถาปัตยกรรมแบบไทยที่งดงามเอา<br />

มากๆ ตัวอาคารสร้างขึ้นจากพระ<br />

ราชดำริของรัชกาลที่ ๓ เป็นปราสาท<br />

๓ ชั้น ๓๗ ยอดตามคติธรรมทางพุทธ<br />

ศาสนา ส่วนกลางปราสาทเป็นช่อง<br />

กลวง มีไม้ซุงต้นใหญ่เป็นแกนกลาง<br />

ตั้งสูงถึงยอดปราสาท เจาะลำต้นตอก<br />

เป็นบันไดเวียนขึ้นไป ๖๗ ขั้น ซึ่งเรา<br />

สามารถเข้าชมเรื่องราวการก่อสร้าง<br />

โลหะปราสาทได้ในส่วนของพิพิธภัณฑ์<br />

ที่ชั้นล่างอีกด้วย<br />

Though built as the third one<br />

in the world, after those in India<br />

and Sri Lanka, Loha Prasat at Wat<br />

Ratchanatdaram is the only one<br />

left in perfect condition. It is the<br />

first Loha Prasat and the only one<br />

of its kind in Thailand. Following<br />

the Buddhist belief, Loha Prasat is<br />

designed as three-storey building<br />

consisting of 37 Thai-style crowns.<br />

At the centre of the building is a hollow<br />

shaft, within which one large log<br />

erects from the bottom to the top of<br />

the building. Rounding this wooden<br />

core is the circular staircase of 67<br />

steps winding its way up to the top.<br />

The building history of this magnificent<br />

structure is exhibited at<br />

museum downstairs.<br />

如 果 说 叻 查 纳 达 兰 金 殿 寺 是 当 今 世 界 上 唯 一 的<br />

一 处 金 殿 寺 也 不 为 过 , 虽 该 座 金 殿 寺 为 世 界 范 围 内 印<br />

度 和 斯 里 兰 卡 的 第 三 座 , 而 在 泰 国 却 是 唯 一 的 一 座 。<br />

该 座 建 筑 物 由 第 三 世 皇 倡 议 而 兴 建 , 其 最 特 别 之 处 就<br />

在 于 宫 殿 的 整 体 是 一 座 极 其 精 美 的 泰 式 建 筑 。 金 殿 寺<br />

为 三 层 建 筑 , 按 照 佛 教 定 理 在 金 殿 寺 建 有 三 十 七 个 塔<br />

顶 , 金 殿 寺 中 部 为 空 凸 状 尖 顶 , 四 周 便 可 采 光 ; 螺 旋<br />

状 楼 梯 为 一 根 高 大 的 木 头 雕 挖 而 成 , 共 六 十 七 阶 。<br />

游 客 不 仅 可 以 登 高 望 远 , 还 可 以 参 访 底 层 的 博 物 馆 ,<br />

参 观 并 了 解 金 殿 的 来 历 。<br />

๒ ถนนมหาไชย แขวงสำาราญราษฎร์<br />

เขตพระนคร 2 Mahachai Road,<br />

Samran Rat, Phra Nakhon<br />

ทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.<br />

Everyday 09:00 AM – 04:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

2, 12, 15, 47, 59, 60, 157, 183<br />

ท่าพระอาทิตย์ ท่าพระจันทร์ ท่ามหาราช<br />

Phra Athit Pier, Phra Chan Pier,<br />

Maharaj Pier<br />

68<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

69


OO4<br />

หอพระไตรปิฎก วัดเทพธิดารามวรวิหาร<br />

SCRIPTURE HALL, WAT THEPTHIDARAM<br />

藏 经 楼 (Wat Thepthidaram)<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

550 m<br />

พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์<br />

Corrections Museum<br />

500 m<br />

ย่านเสาชิงช้า<br />

Area around<br />

The Giant Swing<br />

600 m<br />

เสาชิงช้า<br />

The Giant Swing<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ออกแบบอนุรักษ์ : อาสาสมัครใน<br />

โครงการอาษา อาสาสถาปัตยกรรมไทย<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ผู้ครอบครอง : วัดเทพธิดารามวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๓๔๙ ในสมัยรัชกาลที่๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Conservation architects : volunteers<br />

from the conservation program<br />

organised by the Association of<br />

Siamese Architects Under Royal<br />

Patronage (ASA)<br />

Owner/ Overseer :<br />

Wat Thepthidaram<br />

Year of Construction : 1806 A.D.<br />

(reign of King Rama III)<br />

Year Awarded : 2012 A.D.<br />

อีกหนึ่งอาคารที่มีคุณค่าด้าน<br />

ประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรมของ<br />

ไทยที่เคยมีสภาพทรุดโทรมอย่างหนัก<br />

จึงได้รับเลือกจากโครงการอนุรักษ์<br />

สถาปัตยกรรมไทยประเพณี โดย<br />

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๑ ให้ท ำการ<br />

บูรณะซ่อมแซมจนมีความสมบูรณ์<br />

สวยงาม และได้รับรางวัล Award of<br />

Merit จาก UNESCO Asia-Pacific<br />

Heritage Awards เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๔<br />

หอพระไตรปิฎก ๒ หลัง เป็นอาคาร<br />

ทรงไทย โครงสร้างกำแพงรับน้ำหนัก<br />

(Wall Bearing) มีระเบียงเปิดโล่งโดย<br />

รอบ มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า<br />

วางอาคารตามแนวทิศเหนือ – ใต้ เป็น<br />

อาคารสูง ๒ ชั้น ชั้นล่างเป็นใต้ถุน ชั้น<br />

บนเป็นหอพระไตรปิฎก หลังคาเป็นทรง<br />

จั่ว มุงด้วยกระเบื้องดินเผา หน้าบันเป็น<br />

ไม้ ประดับด้วยช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์<br />

กรอบประตูและกรอบหน้าต่างประดับ<br />

ด้วยซุ้มปูนปั้นผูกลายด้วยดอกพุดตาน<br />

โดยรอบ ที่พนักระเบียงกรุกระเบื้องปรุ<br />

แบบจีนตกแต่งด้วยบัวปูนปั้นที่มีความ<br />

สวยงาม<br />

With its rich cultural heritage,<br />

the building was, unfortunately, in<br />

a derelict condition. For this reason,<br />

it was chosen by the Association<br />

of Siamese Architects under Royal<br />

Patronage (ASA) in 2008 A.D., for a<br />

conservation program organised<br />

by ASA. The building was restored<br />

to a good condition and won the<br />

Award of Merit from UNESCO<br />

Asia-Pacific Heritage Awards in<br />

2011 A.D.<br />

The two Scripture Halls are of<br />

traditional Thai architecture. A balcony<br />

wraps around the load-bearing<br />

walls of the Hall. Its rectangular<br />

plan is oriented north-south. The<br />

two-storey building contains the<br />

Scripture Hall on the upper floor.<br />

The gable roof is clad in terracotta<br />

tiles and decorated with the typical<br />

Thai elements of chor fa, bai raka<br />

and hang hong. The tympanum is<br />

made of wood; while the door and<br />

window frames are ornamented in<br />

stucco with Dok Pudtan motif. The<br />

balustrades of the balcony feature<br />

green Chinese ventilation tiles as<br />

well as decorative plaster mouldings.<br />

藏 经 楼 曾 经 是 一 处 破 烂 不 堪 的 建 筑 , 在 2OO8<br />

年 的 泰 国 传 统 建 筑 保 护 工 程 项 目 中 得 以 修 缮 一 新 , 现<br />

已 成 为 一 座 典 雅 而 又 具 有 历 史 价 值 的 建 筑 , 并 于 2011<br />

年 获 联 合 国 教 科 文 组 织 亚 太 文 化 遗 产 奖 。 藏 经 楼 是 一<br />

座 南 北 向 , 中 轴 承 重 墙 连 接 前 后 两 大 殿 , 四 周 阳 台 围<br />

绕 , 呈 巨 型 构 造 的 泰 式 建 筑 。 藏 经 楼 分 上 下 两 层 , 楼<br />

顶 为 山 墙 屋 顶 , 用 瓷 砖 瓦 装 饰 , 四 角 为 龙 首 、 龙 鳞 及<br />

龙 尾 木 雕 ; 木 质 山 墙 的 门 框 窗 框 也 均 有 立 体 木 雕 , 阳<br />

台 是 以 中 式 琉 璃 瓦 , 装 饰 有 荷 花 等 吉 祥 图 案 。<br />

70<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


๗๐ ถนนมหาไชย แขวงสำาราญราษฎร์ เขตพระนคร 70 Maha Chai Road, Samran Rat, Phra<br />

Nakhon ทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. Everyday 09:00 AM - 04:00 PM ภายนอกและ<br />

ภายใน Exterior and interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry 57 ท่าพระอาทิตย์ ท่าพระจันทร์<br />

ท่ามหาราช Phra Athit Pier, Phra Chan Pier, Maharaj Pier<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

71


OO5<br />

เทวสถานโบสถ์พราหมณ์<br />

DEVASATHAN (BRAHMIN TEMPLE)<br />

婆 罗 门 庙<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

550 m<br />

วัดราชบพิตรสถิต<br />

มหาสีมารามราชวรวิหาร<br />

Wat Ratchabophit<br />

Sathit Maha Simaram<br />

Ratcha Wara Maha<br />

Wihan<br />

300 m<br />

แพร่งนรา<br />

Phraeng Nara<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบบูรณะ :<br />

พลอากาศตรี อาวุธ เงินชูกลิ่น<br />

ผู้ครอบครอง : พระมหาราชครู<br />

พิธีศรีวิสุทธิคุณวิบูลย์เวทย์บรมหงส์<br />

พรหมพงศ์ พฤฒาจริย์ (พราหมณ์ ชวิน<br />

รังสิพราหมณกุล)<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๓๒๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

Architect responsible for<br />

the restoration : Air vice-marshal<br />

Awut Ngernchuklin<br />

Owner/ Overseer : Phra Maha<br />

Rajakru Phiteesriwisuthikun,<br />

the chief Brahmin at the<br />

Devasathan<br />

Year of construction : 1784 A.D.<br />

Year Awarded : 2013 A.D.<br />

ศาสนสถานศักดิสิทธิ์ที่สร้างขึ้น<br />

มาพร้อมๆ กับเสาชิงช้า เพื่อใช้เป็น<br />

สถานที่ประกอบพระราชพิธีสำคัญ<br />

ประจำพระนครมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่<br />

๑ ตัวอาคารในเทวสถานประกอบด้วย<br />

โบสถ์ทั้งหมด ๓ หลัง ซึ่งเป็นอาคาร<br />

ก่ออิฐถือปูนชั้นเดียววางเรียงไปตาม<br />

ทิศเหนือ - ใต้มีกำแพงล้อมรอบ โดย<br />

หมู่อาคารนี้ได้ขึ้นทะเบียนเป็นโบราณ<br />

สถานสำคัญของชาติมาตั้งแต่ พ.ศ.<br />

๒๔๙๒<br />

Devasathan is a Brahmin temple<br />

built around the same time as the<br />

Giant Swing as a site for Royal<br />

ceremonies since the reign of King<br />

Rama I. The compound consisted of<br />

three main shrines, each of which is<br />

single-story, north-south orientated<br />

and built in brick and mortar. Walls<br />

are on all sides. The buildings have<br />

been registered as national historic<br />

sites since 1949 A.D.<br />

这 座 神 圣 宗 教 地 方 随 着 秋 千 架 建 造 起 来 的 , 从<br />

第 一 世 皇 使 用 这 座 婆 罗 门 庙 举 行 重 要 的 仪 式 。 婆 罗<br />

门 庙 里 由 三 座 教 堂 构 成 的 , 这 是 用 砖 头 砌 成 , 有 墙<br />

围 绕 , 这 三 座 教 堂 陈 列 沿 着 北 方 向 到 南 方 。 于 1949<br />

文 物 局 登 记 这 些 建 筑 , 所 以 这 个 地 方 变 成 泰 国 文 化 遗<br />

产 。<br />

๒๖๘ ถนนดินสอ แขวงเสาชิงช้า<br />

เขตพระนคร 268 Dinso Road,<br />

Sao Chingcha, Phra Nakhon<br />

ทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๗.๐๐ น.<br />

Everyday 09:00 AM – 05:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior<br />

and interior ไม่เสียค่าเข้าชม<br />

Free entry 3, 12, 42<br />

ท่าพระจันทร์ ท่ามหาราช ท่าเตียน<br />

Phra Chan Pier, Maharaj Pier, Tha<br />

Tian Pier<br />

1 km<br />

สวนสราญรมย์<br />

Saranrom Park<br />

72<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

73


OO6<br />

หอศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

SILPAKORN UNIVERSITY ART GALLERY<br />

大 学 美 术 馆<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

400 m<br />

พระบรมมหาราชวัง<br />

The Grand Palace<br />

500 m<br />

ท่าพระจันทร์<br />

Phra Chan Pier<br />

700 m<br />

สนามหลวง<br />

Sanam Luang<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ :นายโจอาคิม กราสซี<br />

ออกแบบพระตำาหนักกลาง<br />

ผู้ครอบครอง : มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ปีที่สร้าง : ท้องพระโรง (สมัยรัชกาลที่<br />

๑), พระตำาหนักกลาง (สมัยรัชกาลที่ ๕)<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

Architect/ Designer: Mr. Joachim<br />

Grassi who designed the Phra<br />

Tamnak Klang of Tha Phra Palace<br />

Owner/ Overseer :<br />

Silpakorn University<br />

Year of construction :<br />

Throne Hall: King Rama I period,<br />

Phra Tamnak Klang: King<br />

Chulalongkorn (Rama V) period<br />

Year Awarded : 1989 A.D.<br />

อาคารเก่าอายุเกินกว่า ๒๐๐ ปี<br />

หลังนี้ เคยเป็นส่วนหนึ่งของวังท่าพระ<br />

ซึ่งสร้างขึ้นตั้งแต่ยุคปฐมกษัตริย์แห่ง<br />

ราชวงศ์จักรี นับเป็นอาคารในยุค<br />

แรกๆ ที่สร้างขึ้นหลังย้ายเมืองหลวง<br />

จากกรุงธนบุรีมาทางฝั่งตะวันออก<br />

ของแม่น้ำเจ้าพระยา เมื่อถึงรัชสมัย<br />

ของรัชกาลที่ ๕ ก็ได้มีการก่อสร้างพระ<br />

ตำหนักกลางขึ ้นตามสถาปัตยกรรม<br />

แบบนีโอคลาสสิค ปัจจุบันหอศิลป์ถูก<br />

ใช้เป็นที่จัดแสดงนิทรรศการหมุนเวียน<br />

เพื่อส่งเสริมและเผยแพร่งานศิลปะ<br />

ร่วมสมัยอยู่เสมอ เป็นโอกาสดีที่เรา<br />

จะได้ชมสถาปัตยกรรมเก่าและเข้าชม<br />

งานศิลปะดีๆ ได้ไปพร้อมกัน<br />

More than 200 years old, the<br />

building was the original throne<br />

hall of Tha Phra Palace built in the<br />

early Rattanakosin era. It was one<br />

of the first buildings erected after<br />

the capital city was moved from the<br />

west bank of Chao Phraya River,<br />

Thonburi, to the eastern bank, Phra<br />

Nakhon. In the reign of King Chulalongkorn,<br />

Phra Tamnak Klang was<br />

built in the neoclassical style, adjacent<br />

to the rear wall of the throne<br />

hall. At present, both buildings<br />

serve well as Silpakorn University<br />

Art Gallery, aimed at supporting<br />

and publicising contemporary art.<br />

Visiting the Gallery is an excellent<br />

opportunity to see both historic<br />

architecture and contemporary art<br />

exhibitions.<br />

超 过 200 年 的 这 座 建 筑 物 , 曾 经 是 Tha Phra<br />

的 一 部 之 一 , 这 建 筑 物 是 从 第 一 世 皇 建 造 起 来 的 , 是<br />

把 吞 武 里 的 古 城 都 搬 到 了 湄 南 河 的 东 岸 。 当 第 五 世 皇<br />

时 代 就 建 造 了 正 殿 。 是 一 座 根 据 新 古 典 时 期 的 建 筑 艺<br />

术 而 建 造 的 正 殿 。 现 在 美 术 馆 使 用 举 行 流 转 展 览 , 为<br />

了 推 广 当 代 艺 术 。 这 是 很 好 的 机 会 , 我 们 除 了 可 以<br />

参 观 以 前 的 建 筑 物 而 且 可 以 欣 赏 了 很 价 值 的 美 术 。<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตวัง<br />

ท่าพระ ถนนหน้าพระลาน แขวงพระบรม<br />

มหาราชวัง เขตพระนคร Silpakorn<br />

University, Wang Tha Phra Campus,<br />

Na Phra Lan Road, Phraborom<br />

Maha Ratchawang, Phra Nakhon<br />

วันจันทร์-ศุกร์ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๙.๐๐ น.<br />

และวันเสาร์ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น.<br />

Mon-Fri 09:00 AM – 07:00 PM and<br />

Sat 09:00 AM – 04:00 PM ภายนอก<br />

และภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

32, 53, 82, 91, 203, 503 ท่าช้าง<br />

Tha Chang Pier<br />

74<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


OO7<br />

หอพระไตรปิฎก วัดระฆังโฆสิตาราม<br />

SCRIPTURE HALL, WAT RAKHANG KOSITARAM<br />

拉 康 寺 内 的 藏 经 阁<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

400 m<br />

พิพิธภัณฑ์เรือพระราชพิธี<br />

National Museum of<br />

Royal Barges<br />

600 m<br />

ย่านวังหลัง<br />

Area around<br />

Wang Lang<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : วัดระฆังโฆสิตาราม<br />

ปีที่สร้าง : รัชกาลที่ ๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

Architect/ Designer: Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Wat Rakhang Kositaram<br />

Year of construction :<br />

King Rama I period<br />

Year Awarded : 1987 A.D.<br />

วัดโบราณริมแม่น้ำเจ้าพระยาที่<br />

สร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา<br />

แห่งนี้ เป็นอีกหนึ่งวัดประวัติศาสตร์<br />

ของไทยที่ไม่ควรพลาด เพราะมีหอ<br />

พระไตรปิฎกลักษณะเป็นเรือนไทย<br />

แฝด ๓ หลังที่มีความสวยงามมาก<br />

อยู่หลังหนึ่ง ตัวเรือนฝาปะกน มีชาน<br />

ด้านหน้าล้อมรอบด้วยรั้วไม้ ตัวหลังคา<br />

มุงด้วยกระเบื้อง มีกระเบื้องเชิงชาย<br />

ลายเทพพนมประดับอยู่บริเวณปีกนก<br />

รองรับชายคาด้วยคันทวยแกะสลัก<br />

เป็นรูปนาคปิดทองประดับกระจก<br />

ภายในมีภาพจิตรกรรมฝีมือครั้งสมัย<br />

รัชกาลที่ ๑ นอกจากนี้ ยังมีตู้พระ<br />

ไตรปิฎกขนาดใหญ่ฝีมือช่างอยุธยา<br />

ได้ชื่อว่าเป็นตู้ลายรดน้ำที่งดงามมาก<br />

จนต้องไปดูให้เห็นกับตา<br />

Built in the Ayutthaya period,<br />

Wat Rakahng Kositaram is one of<br />

the must-visit temples in Thailand.<br />

Its Scripture Hall designed in<br />

the form of triple Thai houses is<br />

exquisitely well-crafted. The wall<br />

panels are of typical Thai architectural<br />

element of fa pakon. Wooden<br />

balustrades bound the front porch.<br />

The roof is clad in tiles, ending in<br />

Thep Phanom motifs. The roof<br />

overhang is supported by corbels<br />

crafted in a shape of naga, gilded<br />

and decorated with mirror tiles. The<br />

Scripture Hall’s interior is decorated<br />

with murals made in the reign of<br />

King Rama I. A must-see piece,<br />

created by Ayutthayan artisans,<br />

is the dedicate scripture cabinet,<br />

well known for its splendid lacquer<br />

works.<br />

拉 康 寺 建 于 大 城 王 朝 时 期 , 是 曼 谷 昭 披 耶 河 畔<br />

的 一 座 古 寺 , 古 寺 十 分 宏 大 。 寺 内 建 有 大 型 的 藏 经<br />

阁 , 座 落 于 寺 庙 建 筑 群 的 西 侧 , 一 个 极 具 历 史 意 义 藏<br />

经 阁 , 拉 玛 一 世 加 冕 之 前 也 曾 经 居 住 于 此 。 藏 经 阁 整<br />

体 建 筑 风 格 为 典 型 的 泰 式 三 间 套 屋 , 木 雕 板 为 隔 断 ,<br />

开 阔 的 阳 台 围 绕 四 周 ; 黄 绿 相 间 的 琉 璃 瓦 屋 顶 , 雕 龙<br />

镀 金 的 屋 檐 装 饰 更 显 其 富 丽 。 藏 经 阁 还 展 示 着 一 幅 诞<br />

生 于 一 世 皇 朝 代 画 作 ; 精 美 的 大 藏 经 柜 也 是 泰 国 最 著<br />

名 的 漆 器 , 显 示 出 大 城 王 朝 技 师 的 高 超 工 艺 水 平 , 值<br />

得 我 们 亲 眼 目 睹 。<br />

วัดระฆังโฆสิตาราม ๒๕๗/๑ ถนนอรุณ<br />

อมรินทร์ แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย<br />

Wat Rakhangkositaram, 250/1 Arun<br />

Amarion Road, Siriraj, <strong>Bangkok</strong> Noi<br />

ทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๐๐ น.<br />

Everyday 08:30 AM – 04:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior<br />

and interior ไม่เสียค่าเข้าชม<br />

Free entry 57 ท่าวังหลัง<br />

ท่าวัดระฆัง Wang Lang Pier, Wat<br />

Rakhang Pier<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

75


OO8<br />

กองบัญชาการกองทัพเรือ (พระราชวังเดิม กรุงธนบุรี)<br />

ROYAL THAI NAVY HEADQUARTERS<br />

海 军 司 令 部 ( 前 吞 武 里 府 的 老 宫 殿 )<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : กองทัพเรือ<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๓๑๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

Architect/ Designer: Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Royal Thai Navy<br />

Year of construction : 1768 A.D.<br />

Year Awarded : 1994 A.D.<br />

พระราชวังหลวงของสมเด็จ<br />

พระเจ้าตากสินมหาราชในสมัย<br />

กรุงธนบุรี ซึ่งปัจจุบันอยู่ในความดูแล<br />

ของกองทัพเรือ โดยได้รับการบูรณะ<br />

ปรับปรุงและดูแลอย่างดี มีการปรับ<br />

พื้นที่อาคารบางหลังใช้จัดแสดง<br />

นิทรรศการ ได้แก่ พระตำหนักเก๋ง<br />

คู่หลังเล็กและพระตำหนักเก๋งคู่หลัง<br />

ใหญ่ จัดนิทรรศการเทิดพระเกียรติ<br />

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ส่วนพระ<br />

ตำหนักเก๋งพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว ชั้นบนเป็นที่จัดแสดงพระราช<br />

ประวัติพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้า<br />

อยู่หัวและห้องสมุด ชั้นล่างจัดแสดง<br />

เงินตราและเครื่องถ้วยโบราณของไทย<br />

Formerly the Royal Palace<br />

of King Taksin of Thonburi Kingdom,<br />

the compound is currently<br />

in the care of the Royal Thai Navy.<br />

Some of the buildings have been<br />

retrofitted to house exhibitions:<br />

the two Chinese Style residences<br />

hold exhibits commemorating<br />

King Taksin the Great. The upper<br />

floor of King Pinklao’s Residence<br />

houses an exhibition on King<br />

Pinklao’s life and work as well as<br />

the Library, while the lower level<br />

displays antique ceramic wares<br />

and old Thai coins.<br />

由 于 泰 国 海 军 司 令 部 设 于 吞 武 里 府 的 前 郑 王 宫<br />

殿 内 , 致 使 该 宫 殿 得 到 了 很 好 的 保 护 和 修 缮 , 目 前<br />

部 分 区 域 用 于 举 办 各 类 展 览 , 包 括 : 轿 车 展 、 郑 王<br />

功 绩 展 、 古 陶 器 展 、 古 钱 币 展 及 一 所 图 书 馆 等 。<br />

กองทัพเรือ พระราชวังเดิม ถนน<br />

วังเดิม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ่<br />

Royal Thai Navy, Wang Doem Road,<br />

Wat Arun, <strong>Bangkok</strong> Yai โปรด<br />

ติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม<br />

By appointment only ภายนอก<br />

และภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry 40, 149,<br />

177 ท่าวังหลัง ท่าวัดระฆัง Wang<br />

Lang Pier, Wat Rakhang Pier<br />

76<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

77


OO9<br />

พระอุโบสถ วัดเครือวัลย์วรวิหาร<br />

PHRA UBOSOT (THE ORDINATION HALL),<br />

WAT KHRUA WAN WORAWIHAN<br />

壁 虎 神 庙 大 雄 宝 殿 内 的 壁 画<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

750 m<br />

วัดอรุณราชวราราม<br />

ราชวรมหาวิหาร<br />

Wat Arun<br />

Ratchawararam<br />

1 km<br />

วัดระฆังโฆสิตาราม<br />

Wat Rakhangkositaram<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : วัดเครือวัลย์วรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๓๗๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

Architect/ Designer: Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Wat Khrua Wan Worawihan<br />

Year of construction : 1831 A.D.<br />

Year Awarded : 2014 A.D.<br />

ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายใน<br />

พระอุโบสถที่วาดขึ้นมาตั ้งสมัยต้น<br />

กรุงรัตนโกสินทร์เป็นภาพชาดกเรื่อง<br />

พระเจ้า ๕๐๐ ชาติที่งดงามและหา<br />

ได้ยาก ทางกรมศิลปากรจึงได้ขึ้น<br />

ทะเบียนเป็นโบราณสถานไว้แล้ว ความ<br />

แปลกตาของพระอุโบสถนี้ยังอยู่ที่องค์<br />

พระประธานที่เป็นพระพุทธรูปยืนปาง<br />

ห้ามญาติที่แตกต่างจากวัดอื่น เพราะ<br />

องค์พระประธานในพระอุโบสถส่วน<br />

ใหญ่จะเป็นพระพุทธรูปนั่งทั้งหมด<br />

Dating from the early Rattanakosin<br />

era, the murals in the<br />

listed Ordination Hall depict the<br />

story of 500 former incarnations of<br />

Buddha, which are known for their<br />

beauty and rarity. Also unique to<br />

this temple is the principal Buddha<br />

statue, which is of a standing Buddha<br />

with the preventing calamities<br />

posture, or Pang Ham Yati, rather<br />

than of the meditating posture<br />

or Pang Samathi, as customarily<br />

made elsewhere.<br />

这 幅 壁 画 是 拉 达 纳 哥 信 时 期 的 一 幅 关 于 佛 陀 五<br />

百 轮 回 的 绘 画 作 品 , 其 艺 术 品 位 极 高 , 被 泰 国 文 化<br />

艺 术 厅 定 为 重 要 文 物 古 迹 。 大 雄 宝 殿 里 的 主 尊 为 立<br />

式 罗 格 那 佛 佛 像 , 区 别 于 泰 国 其 它 寺 庙 中 的 主 尊 坐<br />

式 佛 像 。<br />

๓๖ ถนนอรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ<br />

เขตบางกอกใหญ่ 36 Arun Amarin<br />

Road, Wat Arun, <strong>Bangkok</strong> Yai<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม<br />

By appointment only ภายนอก<br />

และภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry 57<br />

ท่าวังหลัง ท่าวัดอรุณ Wang Lang Pier,<br />

Wat Arun Pier<br />

78<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O1O<br />

อาคารรับเสด็จมัสยิดต้นสน<br />

THE PAVILION OF TONSON MOSQUE<br />

汤 森 清 真 寺 内 的 国 宴 厅<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

250 m<br />

วัดหงส์รัตนาราม<br />

Wat Arun<br />

Wat Hongratanaram<br />

700 m<br />

ป้อมวิไชยประสิทธิ์<br />

Pom Wichai Prasit<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : มัสยิดต้นสน<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๒๓๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

Architect/ Designer: Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Tonson Mosque<br />

Year of construction : 1688 A.D.<br />

Year Awarded : 2012 A.D.<br />

มัสยิดที่สำคัญของชุมชนอิสลาม<br />

ในย่านบางกอกใหญ่ และเป็นมัสยิด<br />

ที ่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของกรุงเทพ<br />

มหานคร เพราะสร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัย<br />

กรุงศรีอยุธยา และเมื่อครั้งที่รัชกาลที่<br />

๘ และรัชกาลที่ ๙ เสด็จมาเยี่ยมชม<br />

มัสยิดแห่งนี้ ชาวชุมชนจึงปรับปรุงตัว<br />

อาคารเดิมให้เป็นอาคารรับเสด็จ มี<br />

ลักษณะเป็นอาคารไม้ ๒ ชั้น หลังคา<br />

ทรงปั้นหยาประดับลวดลายขนมปัง<br />

ขิง หลังคามุงกระเบื้องว่าว ผนังอาคาร<br />

เป็นผนังแบบเข้าลิ้น และสิ่งที่แสดง<br />

ให้เห็นถึงการผสมผสานระหว่างศิลป<br />

วัฒนธรรมของไทยและชาวชุมชนได้<br />

อย่างดีก็คือ มิห์รอบ (เครื่องกำหนด<br />

ชุมทิศ) และมิมบัร (แท่นแสดงธรรม)<br />

ที่เป็นศิลปะไทยแบบอยุธยาตอนปลาย<br />

The mosque is an important<br />

The mosque is a famous<br />

building of the Muslim community<br />

in <strong>Bangkok</strong> Yai District, and one of<br />

the oldest mosques in <strong>Bangkok</strong>.<br />

Originally built in the Ayutthaya<br />

period though it was, the remaining<br />

building now is the result of significant<br />

improvement made to accommodate<br />

the royal visit of King Rama<br />

VIII and King Rama IX. The roof of<br />

this two-story wooden building is<br />

a hip roof clad in diamond-shaped<br />

tiles, while the walls are tongue and<br />

groove panels. Unique features<br />

inside the Mosque, showing the harmonious<br />

blend of Late-Ayutthaya<br />

art and Islamic art, are the mihrab<br />

and minbar. The former is a niche in<br />

the wall that points out the direction<br />

of Mecca; while the latter is a pulpit.<br />

清 真 寺 是 伊 斯 兰 社 区 的 重 要 场 所 , 汤 森 (Tonson)<br />

清 真 寺 是 最 古 老 和 最 大 的 。 节 基 王 朝 的 第 八 世 皇<br />

和 第 九 世 皇 到 访 时 , 寺 内 部 分 改 建 成 宴 会 厅 设 宴 恭 请<br />

国 王 驾 临 。 清 真 寺 为 两 层 木 制 结 构 建 筑 , 户 内 顶 部 为<br />

伊 斯 兰 特 色 花 纹 装 饰 , 建 筑 屋 顶 顶 部 为 赤 陶 瓦 , 墙 壁<br />

的 构 造 讲 究 , 无 一 根 铁 钉 。 奇 布 拉 ( 是 穆 斯 林 在 礼 拜<br />

期 间 进 行 祷 告 时 所 需 要 朝 向 的 方 向 ) 和 布 道 坛 都 是 泰<br />

国 大 城 末 期 的 艺 术 杰 作 , 被 称 之 为 泰 国 传 统 风 格 和 艺<br />

术 的 融 合 。<br />

๔๔๗ ซอยวัดหงส์รัตนาราม ถนน<br />

อรุณอมรินทร์ แขวงวัดอรุณ เขต<br />

บางกอกใหญ่ 447 Soi Wat Hong Rattanaram,<br />

Arun Amarin Road, Wat Arun,<br />

<strong>Bangkok</strong> Yai ทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐<br />

- ๑๗.๐๐ น. Everyday 09:00 AM<br />

– 05:00 PM ภายนอก Exterior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

ท่าวัดอรุณ ท่าวัดกัลยาณมิตร Wat Arun<br />

Pier, Wat Kalayanamitr Pier<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

79


80<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


ย่านราชการสมัยใหม่แบบตะวันตก<br />

WESTERN STYLE<br />

GOVERNMENT QUARTERS<br />

西 式 的 新 政 府 行 政 区 建 筑<br />

ระบบบริหารราชการแผ่นดินของไทยแต่เดิมเป็นแบบจารีตที่ขุนนางแต่ละคนปฏิบัติราชการอยู่ที่เรือนหรือบ้าน<br />

ของตนเองอย่างเป็นอิสระและไม่มีเวลาที่แน่นอน โดยจะมีเพียงการเข้าเฝ้าของขุนนางชั้นผู้ใหญ่เพื่อถวายรายงาน<br />

ต่อพระมหากษัตริย์ภายในพระบรมมหาราชวังเป็นครั้งคราวเท่านั้น ซึ่งภายใต้ระบบเช่นนี้จึงไม่จำเป็นต้องมี<br />

อาคาราชการที่เป็นพื้นที่ส่วนกลางของรัฐที่ข้าราชบริพารทั้งหลายต้องมาท ำงานตามเวลาราชการ แต่เมื่อสยาม<br />

เปลี่ยนผ่านสู่ความเป็นสมัยใหม่ ปฏิรูปการปกครองจากระบบจารีตสู่รูปแบบตะวันตก การบริหารราชการถูกแบ่ง<br />

แยกชัดเจนออกเป็นกระทรวง ทบวง กรม มีเสนาบดีเจ้ากระทรวงดูแล และข้าราชการทุกคนต้องมาท ำงานพร้อม<br />

กันในเวลาที่กำหนดเหมือนกัน ระบบใหม่ได้เรียกร้องอาคารราชการขนาดใหญ่ที่สามารถรองรับผู้คนเป็นจ ำนวน<br />

มากในเวลาเดียวกัน ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ทางกายภาพของพื้นที่กรุงเทพฯ ชั้นในจึงเกิดขึ้น มีการ<br />

สร้างอาคารราชการด้วยรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกเป็นจ ำนวนมากกระจายตัวอยู่ทั่วไปในพื้นที่ เช่น กระทรวง<br />

กลาโหม กรมแผนที่ทหาร กระทรวงพาณิชย์ และ โรงกระสาปน์สิทธิการ เป็นต้น นอกจากนี้เจ้านายและเสนาบดี<br />

ทั้งหลายก็เปลี่ยนวิถีชีวิตไปสู่ความเป็นสมัยใหม่แบบตะวันตกไปพร้อมๆ กันกับการปฏิรูปประเทศ เป็นเหตุให้<br />

ตำหนักและวังที่ประทับได้เริ่มเปลี่ยนไปสู่การสร้างสถาปัตยกรรมตะวันตกแทนที่สถาปัตยกรรมไทยแบบประเพณี<br />

เช่นเดียวกัน วังเทวะเวสม์ วังบางขุนพรหม วังสมเด็จกรมพระสวัสดิวัฒนวิศิษฏ์ และ กลุ่มพระราชวังมณเฑียร<br />

สถาน พระราชวังพญาไท คือตัวอย่างที่สะท้อนความเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ของสยามดังกล่าว<br />

Thai Administration System was formerly a system where each nobleman independently worked at<br />

home and at different working hours. The noblemen with higher ranks would regularly meet with the<br />

King in the Grand Palace to report about the tasks given to them. With this system, there was no<br />

need for a central governmental building. However, after the governmental system of Siam was<br />

reformed following Western concepts, ministries and administrative departments were set up, and<br />

officers were required to come to work at the same official hours. Accordingly, the working life of the<br />

noblemen and aristocrats were modernised in the line of the governmental reforms. This new system<br />

called for a central building which could accommodate many officers at the same place and at the<br />

same time. The construction of these new governmental buildings caused a significant physical<br />

change to the inner city of <strong>Bangkok</strong> as a result. Several government buildings, new palaces and<br />

mansions were built in western-style, including the Ministry of Defense, the Royal Thai Survey Department,<br />

Ministry of Commerce, and the Royal Mint, Thewawet Palace, Bang Khunphrom Palace,<br />

the Palace of Prince Svasti Vatanavisishtha, and Phaya Thai Palace. These westernised buildings<br />

are such examples that represent this significant change of Siamese reformation.<br />

在 泰 国 的 传 统 历 史 中 , 执 政 者 往 往 是 当 时 的 贵 族 阶 级 , 他 们 可 以 自 由 地 在 自 己 家 或 者 私 人 场 所 进 行 办 公 , 并 且 没 有 确 定 的 办 公 时 间 。 仅 仅 是 通 过 贵 族<br />

中 的 高 层 进 行 监 督 , 并 定 期 的 向 当 时 王 朝 的 国 王 进 行 工 作 汇 报 。 因 此 , 在 这 样 的 制 度 下 , 没 有 必 要 建 筑 专 门 的 行 政 办 公 楼 , 并 且 要 求 公 务 人 员 按 时 来<br />

指 定 场 地 进 行 办 公 。 但 是 当 曼 谷 进 入 到 新 的 时 代 , 传 统 的 执 政 方 式 也 随 之 发 生 了 变 革 , 渐 渐 向 西 方 式 执 政 系 统 转 变 。 政 府 机 构 被 划 分 为 部 、 事 务 部 、<br />

局 等 , 由 部 长 进 行 统 一 管 理 , 并 且 每 一 位 公 务 人 员 必 须 在 统 一 的 规 定 时 间 内 同 时 工 作 。 新 式 的 执 政 机 构 需 要 很 多 能 够 同 时 容 纳 大 量 人 员 的 建 筑 。 因<br />

此 , 曼 谷 的 地 图 上 发 生 了 一 次 巨 大 的 改 变 , 大 量 的 西 式 风 格 的 政 府 行 政 楼 坐 落 在 曼 谷 这 块 土 地 上 , 如 : 国 防 部 、 武 装 部 、 商 务 部 、 以 及 皇 家 铸 币 局 等<br />

等 。 除 此 之 外 , 负 责 人 和 部 长 们 也 都 统 统 向 西 方 国 家 学 习 , 改 变 了 生 活 工 作 方 式 。 如 特 瓦 维 宫 、 邦 坤 普 宫 、 萨 瓦 底 瓦 那 威 西 亲 王 皇 宫 、 帕 亚 泰 宫 以 及<br />

各 种 各 样 的 皇 家 宫 殿 群 。 以 上 的 提 到 的 这 些 建 筑 群 都 是 泰 国 建 筑 风 格 倍 受 西 方 文 化 冲 击 影 响 的 例 子 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

81


Lung Rd.<br />

Krung Thon Bridge Ratchawithi Rd.<br />

Sangkhalok Rd.<br />

Khao Rd.<br />

Rat<br />

Charan Sanitwong Rd<br />

15<br />

Rama VIII Rd<br />

Wat Bowon Mongkol Pier<br />

Wat Karuhabodi Cross River Ferry Pier<br />

Rama VIII Rd<br />

Chao Phraya River<br />

Thewet<br />

Marina<br />

Krung Kasem Rd.<br />

12<br />

Samsen Rd.<br />

Au Thong Nok Rd.<br />

Soi Khang Samoson<br />

Thap Bok<br />

Ratchasima Rd.<br />

Soi Ratchawithi 44Sangkhothai Rd.<br />

Ratchasima Rd.<br />

21<br />

Samsen Rd.<br />

Luk Luang Rd.<br />

Soi Phitsanulok 2<br />

Phitsanulok Rd.<br />

Rama VIII Bridge<br />

13<br />

Rama VIII Rd<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Somdet Phra Pin Klao Rd Somdet Phra Pin Klao Bridge<br />

Arun Amarin Rd<br />

Phra Pin KlaoBridge<br />

Thonburi Railway<br />

Phra Pin Klao<br />

Thonburi<br />

Wat<br />

Daodungsaram<br />

Pier<br />

15<br />

Phra Pin Klo<br />

Phra Nakhon<br />

16<br />

Phra Arthit<br />

Chakrabongse Rd<br />

Rama 8 Bridge<br />

Wat Sam Phraya<br />

Samsen Rd.<br />

Phra Sumen Rd<br />

14<br />

Din So Rd.<br />

Visut Kasat Rd.<br />

Rracha Thipatai Rd.<br />

Soi Thewet 3<br />

Ratchdamnern Nok Rd.<br />

Phitsanulok Rd.<br />

Nakhon Sawan Rd.<br />

Suphamit Rd.<br />

Nakhon Pathom Rd.<br />

Rama V Rd.<br />

Soi<br />

Luk Luang<br />

Krung Kase<br />

S<br />

ang Lang Rd Wang Lang Rd<br />

Wang Lang Pier<br />

(Prannok)<br />

N10<br />

Arun Amarin Rd<br />

Chao Phraya<br />

Tha Prachan<br />

Cross River Ferry<br />

Pier<br />

Maha Rat Rd<br />

17<br />

Chang Pier<br />

Na Phra Lan Rd<br />

Sanam Chai Rd<br />

Ratchadamnoen Nai Rd<br />

18<br />

Rop Krung Canal<br />

19<br />

Rop Krung Canal<br />

Ratchadamnoen Klang Rd<br />

Kalayana Maitri Rd<br />

Mahannop Rd.<br />

Phra Sumen Rd<br />

Maha Chai Rd.<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Worachak Rd.<br />

Soi<br />

Lan Luang 4<br />

Soi<br />

Lan Luang 6<br />

Maha Nak Canal<br />

Chakka Phatdiphong Rd.<br />

Phanlang Rd.<br />

Dumrongrak Rd.<br />

Lan Luang R<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Rop Krung Canal<br />

Charoen Krung Rd<br />

Lung Rd.<br />

Itsaraphap Rd<br />

Arun Amarin Rd<br />

Khun Mae Pueak<br />

CrossRiver Ferry Pier<br />

River<br />

Wat Kanlayanamit<br />

Tha Tien<br />

21<br />

20<br />

Chakphet Rd<br />

Rajinee<br />

Tri Phet Rd<br />

Pak Khlong Talat<br />

Memorial Bridge<br />

Chakphet Rd<br />

Chakkrawat Rd.<br />

Charoen Krung Rd<br />

Yaowarat Rd<br />

Plaeng Nam Rd<br />

Yaowarat Rd<br />

Maitri Chit Rd<br />

Santiphap<br />

Rama IV Rd.<br />

Mittraphan Rd<br />

Maitri Chit Rd<br />

Mittrap<br />

Charoen Krung Rd<br />

Arun Amarin R<br />

kklao Rd<br />

Khao L<br />

Khao


Soi<br />

Lan Luang 10<br />

Ma<br />

ngkhothai Rd.<br />

.<br />

Lan Luang 6<br />

tsanulok Rd.<br />

wan Rd.<br />

nlang Rd.<br />

Ratchasima Rd.<br />

Nakhon Pathom Rd.<br />

Rama V Rd.<br />

Soi<br />

Luk Luang 9<br />

Soi Ruam C<br />

Ratchawithi Rd.<br />

Au Thong Nai Rd.<br />

Luk Luang Rd.<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Suphamit Rd.<br />

ongrak Rd.<br />

Lan Luang Rd.<br />

amrung Maung Rd.<br />

Maitri Chit Rd<br />

iphap<br />

Rama IV Rd.<br />

Mittraphan Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Maitri Chit Rd<br />

Ratchasima Rd<br />

Soi Luk Luang 7<br />

Krung Kasem Rd<br />

Mittraphan Rd<br />

Soi Liap Khlong Phadung Kasem<br />

Khao Lam Rd<br />

Khao Lam Rd<br />

Phichai Rd<br />

Chaisi Rd.<br />

Rama V Rd.<br />

Soi Sukhothai 8<br />

Soi Phitsanulok 1<br />

Soi 4<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Soi Lan Luang 14<br />

Soi Lan Luang 2<br />

Saen Saep Canal<br />

Charu Mueang<br />

Rama V Rd.<br />

Soi Sutcharit Nuea<br />

Soi Sutcharit 1<br />

Soi Sutcharit 2<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Banthat Thong Rd Banthat Thong Rd<br />

Sangkhothai Rd.<br />

Soi Ratchawithi 30<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Rama V Rd.<br />

Sukhantharam Rd.<br />

Soi Sukhothai 5<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Rama VI Rd. Rama VI Rd.<br />

Soi Ratchawithi 20<br />

Kamphange Phet 5 Rd.<br />

Banthad Thong Rd.<br />

Set Siri Rd<br />

Ratchawithi Rd. Ratchawithi Rd.<br />

Rama VI Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Sawankhalok Rd. Sawankhalok Rd.<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Phayathai Rd<br />

Phayathai Rd<br />

Rama VI<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

ย่านราชการสมัยใหม่แบบตะวันตก WESTERN STYLE<br />

GOVERNMENT QUARTERS 西 式 的 新 政 府 行 政 区 建 筑<br />

11<br />

12<br />

13<br />

14<br />

15<br />

กลุ่มพระราชวังมณเฑียรสถาน<br />

พระราชวังพญาไท<br />

Phaya Thai Palace<br />

帕 亚 泰 国 王 府 宫 殿 群<br />

ตำหนักใหญ่ วังเทวะเวสม์<br />

Main Mansion (Tamnak Yai),<br />

Thewawet Palace<br />

迪 瓦 威 斯 大 皇 宫 殿<br />

วังบางขุนพรหม<br />

Bang Khunphrom Palace<br />

邦 坤 弗 洛 宫 殿<br />

ตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร<br />

Royal Diamond Residence<br />

(Phra Tamnak Phet),<br />

Wat Bowon Niwet Wihan<br />

王 宫 寺 内 的 金 刚 殿<br />

Rama VI Rd.<br />

วังสมเด็จกรมพระสวัสดิวัฒนวิศิษฏ์<br />

(ยูนิเซฟ)<br />

Palace of Prince Svasti<br />

Vatanavisishtha<br />

(Somdej Krommaphra<br />

Sawadiwadanawisit)<br />

(UNICEF Thailand Headquarters)<br />

王 子 宫 殿<br />

Rama I Rd.<br />

16<br />

17<br />

18<br />

19<br />

20<br />

21<br />

11<br />

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ<br />

หอศิลป (โรงกระสาปน์สิทธิการ)<br />

The National Gallery (Formerly<br />

the Royal Thai Mint)<br />

国 家 美 术 博 物 馆 ( 原 造 币 厂 )<br />

ตึกถาวรวัตถุ<br />

Henri Dunant Rd<br />

Phayathai Rd<br />

Thawornwatthu Building<br />

永 定 楼<br />

Phetchaburi Rd<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

ที่ทำการกระทรวงกลาโหม<br />

The Ministry of Defense<br />

Headquarters<br />

国 防 部 驻 地<br />

Saen Saep Canal<br />

Rama I Rd<br />

Phahon Yothin Rd<br />

Ratchawithi Rd.<br />

กรมแผนที่ทหาร<br />

Royal Thai Survey Department<br />

军 事 测 绘 部<br />

สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ<br />

(อาคารกระทรวงพาณิชย์เดิม)<br />

National Discovery Museum<br />

Institute (Formerly office of<br />

the Ministry of Commerce)<br />

国 家 博 物 院 ( 商 业 部 旧 址 )<br />

บ้านจักรพงษ์ (วังจักรพงษ์)<br />

Chakrabongse Villas<br />

恰 克 蓬 宫 殿<br />

Ratchadamri Rd<br />

Ratchadamri Rd<br />

N<br />

Soi Ratchawithi 4<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

Phahon Yothin Rd<br />

Phetchaburi Rd<br />

Ratc<br />

Ch<br />

Saen Saep<br />

Ph<br />

Witth


O11 กลุ่มพระราชวังมณเฑียรสถาน<br />

พระราชวังพญาไท<br />

PHAYA THAI PALACE<br />

帕 亚 泰 国 王 府 宫 殿 群<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1OO m<br />

พระตําหนักเมขลารูจี<br />

Phra Tamnak<br />

Mekkalarujee<br />

75O m<br />

ย่านอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ<br />

Area around Victory<br />

Monument<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ : นายมาริโอ<br />

ตามานโญ ออกแบบพระที่นั่ง<br />

เทวราชสภารมย์<br />

ผู้ครอบครอง : ศูนย์อำนวยการแพทย์<br />

พระมงกุฎเกล้า กรมแพทย์ทหารบก<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๖๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

Architect/ Designer : Mr. Mario<br />

Tamagno designed Devaraja<br />

Sabharamaya Hall<br />

Owner/ Overseer : Phramongkutklao<br />

Medical Center, the Army Medical<br />

Department<br />

Year of Construction : 1910-1922 A.D.<br />

Year Awarded : 1984 A.D.<br />

รัชกาลที่ ๕ ทรงพระกรุณาโปรด<br />

เกล้าฯ ให้สร้างพระราชวังแห่งนี้ขึ้นเพื่อ<br />

ใช้เป็นที่ประทับชั่วคราว จึงมีลักษณะ<br />

ที่ไม่ได้ใหญ่โตหรือหรูหรามากนัก<br />

สถาปัตยกรรมต่างๆ เป็นแบบโรแมน-<br />

ติก ตกแต่งส่วนของอาคารด้วยปูนปั้น<br />

และไม้แกะสลัก การตกแต่งภายใน<br />

เป็นปูนปั้นและจิตรกรรมปูนเปียกด้วย<br />

ฝีมือช่างที่ละเอียดประณีต ความ<br />

สวยงามยังอยู่ที่สวนแบบโรมันภายใน<br />

บริเวณพระราชวังอีกด้วย<br />

Phaya Thai Palace was built by<br />

King Chulalongkorn (Rama V) as an<br />

occasional residence. Romantic<br />

style in the exterior, while the interior<br />

is decorated with plasterwork,<br />

ornate wood carving and exquisite<br />

fresco paintings. Behind the main<br />

building lies the beautiful Roman<br />

garden and pool, at the centre of<br />

which stands C.Feroci’s Prapirun<br />

sculpture.<br />

帕 亚 泰 国 王 府 宫 殿 群 始 建 于 拉 玛 五 世 王 统 治 时<br />

期 , 建 筑 群 规 模 虽 不 大 , 但 充 满 了 奢 华 和 浪 漫 色 彩 。<br />

宫 殿 外 部 是 泥 塑 和 柚 木 雕 刻 装 饰 , 内 部 的 墙 壁 则 采 用<br />

了 精 美 的 水 泥 雕 塑 和 壁 画 装 表 , 非 常 精 致 。 此 处 不 仅<br />

为 当 时 的 国 王 和 王 后 休 闲 之 寓 所 , 殿 内 至 今 还 保 存 有<br />

大 量 的 艺 术 品 和 装 潢 设 计 图 , 供 游 人 观 赏 。<br />

๓๑๕ ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขต<br />

ราชเทวี 315 Ratchawithi Road, Thung<br />

Phaya Thai, Ratchathewi วันจันทร์<br />

– เสาร์ เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๗.๐๐ น. Mon-<br />

Sat 08:00 AM – 05:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

8, 12, 14, 18, 69, 157 สถานีอนุเสาวรีย์<br />

๑ กม. Victory Monument 1 km<br />

1.8 km<br />

สวนสัตว์ดุสิต<br />

Dusit Zoo<br />

84<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

85


O12<br />

ตำหนักใหญ่ วังเทวะเวสม์<br />

MAIN MANSION (TAMNAK YAI),<br />

THEWAWET PALACE<br />

迪 瓦 威 斯 大 皇 宫 殿<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

17O m<br />

ตําหนักใหญ่<br />

วังบางขุนพรหม<br />

Main Mansion, Bang<br />

Khunphrom Palace<br />

85O m<br />

ย่านถนนพิษณุโลก<br />

Around Phitsanulok<br />

Road<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ : นายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์<br />

ผู้ครอบครอง : ธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๕๙ สมัยรัชกาลที่ ๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Edward Healey<br />

Owner/ Overseer : Bank of Thailand<br />

Year of Construction : 1916 in the reign<br />

of King Vajiravudh (Rama VI)<br />

Year Awarded : 2005 A.D.<br />

อีกหนึ่งอาคารอนุรักษ์ที่มีความ<br />

น่าสนใจและอยู่ใกล้วังบางขุนพรหม<br />

มากๆ ก็คือ วังเทวะเวสม์ ซึ่งตัวต ำหนัก<br />

ใหญ่เป็นอาคารรูปแบบคลาสสิครีไววัล<br />

วางผังรูปตัวแอล และได้นำองค์<br />

ประกอบสถาปัตยกรรมแบบกรีกและ<br />

โรมันมาประยุกต์เป็นเครื่องประดับ<br />

ตกแต่งอาคาร ทำให้เป็นอาคารที่มี<br />

เอกลักษณ์สวยงาม<br />

Located close to Bang Khunphrom<br />

Palace, Thewawet Palace<br />

(also Thevaves or Devavesm) is a<br />

good example of a Classic Revival<br />

architecture in Thailand. The<br />

L-shaped plan building is elaborately<br />

decorated with Neo-classical<br />

elements, making it an elegant and<br />

impressive building indeed.<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย สี่แยกบาง<br />

ขุนพรหม ๒๗๓ ถนนสามเสน แขวงวัด<br />

สามพระยา เขตพระนคร Bank of Thailand,<br />

Bang Khun Phrom Junction 273<br />

Samsen Road, Wat Sam Phraya, Phra<br />

Nakhon วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา<br />

๐๙.๓๐ – ๑๒.๓๐ น. และ ๑๓.๓๐ –<br />

๑๖.๐๐ น. (พิพิธภัณฑ์เปิดให้ชมเป็นหมู่<br />

คณะโดยการติดต่อล่วงหน้าไม่น้อยกว่า<br />

๑ สัปดาห์) Mon-Fri 09:30 AM – 12:30<br />

PM and 01:30 PM – 04:00 PM (The<br />

museum is open for a group visit.<br />

Please contact no less than 1 week in<br />

advance) ภายนอกและภายใน<br />

Exterior and interior ไม่เสียค่า<br />

เข้าชม Free entry 3, 9, 30, 32, 49<br />

ท่าเทเวศร์ ๑.๑ กม. , ท่าพระราม ๘<br />

๘๐๐ ม. Thewet Pier 1.1 km, Rama VII<br />

Bridge Pier 800 m<br />

1.2 km<br />

该 座 宫 殿 的 基 本 建 筑 结 构 具 有 典 型 的 古 典 建 筑<br />

风 格 , 又 是 一 处 极 具 历 史 意 义 的 宫 殿 , 其 L 型 的 建 筑<br />

格 局 , 与 希 腊 和 古 罗 马 建 筑 元 素 结 合 地 恰 到 好 处 , 具<br />

有 建 筑 学 上 的 独 特 魅 力 。<br />

พิพิธบางลําพู<br />

Pipit Banglamphu<br />

(museum)<br />

86<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

87


O13<br />

วังบางขุนพรหม<br />

BANG KHUNPHROM PALACE<br />

邦 坤 弗 洛 宫 殿<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

5OO m<br />

วัดอินทรวิหาร<br />

Wat Intharawihan<br />

55O m<br />

ย่านเทเวศร์<br />

Area around Thewet<br />

3OO m<br />

สะพานพระราม ๘<br />

Rama VIII Bridge<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ :<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ผู้ครอบครอง : ธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๔๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๖<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Mario Tamagno<br />

Owner/ Overseer : Bank of Thailand<br />

Year of Construction : 1901 A.D.<br />

Year Awarded : 1993 A.D.<br />

ก่อนที่จะมาเป็นที่ทำการธนาคาร<br />

แห่งประเทศไทย อาคารนี้คือวังที่ประทับ<br />

ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้า<br />

บริพัตรสุขุมพันธุ์ กรมพระนครสวรรค์<br />

วรพินิต ต้นราชสกุลบริพัตร ซึ่งถือว่า<br />

เป็นวังริมน้ำที่งดงามมากที่สุดของไทย<br />

ความโดดเด่นอยู่ที่สถาปัตยกรรมผสม<br />

ผสานระหว่างศิลปะบาโรค เรเนอซองส์<br />

และร็อกโคโค และความงามอีกอย่าง<br />

คือส่วนหัวเสาที่ประดับด้วยลวดลาย<br />

ปูนปั้นที่ถูกยกย่องว่าสวยที่สุดในไทย<br />

อีกเช่นกัน<br />

Currently the headquarters of<br />

the Bank of Thailand, Bang Khunphrom<br />

Palace was a former residence<br />

of Prince Paribatra<br />

Sukhumbhandhu, Prince of Nakhon<br />

Sawan of Paribatra Family. One of<br />

the most beautiful riverside royal<br />

residences in Thailand, the Palace<br />

is a mix of decorative elements from<br />

three different architectural styles:<br />

Renaissance, Baroque and Rococo.<br />

Another impressive feature is the<br />

plasterwork of its capitals – also<br />

considered one of the most exquisite<br />

in Thailand.<br />

宫 殿 建 筑 曾 是 泰 国 Paribatra Sukhumbhandhu<br />

王 子 的 御 所 , 目 前 由 泰 国 银 行 所 占 用 , 被 誉 为 是 泰 国<br />

最 漂 亮 的 水 上 宫 殿 。 宫 殿 的 的 建 筑 特 色 就 在 于 它 集 成<br />

了 巴 洛 克 艺 术 、 意 大 利 文 艺 复 兴 时 期 的 艺 术 及 洛 可 可<br />

艺 术 为 一 体 , 梁 柱 上 的 花 纹 装 饰 被 视 为 泰 国 国 宝 级 文<br />

物 。<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย สี่แยกบาง<br />

ขุนพรหม ๒๗๓ ถนนสามเสน แขวงวัด<br />

สามพระยา เขตพระนคร Bank of Thailand,<br />

Bang Khun Phrom Junction 273<br />

Samsen Road, Wat Sam Phraya, Phra<br />

Nakhon วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา<br />

๐๙.๓๐ – ๑๒.๓๐ น. และ ๑๓.๓๐ –<br />

๑๖.๐๐ น. (พิพิธภัณฑ์เปิดให้ชมเป็นหมู่<br />

คณะโดยการติดต่อล่วงหน้าไม่น้อยกว่า<br />

๑ สัปดาห์) Mon-Fri 09:30 AM – 12:30<br />

PM and 01:30 PM – 04:00 PM (The<br />

museum is open for a group visit.<br />

Please contact no less than 1 week in<br />

advance) ภายนอกและภายใน<br />

Exterior and interior ไม่เสียค่าเข้า<br />

ชม Free entry 3, 9, 30, 32, 49<br />

ท่าเทเวศร์ ๖๕๐ ม. , ท่าพระราม ๘ ๑ กม.<br />

Thewet Pier 650 m, Rama VII Bridge<br />

Pier 1 km<br />

88<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O14<br />

ตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร<br />

ROYAL DIAMOND RESIDENCE<br />

(PHRA TAMNAK PHET),<br />

WAT BOWON NIWET WIHAN<br />

王 宫 寺 内 的 金 刚 殿<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

55O m<br />

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย<br />

Democracy Monument<br />

1OO m<br />

ย่านบางลําภู<br />

Area around<br />

Banglamphu<br />

65O m<br />

ป้อมพระสุเมรุ<br />

Phra Sumen Fort<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : วัดบวรนิเวศวิหาร<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๕๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Wat Bowon Niwet Wihan<br />

Year of Construction : 1913 A.D.<br />

Year Awarded : 1996 A.D.<br />

เพราะเป็นวัดที่มีความสำคัญได้รับ<br />

การทำนุบำรุงต่อในทุกรัชกาล ทำให้มี<br />

งานสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมชิ้น<br />

เอกของแต่ละยุคสมัยอยู่มากมาย หนึ่ง<br />

อาคารที่น่าสนใจ คือ ตำหนักเพ็ชร ซึ่ง<br />

เป็นการผสมผสานรูปแบบสถาปัตย-<br />

กรรมตะวันตกเข้ากับรายละเอียดแบบ<br />

ไทยได้กลมกลืน ตัวอาคารชั้นเดียว<br />

หลังคาปั้นหยา มุขทางเข้าหลังคาจั่ว<br />

ด้านหน้าเป็นทิวเสา (colonnades)<br />

ประดับตกแต่งด้วยไม้ แกะสลักและปูน<br />

ปั้นลวดลายทั้งลายไทยและลายอย่าง<br />

ฝรั่งที่สวยงาม<br />

Wat Bowon Niwet Wihan is a<br />

prominent temple which has been<br />

well preserved and maintained.<br />

There are several architectural<br />

heritage and valuable artifacts in<br />

the temple. Of all buildings, the most<br />

impressive is the Royal Diamond<br />

Residence or Phra Tamnak Phet.<br />

This single-story and hipped roof<br />

building is a mix of Thai and Western<br />

architectural styles. A colonnade<br />

lines the front of the building<br />

where a porch, topped with the<br />

gabled roof, projects out as the<br />

main entrance. The whole building,<br />

both exterior and interior, is decorated<br />

with magnificent craved<br />

motifs and pilasters.<br />

曼 谷 王 朝 的 各 时 代 的 建 筑 和 艺 术 杰 作 都 与 当 朝<br />

的 统 治 者 密 不 可 分 。 有 趣 的 是 , 许 多 宫 殿 的 建 造 都 为<br />

促 进 西 洋 艺 术 和 谐 地 融 入 了 泰 式 建 筑 中 , 如 建 筑 的 屋<br />

顶 为 单 层 , 建 筑 正 面 为 门 廊 , 柱 廊 以 西 洋 古 典 图 案 与<br />

泰 式 花 纹 图 案 装 饰 ; 木 雕 、 雕 刻 工 艺 品 或 石 像 装 饰 墙<br />

壁 , 装 点 围 廊 , 可 谓 是 精 美 绝 伦 的 金 刚 大 殿 。<br />

วัดบวรนิเวศวิหาร ถนนพระสุเมรุ<br />

แขวงบวรนิเวศ เขตพระนคร Wat Bowon<br />

Niwet Wihan, Phra Sumen Road, Bowon<br />

Niwe, Phra Nakhon ทุกวัน เวลา<br />

๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. Everyday 09:00 AM<br />

– 04:00 PM ภายนอกและภายใน<br />

Exterior and interior ไม่เสีย<br />

ค่าเข้าชม Free entry 68, 516<br />

ท่าพระอาทิตย์ ๙๐๐ ม. Phra Athit Pier<br />

900 m<br />

90<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O15<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

6OO m<br />

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ<br />

พระนคร<br />

<strong>Bangkok</strong> National<br />

Museum<br />

2OO m<br />

ย่านถนนพระอาทิตย์<br />

Area around Phra Athit<br />

Road<br />

4OO m<br />

ป้อมพระสุเมรุ<br />

Phra Sumen Fort<br />

วังสมเด็จกรมพระสวัสดิวัฒนวิศิษฏ์ (ยูนิเซฟ)<br />

PALACE OF PRINCE SVASTI VATANAVISISHTHA<br />

(SOMDEJ KROMMAPHRA SAWADIWADANAWISIT)<br />

(UNICEF THAILAND HEADQUARTERS)<br />

(UNICEF) 王 子 宫 殿<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : สานักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง : สมัยรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer : Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction : Reign of King<br />

Chulalongkorn (Rama V)<br />

Year Awarded : 2007 A.D.<br />

อาคารที่ทำการองค์การยูนิเซฟ<br />

ประเทศไทย เคยเป็นวังเก่าที่มีชื่อ<br />

เรียกกันว่า วังถนนพระอาทิตย์ หรือ<br />

“ตำหนักเดิม” ซึ่งเป็นอาคาร ๒ ชั้น ก่อ<br />

อิฐถือปูน หลังคาปั้นหยามุงกระเบื้องว่าว<br />

หน้าจั่วประดับปูนปั้นลายพรรณพฤกษา<br />

เชิงชายประดับไม้ฉลุ แต่ก่อนนั้นด้าน<br />

หน้าของตัวพระตำหนักคือ ด้านที่หัน<br />

ออกแม่น้ำเจ้าพระยา ตัวอาคารฝั่งนี้จึง<br />

มีระเบียงทั้งชั้นบนและชั้นล่างตาม<br />

สถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียล ส่วน<br />

ด้านที่ติดถนนจะมีเสาสูงรับหน้าจั่ว<br />

กลางอาคารซึ่งเป็นอิทธิพลคลาสสิค<br />

รีไววัล ส่วนของผนังอาคารตกแต่งด้วย<br />

ลายบัวปูนปั้นและเซาะร่องแนวนอน<br />

ช่วงบนของหน้าต่างโค้งทำช่องระบาย<br />

อากาศไม้ฉลุลายโปร่งแบบเรือน<br />

ขนมปังขิงซึ่งเป็นที่นิยมในสมัยนั้น<br />

The headquarters of UNICEF<br />

Thailand is a former palace called<br />

Wang Thanon Phra Athit or Tamnak<br />

Doem. This two-story brick and<br />

mortar building is topped with a hip<br />

roof clad in diamond-shaped tiles.<br />

The gable end is decorated with<br />

plasterwork in floral motifs, while<br />

elaborate carved wooden panels<br />

are beautifully hang from the eaves.<br />

Formerly the front of the Palace<br />

faces the river, so balconies are<br />

designed as a viewing platforms on<br />

both lower and upper floors - a<br />

feature typical of Colonial architecture.<br />

The rear side, now facing Phra<br />

Athit Road, consists of tall columns<br />

supporting the gable at the centre<br />

of the building echoing the influence<br />

of Neoclassical style. The<br />

building is also decorated with<br />

plaster mouldings and horizontal<br />

wood grooving. Above the windows<br />

are arched wooden panels, ornately<br />

carved and function as ventilation<br />

grills as popularly used in<br />

gingerbread architecture.<br />

该 座 建 筑 物 是 一 座 旧 宫 殿 , 现 为 联 合 国 儿 童 基<br />

金 会 (UNICEF) 的 办 公 地 , 曾 被 称 为 泰 国 的 “ 太 阳 宫 ”<br />

或 “ 王 子 故 居 ”。 建 筑 主 体 为 双 层 砖 瓦 结 构 , 灰 色 调<br />

的 各 种 植 物 图 案 及 莲 花 造 型 的 泥 塑 作 为 四 周 墙 面 及 宫<br />

殿 正 面 房 檐 的 装 饰 物 。 起 初 , 宫 殿 的 正 门 朝 向 湄 南<br />

河 , 有 着 强 烈 殖 民 色 彩 的 上 下 两 层 阳 台 , 中 间 是 支<br />

柱 。 整 体 建 筑 充 满 着 古 典 复 兴 式 的 设 计 特 征 , 圆 拱 形<br />

木 板 镂 空 的 门 窗 彰 显 着 盛 行 一 时 的 建 筑 风 格 。<br />

๑๙ ถนนพระอาทิตย์ แขวงชนะ<br />

สงคราม เขตพระนคร 19 Phra Athit<br />

Road, Chana Songkhram, Phra Nakhon<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

2, 3, 33 ท่าพระอาทิตย์ ๓๕๐ ม.<br />

Phra Athit Pier 350 m<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

91


O16<br />

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หอศิลป<br />

(โรงกระสาปน์สิทธิการ)<br />

THE NATIONAL GALLERY<br />

(FORMERLY THE ROYAL THAI MINT)<br />

国 家 美 术 博 物 馆 ( 原 造 币 厂 )<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.2 km<br />

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย<br />

Democracy Monument<br />

5OO m<br />

ถนนราชดําเนิน<br />

Ratchadamnoen<br />

Avenue<br />

5OO m<br />

สนามหลวง<br />

Sanam Luang<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ : นายคาร์โล<br />

อัลเลกรี วิศวกรชาวอิตาลี<br />

ผู้ครอบครอง : กรมศิลปากร<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๔๕ สมัยรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Carlo Allegri (Italian engineer)<br />

Owner/ Overseer : Fine Arts<br />

Department<br />

Year of Construction : 1902 A.D.<br />

(Reign of King Chulalongkorn or<br />

King Rama V)<br />

Year Awarded : 1989 A.D.<br />

อาคารแห่งนี้มีชื่อเรียกที่คุ้นหูว่า<br />

“หอศิลป์ เจ้าฟ้า” ซึ่งใช้เป็นที่จัดแสดง<br />

ผลงานศิลปะ ทั้งแบบประเพณีไทย<br />

โบราณและแบบสากลร่วมสมัยของ<br />

ศิลปินที่มีชื่อเสียงของไทยในอดีตและ<br />

ปัจจุบัน มีทั้งส่วนนิทรรศการถาวร<br />

และหมุนเวียนมาให้ชมอย่างต่อเนื่อง<br />

แต่เดิมอาคารนี้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็น<br />

สถานที่ผลิตเงินตรา มีชื่อว่า “โรงกระ<br />

สาปน์สิทธิการ” ออกแบบโดยสถาปนิก<br />

ชาวอิตาเลียนประจำราชสำนักสยาม<br />

โดยได้แรงบันดาลใจจากโรงงาน<br />

เครื่องจักร เมืองเบอร์มิ่งแฮม ประเทศ<br />

อังกฤษ จึงมีรูปแบบสถาปัตยกรรม<br />

แบบนีโอปัลลาเดียนที่ให้ความรู้สึก<br />

เคร่งขรึม สง่างาม<br />

Often referred to as “Chao Fa<br />

Art Gallery”, the National Gallery<br />

provides a space in which art objects,<br />

mostly by, but not limited to,<br />

well-known Thai artists from past<br />

to present are displayed. Originally<br />

built as the Royal Thai Mint designed<br />

by Carlo Allegri, an Italian<br />

Engineer in the Department of<br />

Public Work in the reign of King<br />

Chulalongkorn. It is told that the<br />

design inspiration of this neo-Palladian<br />

building came from machines<br />

like those found in factories<br />

in Birmingham, United Kingdom.<br />

The overall appearance of the<br />

building is austere but elegant.<br />

众 所 周 知 , 国 家 美 术 博 物 馆 又 被 称 之 为 “ 昭 华<br />

艺 术 中 心 ”, 作 为 泰 国 传 统 的 古 代 和 现 代 艺 术 殿 堂 ,<br />

泰 国 著 名 的 古 现 代 艺 术 展 同 国 际 知 名 艺 术 家 作 品 在 此<br />

轮 流 系 数 展 出 。 由 于 国 家 美 术 博 物 馆 曾 是 国 家 造 币<br />

厂 , 故 人 们 常 称 呼 此 博 物 馆 为 “ 造 币 场 ”。 国 家 美<br />

术 博 物 馆 的 建 筑 有 意 大 利 著 名 建 筑 设 计 师 设 计 , 设 计<br />

灵 感 来 自 英 国 伯 明 翰 城 机 械 厂 的 设 计 理 念 , 建 筑 风 格<br />

肃 穆 庄 严 , 具 有 欧 洲 帕 拉 第 奥 式 建 筑 风 格 。<br />

๔ ถนนเจ้าฟ้า แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร 4 Chao Fa Road, Phraborom<br />

Maha Ratchawang, Phra Nakhon<br />

วันพุธ – อาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐<br />

– ๑๖.๐๐ น. Wed-Sun 09:00 AM –<br />

04:00 PM ภายนอกและภายใน<br />

Exterior and interior ชาวไทย ๑๐ บาท<br />

ชาวต่างชาติ ๓๐ บาท Thai nationals<br />

10 baht, Foreign nationals 30 baht<br />

3 ท่าพระอาทิตย์ ๗๕๐ ม.<br />

Phra Athit Pier 750 m<br />

92<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O17<br />

ตึกถาวรวัตถุ<br />

THAWORNWATTHU BUILDING<br />

永 定 楼<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

7OO m<br />

โรงละครแห่งชาติ<br />

The National Theater<br />

4OO m<br />

ท่ามหาราช<br />

Tha Maharaj<br />

3OO m<br />

มหาวิทยาลัย<br />

ธรรมศาสตร์<br />

ท่าพระจันทร์<br />

Thammasat University,<br />

Tha Phrachan<br />

Campus<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ : สมเด็จพระเจ้า<br />

บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรา<br />

นุวัดติวงศ์<br />

ผู้ครอบครอง : กรมศิลปากร<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๓๘ – ๒๔๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

Architect/ Designer : Prince<br />

Narisara Nuwattiwong<br />

Owner/ Overseer : Fine Arts<br />

Department<br />

Year of Construction : 1895 - 1916 A.D.<br />

Year Awarded : 2007 A.D.<br />

ทางฝั่งตะวันตกของท้องสนาม<br />

หลวง เราจะเห็นอาคารที่ดูไม่ชินตาแต่<br />

ก็สง่าสวยงามอยู่หลังหนึ ่งวางตัว<br />

ขนานไปกันแนวถนน เห็นชัดว่ารูปแบบ<br />

อาคารนั้นได้รับอิทธิพลศิลปะเขมรที่ดู<br />

คล้ายระเบียงคดของปราสาทนครวัด<br />

มีซุ้มจัตุรมุข ๓ มุข มุงหลังคาด้วย<br />

กระเบื้องกาบกล้วย คนท้องถิ่นจะรู้จัก<br />

กันในชื่อของ “ตึกแดง” โดยใช้เป็น<br />

ที่ทำการของกองสถาปัตยกรรม กรม<br />

ศิลปากร และจัดแสดงนิทรรศการให้<br />

ประชาชนและนักท่องเที่ยวได้เข้าชม<br />

พระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจ<br />

ด้านต่างๆ ในรัชกาลที่ ๕ อีกด้วย<br />

Situated to the west of Sanam<br />

Luang, this majestic building runs<br />

parallel to Na Phra That Alley. The<br />

building shows an influence of<br />

Khmer architecture, being reminiscent<br />

of the galleries of Angkor Wat.<br />

Along the length of the building are<br />

three gabled porches. The roof of<br />

the whole building is clad in terracotta<br />

roof tiles called ‘Kab Kluay’<br />

(literally means banana stalk).<br />

Known in the neighbourhood as the<br />

“Red building”, the building is currently<br />

used as an office for the Fine<br />

Arts Department’s Office of Architecture,<br />

and also houses an exhibition<br />

on King Chulalongkorn’s biography,<br />

his various works and legacy.<br />

This exhibition is open to the public.<br />

皇 家 广 场 西 面 有 一 栋 不 被 人 们 熟 知 , 与 公 路 平<br />

行 且 造 型 优 美 的 建 筑 物 。 此 建 筑 带 有 明 显 的 高 棉 艺 术<br />

特 征 , 看 似 吴 哥 窟 的 回 廊 , 建 有 三 个 方 形 黛 瓦 顶 尖 ,<br />

当 地 的 人 们 又 称 该 建 筑 为 “ 红 楼 ”, 后 被 用 于 美 术 展<br />

览 馆 筹 建 处 办 公 地 。 自 五 世 皇 以 来 , 对 民 众 及 游 客 开<br />

放 参 观 。<br />

ถนนหน้าพระธาตุ แขวงพระบรม<br />

มหาราชวัง เขตพระนคร Na Phra That<br />

Road, Phraborom Maha Ratchawang,<br />

Phra Nakhon วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา<br />

๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. Mon-Fri 09:00 AM<br />

– 04:00 PM ภายนอกและภายใน<br />

Exterior and interior ไม่เสียค่า<br />

เข้าชม Free entry 30, 33, 59, 65,<br />

70 ท่าช้าง ๗๐๐ ม., ท่ามหาราช<br />

๗๕๐ ม. Chang Pier 700 m, Maharaj<br />

Pier 750 m<br />

94<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O18 ที่ทำการกระทรวงกลาโหม<br />

THE MINISTRY OF DEFENSE HEADQUARTERS<br />

国 防 部 驻 地<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

2OO m<br />

วัดพระแก้ว<br />

Wat Phra Kaew<br />

(Temple of<br />

the Emerald Buddha)<br />

5OO m<br />

แพร่งนรา<br />

Phraeng Nara<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ :<br />

นายโจอาคิม กราสซี<br />

ผู้ครอบครอง : กระทรวงกลาโหม<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๒๕ – ๒๔๒๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๐<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Joachim Grassi<br />

Owner/ Overseer : Ministry of<br />

Defense<br />

Year of Construction : 1882-1884 A.D.<br />

Year Awarded : 1997 A.D.<br />

พิพิธภัณฑ์ปืนใหญ่โบราณหน้า<br />

กระทรวงกลาโหมเป็นสถานที่ดึงดูด<br />

นักท่องเที่ยวได้เสมอ และเมื่อมีอาคาร<br />

สีเหลืองทรงยุโรปที่ดูสง่าอยู่เป็นฉาก<br />

หลัง ยิ่งทำให้เป็นพื้นที่ทรงคุณค่าและ<br />

ดูสวยงามขึ้นไปอีก ตัวอาคารเป็น<br />

สถาปัตยกรรมนีโอคลาสสิคแบบนี<br />

โอปัลลาเดียน เน้นทางเข้าด้วยมุขหน้า<br />

จั่ว การตกแต่งผนังภายนอกทั้ง ๓ ชั้น<br />

เป็นรูปแบบเสาติดผนังซึ่งมีขนาดลด<br />

หลั่นกัน บริเวณแนวกำแพงด้านข้างยัง<br />

เป็นมุมที่สวยงาม เป็นที่นิยมของนัก<br />

ท่องเที่ยวและหนังโฆษณามาแล้ว<br />

หลายเรื่อง<br />

The Old Big Gun Museum in<br />

front of the Ministry of Defence<br />

building is a popular tourist attraction.<br />

The Ministry of Defence building<br />

is in the style of neo-Palladian.<br />

The entrance is accented with a<br />

gabled porch, while the façade of<br />

this three-story building is decorated<br />

with pilasters. This grand yellowish<br />

façade is so impressive as to<br />

become a popular backdrop for<br />

commercial shootings.<br />

国 防 部 门 前 矗 立 着 的 数 门 古 老 的 大 炮 吸 引 着 国<br />

内 外 游 客 , 尤 其 是 它 背 后 的 黄 色 墙 面 、 绿 色 装 点 的 拱<br />

形 门 窗 , 极 富 欧 式 特 色 建 筑 , 突 显 其 弥 足 珍 贵 。 建 筑<br />

主 体 仿 新 古 典 建 筑 代 表 性 的 帕 拉 迪 奥 建 筑 风 格 而 建<br />

造 。 入 口 处 为 十 二 圆 柱 支 撑 的 门 廊 十 分 气 魄 。 门 厅 有<br />

从 一 楼 到 三 楼 的 圆 柱 浮 雕 , 四 周 墙 壁 装 饰 之 精 美 使 游<br />

人 赞 叹 不 已 , 因 此 也 是 许 多 广 告 的 取 景 地 。<br />

ถนนสนามไชย แขวงพระบรม<br />

มหาราชวัง เขตพระนคร Sanam Chai<br />

Road, Phraborom Maha Ratchawang,<br />

Phra Nakhon โปรดติดต่อล่วงหน้า<br />

เพื่อขออนุญาตเข้าชม By appointment<br />

only ภายนอก Exterior ไม่เสีย<br />

ค่าเข้าชม Free entry 2, 9, 25, 91<br />

ท่าช้าง ๘๕๐ ม. Chang Pier 850 m<br />

35O m<br />

สวนสราญรมย์<br />

Saranrom Park<br />

96<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O19 กรมแผนที่ทหาร<br />

ROYAL THAI SURVEY DEPARTMENT<br />

军 事 测 绘 部<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

8OO m<br />

วัดโพธิ์<br />

Wat Pho<br />

8OO m<br />

ถนนเฟื่องนคร<br />

Fuang Nakhon<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ :<br />

นายสเตฟาโน คาร์ดู<br />

ผู้ครอบครอง : กองบัญชาการทหาร<br />

สูงสุด<br />

ปีที่สร้าง : ประมาณ พ.ศ. ๒๔๓๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

Architect/ Designer : Stefano Cardu<br />

Owner/ Overseer : Royal Thai Armed<br />

Forces Headquarters<br />

Year of Construction : around 1891 A.D.<br />

Year Awarded : 1984 A.D.<br />

อาคารนี้เคยเป็นส่วนหนึ่งของ<br />

พระราชวังสราญรมย์ ซึ่งการทำแผนที่<br />

ในประเทศไทยนั้นเริ่มต้นขึ้นอย่างเป็น<br />

ระบบในสมัยรัชกาลที่ ๕ รูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมจึงเป็นแบบนีโอ<br />

คลาสสิคที่มีความนิยมในสมัยนั้น<br />

เน้นจุดเด่นที่มุขขนาดใหญ่ โดยเฉพาะ<br />

มุขกลางที่มีแผงประดับหน้ามุข<br />

ประกอบด้วยตราประจำพระองค์ของ<br />

รัชกาลที่ ๕ และช้างเอราวัณ<br />

The building of Royal Thai Survey<br />

Department is used to be part of<br />

Saranrom Palace. A modern practice<br />

of and a systematic way of map<br />

surveying in Thailand can be traced<br />

back to the reign of King Chulalongkorn<br />

(Rama V). The building is a<br />

Neo-classical architecture popular<br />

at the time. The majestic central<br />

entrance porch is elaborate in details<br />

in which the figures of the royal<br />

coat of arms of King Chulalongkorn<br />

and Erawan are parts of its decoration.<br />

军 事 测 绘 部 所 在 地 曾 是 汪 仨 缆 龙 宫 殿 的 一 部<br />

分 , 拉 玛 五 世 皇 在 位 期 间 正 式 用 于 军 事 测 绘 部 , 其 建<br />

筑 设 计 为 典 型 的 新 古 典 建 筑 风 格 , 特 点 是 前 廊 正 前 方<br />

中 央 是 五 世 皇 雕 像 , 门 厅 墙 壁 上 用 三 头 象 壁 画 加 以 装<br />

饰 , 魏 为 壮 观 。<br />

ถนนกัลยาณไมตรี แขวงพระบรม<br />

มหาราชวัง เขตพระนคร Kalayana<br />

Maitri Road, Phraborom Maha<br />

Ratchawang , Phra Nakhon<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม<br />

By appointment only ภายนอก<br />

Exterior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

2, 9, 25, 33, 60, 91 ท่าช้าง<br />

๙๐๐ ม. Chang Pier 900 m<br />

1OO m<br />

สวนสราญรมย์<br />

Saranrom Park<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

97


O2O สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ<br />

(อาคารกระทรวงพาณิชย์เดิม)<br />

NATIONAL DISCOVERY MUSEUM INSTITUTE<br />

(FORMERLY OFFICE OF THE MINISTRY OF<br />

COMMERCE)<br />

国 家 博 物 院 ( 商 业 部 旧 址 )<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

65O m<br />

วัดโพธิ์<br />

Wat Pho<br />

4OO m<br />

ยอดพิมาน ริเวอร์ วอล์ค<br />

Yodpiman River Walk<br />

1 km<br />

พระบรมมหาราชวัง<br />

The Grand Palace<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ :<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ผู้ครอบครอง : สถาบันพิพิธภัณฑ์<br />

การเรียนรู้แห่งชาติ<br />

ปีที่สร้าง : ช่วงปี พ.ศ. ๒๔๖๔ – ๒๔๖๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Mario Tamagno<br />

Owner/ Overseer : National<br />

Discovery Museum Institute<br />

Year of Construction :<br />

around 1921-1922 A.D.<br />

Year Awarded : 2006 A.D.<br />

อาคารนี้สร้างขึ้นครั้งแรกเพื่อใช้<br />

เป็นกระทรวงพาณิชย์ ซึ่งถือเป็น<br />

อาคารที่ทำการของรัฐบาลรุ่นแรกๆ<br />

ของไทย มีรูปแบบสถาปัตยกรรมเป็น<br />

แบบคลาสสิค รีไววัล ใช้เสาสูง ๒ ชั้น<br />

หรือมากกว่า (colossal order) เป็น<br />

ลักษณะที่เห็นเด่นชัด และเมื่อ<br />

กระทรวงย้ายไปที่ทำการใหม่ ปัจจุบัน<br />

จึงปรับปรุงใช้พื้นที่เป็น พิพิธภัณฑ์การ<br />

เรียนรู้แห่งชาติ แห่งที่ ๑<br />

One of Siam’s earliest governmental<br />

buildings, it was originally<br />

built as the office for the Ministry of<br />

Commerce. The building is of Classic-revival<br />

style. The main feature<br />

is the two-story-tall pilasters. After<br />

the Ministry moved to a new location,<br />

the building has been converted<br />

into the first National Discovery<br />

Museum Institute.<br />

国 家 博 物 院 大 楼 建 造 初 期 为 国 家 商 务 部 办 公 楼<br />

之 用 , 共 延 续 了 几 届 政 府 。 该 建 筑 极 具 西 方 复 古 典 建<br />

筑 的 艺 术 风 格 , 尤 为 引 人 瞩 目 的 是 那 些 两 层 高 的 主<br />

体 圆 柱 。 商 业 部 迁 出 后 , 建 筑 修 缮 一 新 , 成 为 泰 国 国<br />

家 首 个 博 物 馆 所 在 地 。<br />

ถนนสนามไชย แขวงพระบรม<br />

มหาราชวัง เขตพระนคร Sanam Chai<br />

Road, Phraborom Maha Ratchawang,<br />

Phra Nakhon วันอังคาร – อาทิตย์<br />

เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๘.๐๐ น. Tue-Sun 10:00<br />

AM – 06:00 PM ภายนอกและ<br />

ภายใน Exterior and interior<br />

ชาวไทย ๕๐ บาท ชาวต่างชาติ ๑๕๐ บาท<br />

Thai nationals 50 baht, Foreign nationals<br />

150 baht. 44, 47, 53, 82<br />

ท่าราชินี ๓๐๐ ม. Rajinee Pier 300 m<br />

98<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O21<br />

บ้านจักรพงษ์ (วังจักรพงษ์)<br />

CHAKRABONGSE VILLAS<br />

恰 克 蓬 宫 殿<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

35O m<br />

มิวเซียมสยาม<br />

Museum Siam<br />

4OO m<br />

ยอดพิมาน ริเวอร์ วอล์ค<br />

Yodpiman River Walk<br />

9OO m<br />

พระปรางค์ วัดอรุณ<br />

Wat Arun<br />

(The Temple of Dawn)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ :<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ออกแบบปรับปรุงโดย : นายแอร์โกเล<br />

มันเฟรดี และนายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์<br />

ผู้ครอบครอง : ม.ร.ว.นริศรา จักรพงษ์<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๕๒ – ๒๔๕๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Mario Tamagno<br />

Architect/designer (extension) :<br />

Ercole Manfredi and Edward Healey<br />

Owner/ Overseer : M.R. Narisa<br />

Chakrabongse<br />

Year of Construction : 1909-1910 A.D.<br />

Year Awarded : 1987 A.D.<br />

สถาปัตยกรรมริมแม่น้ำเจ้าพระยา<br />

ที่โดดเด่นอีกหลังหนึ่งที ่คนเดินทาง<br />

ด้วยเรือด่วนเจ้าพระยาแทบทุกคนจะ<br />

ต้องชื่นชมในความสวยงามจากบนเรือ<br />

กันอยู่เสมอๆ ก็คือ บ้านจักรพงษ์ หรือ<br />

วังจักรพงษ์ นั่นเอง แม้จะผ่านกาล<br />

เวลามามากกว่า ๑๐๐ ปีแล้ว แต่ก็ยัง<br />

ดูสงบ สวยงาม และได้รับการดูแล<br />

รักษามาเป็นอย่างดี อาคารเป็นตึก<br />

แบบโดเมสติก รีไววัล ปัจจุบันวัง<br />

จักรพงษ์ได้ปรับเปลี่ยนพื้นที่ภายใน<br />

บางส่วนให้เป็นที่พัก ร้านอาหาร ชื่อ<br />

“โรงแรมจักรพงษ์วิลล่า”<br />

Another architectural landmark<br />

along the Chao Phraya River visible<br />

from Chao Phraya River is Chakrabongse<br />

Palace. More than a hundred<br />

years old though it is, the building<br />

has been well-maintained, and still<br />

remains a tranquil retreat. The architectural<br />

style is of Domestic<br />

Revival. Today, a section of the<br />

palace has been turned into a<br />

boutique hotel and restaurant<br />

called “Chakrabongse Villas & Residences”.<br />

这 座 坐 落 于 曼 谷 湄 南 河 畔 极 具 特 殊 艺 术 魅 力 的<br />

建 筑 , 吸 引 着 每 一 位 乘 游 艇 游 览 湄 南 河 的 游 客 。 此 处<br />

带 有 强 烈 复 兴 风 格 的 建 筑 物 , 虽 经 百 年 风 雨 , 修 缮 后<br />

仍 然 美 丽 壮 观 。 恰 克 蓬 (Chakrabongse) 宫 殿 内 的 一<br />

部 分 已 形 成 今 天 的 查 克 洛 博 瑟 别 墅 酒 店 (Chakrabongse<br />

Villas) 供 内 外 游 客 驻 足 。<br />

ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร Maha Rat Road, Phraborom<br />

Maha Ratchawang, Phra Nakhon<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม<br />

By appointment only ภายนอก<br />

Exterior ไม่เสียค่าเข้าชม Free<br />

entry 44, 47, 53, 82 ท่าราชินี<br />

๔๐๐ ม. Rajinee Pier 400 m<br />

100<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


ย่านชุมชนจีนยุคแรกในกรุงเทพฯ<br />

CHINESE COMMUNITY IN BANGKOK<br />

曼 谷 首 个 华 人 区 建 筑<br />

102<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


ภายหลังการสถาปนากรุงเทพฯ ย่านชุมชนคนจีนเก่าแก่ซึ่งเคยตั้งอยู่บริเวณที่เป็นพระบรม<br />

มหาราชวังในปัจจุบันถูกเคลื่อนย้ายไปตั้งในพื้นที่ย่านส ำเพ็ง ซึ่งเป็นพื้นที่บริเวณท้ายน้ ำถัด<br />

ออกไปจากพระบรมมหาราชวัง อันเป็นคติการออกแบบผังเมืองแบบจารีตที่ย่านชุมชนชาว<br />

ต่างชาติมักจะถูกเลือกให้ตั้งถิ่นฐานบริเวณท้ายน้ ำลงไป ย่านสำเพ็งและเยาวราชได้พัฒนา<br />

สืบเนื่องมาโดยลำดับจนเป็นพื้นที่ศูนย์กลางคนจีนที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพฯ สะท้อนให้เห็น<br />

รากเหง้าเก่าแก่เหล่านี้จากงานสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าหลายชิ้นในพื้นที่ เช่น วัดมังกร-<br />

กมลาวาส โรงเรียนเผยอิง ห้างทองตั้งโต๊ะกัง และลักษณะตึกแถวศิลปะจีนผสมไทยที่ปรากฏ<br />

เรียงรายอยู่ตามถนนหนทางในย่านดังกล่าว<br />

Following the establishment of <strong>Bangkok</strong> as the capital city of Siam, the Chinese<br />

community , previously settled around the present site of the Grand Palace, was<br />

moved towards the south to the neighbourhood called Sampeng, following the<br />

urban planning tradition where downstream areas were always allocated to foreigners.<br />

Since then, Sampeng and Yaowarat has grown into the biggest Chinese<br />

community in <strong>Bangkok</strong>. Architectural landmarks in this area such as Wat Mangkon<br />

Kamalawat, Peiing School and Tang Toh Kang Gold Shop portray the rich heritage<br />

of Thai and Chinese culture.<br />

后 期 的 曼 谷 建 筑 受 华 人 影 响 较 大 , 旧 时 的 华 人 区 是 在 今 日 的 大 皇 宫 所 在 区 域 , 后 被 迁 移 到 三 聘 区 , 而 这 个 位 置 是 在 大 皇 宫<br />

内 部 水 流 出 口 的 位 置 , 这 也 是 移 民 人 口 在 城 市 规 划 时 , 往 往 选 择 在 靠 水 区 域 的 典 型 案 例 。 三 聘 区 和 耀 华 力 区 在 不 停 的 发 展<br />

壮 大 , 最 终 成 为 曼 谷 城 内 最 大 的 华 人 聚 集 区 。 在 这 两 个 地 区 也 可 以 看 到 很 多 彰 显 传 统 文 化 的 宝 贵 建 筑 。 如 : 龙 莲 寺 、 培 英<br />

学 校 、 陈 焯 刚 金 行 以 及 许 许 多 多 临 立 在 这 两 个 区 内 融 合 了 中 泰 两 国 风 格 的 建 筑 群 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

103


Lung Rd.<br />

Soi<br />

Lan Luang 10<br />

Arun Amar<br />

o Bridge<br />

Chakrabongse Rd<br />

Phra Sumen Rd<br />

Din So Rd.<br />

Rracha<br />

Ratchdamnern Nok<br />

Nakhon Sawan Rd.<br />

Soi<br />

Luk Luang 9<br />

Luk L<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Suphamit Rd.<br />

Soi Lu<br />

Lang Rd Wang Lang Rd<br />

Arun Amarin Rd<br />

Chao<br />

Phraya River<br />

Na Phra Lan Rd<br />

Maha Rat Rd<br />

Sanam Chai Rd<br />

Ratchadamnoen Nai Rd<br />

Rop Krung Canal<br />

Rop Krung Canal<br />

Ratchadamnoen Klang Rd<br />

Kalayana Maitri Rd<br />

Mahannop Rd.<br />

Phra Sumen Rd<br />

Maha Chai Rd.<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Worachak Rd.<br />

Soi<br />

Lan Luang 4<br />

Soi<br />

Lan Luang 6<br />

Maha Nak Canal<br />

Chakka Phatdiphong Rd.<br />

Phanlang Rd.<br />

Dumrongrak Rd.<br />

Lan Luang Rd.<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Rop Krung Canal<br />

Charoen Krung Rd<br />

Lung Rd.<br />

Itsaraphap Rd<br />

Arun Amarin Rd<br />

Wat Kanlayanamit<br />

Rd Phetkasem Rd<br />

Itsaraphap Rd<br />

22<br />

Arun Amarin Rd<br />

Prajadhipok Rd<br />

Rajinee<br />

Chakphet Rd<br />

Tri Phet Rd<br />

Pak Khlong Talat<br />

Phra Pokklao Rd<br />

Chakphet Rd<br />

Memorial<br />

Bridge<br />

Somdet Chao Phraya Rd<br />

Lat Ya Road<br />

Din Daeng<br />

Chakkrawat Rd.<br />

Tha Din Daeng Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Yaowarat Rd<br />

Plaeng Nam Rd<br />

Rajchawongse<br />

Sawasdee<br />

Chiang Mai Rd<br />

24<br />

25<br />

23<br />

Charoen Nakhon Rd<br />

Yaowarat Rd<br />

Maitri Chit Rd<br />

Santiphap<br />

Rama IV Rd.<br />

Mittraphan Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Wat Thong<br />

Thammachat<br />

Chao<br />

Maitri Chit Rd<br />

Soi Wanit 2<br />

Phraya River<br />

Krung Kasem Rd<br />

Mittraphan Rd<br />

Khao Lam R<br />

Khao Lam<br />

Charoen Krung Rd<br />

Yai Canal<br />

Thoet Thai Rd<br />

Thoet Thai Rd<br />

Somdet Phra Chao Tak Sin Rd<br />

Krung Thon Buri Rd<br />

King Taksin Bridge<br />

aphruek Frontage Rd<br />

g Rd


Soi<br />

Lan Luang 10<br />

Rd.<br />

Rd.<br />

Soi<br />

Luk Luang 9<br />

Luk Luang Rd.<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Suphamit Rd.<br />

Lan Luang Rd.<br />

ak Rd.<br />

ung Maung Rd.<br />

Soi Luk Luang 7<br />

Soi Phitsanulok 1<br />

Soi 4<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Soi Lan Luang 14<br />

Soi Lan Luang 2<br />

Saen Saep Canal<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Rama VI Rd.<br />

Rama VI Rd. Rama VI Rd.<br />

Banthad Thong Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Phayathai Rd<br />

Phayathai Rd<br />

Phetchaburi Rd<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Saen Saep Canal<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Ratchaprarop Rd<br />

N<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

Phetchaburi Rd<br />

Chatura<br />

Saen Saep Cana<br />

itri Chit Rd<br />

p<br />

aphan Rd<br />

a IV Rd.<br />

en Krung Rd<br />

g<br />

chat<br />

Maitri Chit Rd<br />

Soi Wanit 2<br />

Krung Kasem Rd<br />

Mittraphan Rd<br />

Soi Liap Khlong Phadung Kasem<br />

Khao Lam Rd<br />

Khao Lam Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Mahaphuruttharam<br />

Charu Mueang<br />

Banthat Thong Rd Banthat Thong Rd<br />

Rama I Rd.<br />

ย่านชุมชนจีนยุคแรกในกรุงเทพฯ<br />

CHINESE COMMUNITY IN BANGKOK<br />

曼 谷 首 个 华 人 区 建 筑<br />

22<br />

Sawang Rd<br />

23<br />

ศาลเจ้าเกียนอันเกง<br />

Kian Un Keng Shrine<br />

建 安 宫 神 社<br />

บ้านหวั่งหลี<br />

Wang lee House<br />

黉 利 宅<br />

Si Phraya Rd<br />

Phayathai Rd<br />

Henri Dunant Rd<br />

Rama I Rd<br />

Ratchadamri Rd<br />

Ratchadamri Rd<br />

Soi Sarasin<br />

Phloen<br />

Witthayu Rd<br />

raya River<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

24<br />

25<br />

Maha Set Rd<br />

Rama IV Rd. Rama IV Rd.<br />

Silom Rd<br />

Sap Rd<br />

ห้างทองตั้งโต๊ะกัง<br />

Tang Toh Kang Gold Shop<br />

陈 悼 刚 金 店<br />

โรงเรียนเผยอิง<br />

Pei ing School<br />

培 英 学 校<br />

Surawong Rd<br />

Patpong Rd<br />

Convent Rd<br />

Saladaeng Rd<br />

Sathorn Rd<br />

Rama IV Rd<br />

sin Bridge<br />

Charoen Krung Rd<br />

Sirat Expy<br />

Sathorn Rd<br />

Charoen Rat Rd<br />

Naradhiwa<br />

g Rd


O22<br />

ศาลเจ้าเกียนอันเกง<br />

KIAN UN KENG SHRINE<br />

建 安 宫 神 社<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

650 m<br />

โบสถ์ซางตาครู้ส<br />

Santa Cruz Church<br />

350 m<br />

ชุมชนกุฎีจีน<br />

Kudi Jeen community<br />

350 m<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : คุณบุศย์ - พิสิฏฐพล<br />

สิมะเสถียร<br />

ปีที่สร้าง : สมัยรัชกาลที่ ๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Mr. Bud – Mr. Phisittathapon<br />

Simasatien<br />

Year of construction : Reign of King<br />

Rama III<br />

Year Awarded : 2008 A.D.<br />

เราได้รู้จากประวัติที่บอกต่อกัน<br />

มาว่า ศาลเจ้าเกียนอันเกง นี้สร้างขึ้น<br />

โดยคนจีนที่ตามเสด็จพระเจ้าตากสิน<br />

มหาราชมาตั้งถิ่นฐานที่ปากคลอง<br />

บางหลวง หรือคลองบางกอกใหญ่ ใน<br />

สมัยสถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นเมือง<br />

หลวง และเมื่อย้ายเมืองหลวงมาฝั่ง<br />

พระนคร คนจีนเหล่านี้ก็ค่อยๆ ย้าย<br />

ถิ่นฐานออกไปด้วย ศาลเจ้าที่สร้างไว้<br />

ก็ถูกทอดทิ้งให้ชำรุดทรุดโทรม ต่อมา<br />

ต้นตระกูลของสกุลตันติเวชกุลและ<br />

สกุลสิมะเสถียร ก็ร่วมกันสร้างศาล<br />

เจ้าใหม่ด้วยสถาปัตยกรรมจีนในสมัย<br />

ราชวงศ์เชง ประดับภาพจิตรกรรมฝา<br />

ผนัง ปูนปั้น และเครื่องไม้แกะสลักที่<br />

สวยงาม เพื่อประดิษฐานองค์เจ้าแม่<br />

กวนอิมอย่างในปัจจุบัน<br />

was moved from Thonburi to Phra<br />

Nakhon, the eastern bank of Chao<br />

Phraya River, the residents gradually<br />

moved out of the area. The<br />

community eventually dissolved<br />

and the Shrine was left unattended.<br />

Later the ancestors of Tantivejkul<br />

and Simasatian families renovated<br />

the Shrine with Qing Dynasty Style.<br />

The Shrine today contains murals,<br />

plasterwork and exquisitely sculpted<br />

woodwork as well as the statue<br />

of Guanying.<br />

据 说 建 安 神 社 是 由 郑 王 追 随 者 中 的 中 国 人 建 造<br />

的 。 当 时 , 郑 王 在 距 曼 谷 不 远 的 吞 武 里 府 建 立 了 大<br />

城 王 朝 的 首 都 , 后 迁 至 曼 谷 , 随 行 的 中 国 人 也 随 之<br />

迁 移 到 曼 谷 。 建 安 神 社 曾 一 度 废 弃 , 后 为 了 祭 奠 先 祖<br />

郑 王 , 按 清 朝 的 建 筑 艺 术 特 点 重 修 了 神 社 , 以 精 美 的<br />

壁 画 和 雕 塑 装 饰 , 并 供 奉 有 一 尊 观 音 像 , 一 直 延 续 至<br />

今 。<br />

ถนนเทศบาลสาย ๑ แขวงวัด<br />

กัลยาณ์ เขตธนบุรี Thesaban Sai I<br />

Road, Wat Kanlaya, Thonburi<br />

ทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๐๐ น.<br />

Mon-Sun 08:30 AM – 04:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

ท่าวัดกัลยานิมิตร Wat Kalayanamitr<br />

Pier<br />

พิพิธภัณฑ์บ้านกุฎีจีน<br />

Kudi Jeen Museum<br />

It has been told that Kian Un<br />

Keng Shrine was built by Chinese<br />

immigrants who settled in Khlong<br />

Bang Luang or Khlong <strong>Bangkok</strong><br />

Yai in the reign of King Taksin of<br />

Thonburi. When the capital city<br />

106<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

107


O23<br />

บ้านหวั่งหลี<br />

WANG LEE HOUSE<br />

黉 利 宅<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

150 m<br />

ล้ง ๑๙๑๙<br />

Lhong 1919<br />

1 km<br />

ท่าดินแดง<br />

Tha Din Daeng<br />

1.5 km<br />

อุทยานเฉลิมพระเกียรติ<br />

สมเด็จพระศรีนครินทรา<br />

บรมราชชนนี<br />

Princess Mother<br />

Memorial Park<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : นายชลันต์ หวั่งหลี<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๒๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Mr. Chalant Wang Lee<br />

Year of construction : 1881 A.D.<br />

Year Awarded : 1984 A.D.<br />

หากเราล่องเรือตามแม่น้ำ<br />

เจ้าพระยาจนถึงย่านคลองสาน จะเห็น<br />

อาคารจีนประยุกต์หลังหนึ่งดูสวยเด่น<br />

มาก มีลักษณะเป็นอาคาร ๒ ชั้น วาง<br />

ผังเป็นรูปตัวยู (U) มีลานกลางบ้าน<br />

หันหน้าออกแม่น้ำเจ้าพระยา ตัวบ้าน<br />

ตกแต่งด้วยไม้ฉลุ กระเบื้องเคลือบ<br />

แปะปูนปั้นลวดลายแบบจีน นับว่าเป็น<br />

บ้านคหบดีแบบจีนที่มีความสง่างาม<br />

มากหลังหนึ่งของไทย และบ้านหลัง<br />

นี้ก็คือ “บ้านหวั่งหลี” ของตระกูลหวั่งหลี<br />

ที่เก่าแก่และมีชื่อเสียง ซึ่งปัจจุบัน<br />

ทายาทในตระกูลได้อนุรักษ์และบำรุง<br />

รักษาเป็นอย่างดีจนถึงทุกวันนี้<br />

Passing Khlong San District<br />

on a Chao Phraya ferry, one can<br />

hardly miss Wanglee House, one<br />

of the most exquisite houses of<br />

prominent Chinese families in<br />

Thailand. Facing the Chao Phraya<br />

River, the two-story building has a<br />

U-shaped plan with a courtyard in<br />

the centre. The house is decorated<br />

with carved wood, porcelain, and<br />

Chinese stucco. Today the house<br />

is well-maintained and conserved<br />

by the family’s descendants.<br />

乘 游 船 沿 湄 南 河 游 览 两 岸 不 同 特 色 建 筑 会 看 到<br />

一 座 两 层 U 字 型 , 中 间 是 庭 院 , 极 富 现 代 气 息 的 中 式<br />

建 筑 。 它 面 朝 湄 南 河 , 楼 主 体 以 木 雕 、 琉 璃 瓦 及 格<br />

式 中 式 吉 祥 图 案 花 纹 装 饰 。 这 座 优 雅 的 建 筑 为 一 富 人<br />

家 的 家 宅 , 是 座 著 名 的 老 宅 子 , 被 成 为 “ 黉 利 宅 ”。<br />

老 宅 子 的 继 承 人 不 断 对 其 进 行 维 护 , 使 其 至 今 状 况 良<br />

好 。<br />

สุดถนนเชียงใหม่ ริมฝั่งแม่น้ ำเจ้าพระยา<br />

แขวงคลองสาน เขตคลองสาน At the<br />

end of Chiang Mai Road, Khlong San<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้า<br />

ชม By appointment only โปรด<br />

ติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม<br />

By appointment only ท่าหวั่งหลี<br />

Wanglee Pier<br />

108<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O24<br />

ห้างทองตั้งโต๊ะกัง<br />

TANG TOH KANG GOLD SHOP<br />

陈 悼 刚 金 店<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

150 m<br />

วัดมังกรกมลาวาส<br />

Wat Mangkon<br />

Kamalawat<br />

450 m<br />

ถนนเยาวราช<br />

Yaowarat Road<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : สำานักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๖๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๓<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Crown Property Bureau<br />

Year of construction : 1921 A.D.<br />

Year Awarded : 2000 A.D.<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรมของห้าง<br />

ทองตั้งโต๊ะกังเป็นอาคารพาณิชย์เก่า<br />

แก่ย่านสำเพ็งที่ได้รับอิทธิพลตะวันตก<br />

แบบคลาสสิคในยุคหลัง ตัวอาคารสูง<br />

ถึง ๗ ชั้นตกแต่งด้วยปูนปั้น หน้าต่าง<br />

และช่องแสงเป็นกระจกสี ปัจจุบันห้าง<br />

ทองแห่งนี้ได้จัด ชั้น ๓ และชั้น ๖ ให้<br />

เป็นพิพิธภัณฑ์จัดแสดงประวัติของห้าง<br />

และเรื่องราวความรู้ต่างๆ ด้านการทำ<br />

ทองให้ผู้สนใจได้เข้าชมอีกด้วย<br />

Tang Toh Kang Gold Shop is an<br />

old commercial building in Sampeng.<br />

Its architectural style was influenced<br />

by late classical style. This<br />

7-story building is decorated with<br />

plasterwork and coloured glass in<br />

windows and openings. The third<br />

and sixth floors of the building have<br />

been converted into a museum<br />

displaying the history of the shop<br />

and the art of goldsmithing.<br />

陈 悼 刚 金 店 地 处 曼 谷 三 聘 区 , 曾 是 一 座 七 层 高<br />

的 古 典 西 式 连 排 别 墅 。 该 建 筑 以 拉 毛 水 泥 和 砖 砌 成 ,<br />

琉 璃 玻 璃 的 天 井 及 窗 户 。 目 前 , 建 筑 的 三 至 六 层 改 造<br />

为 金 店 的 历 史 展 馆 , 搜 集 并 展 出 关 于 黄 金 及 黄 金 饰 品<br />

的 制 造 工 序 和 相 关 资 料 。<br />

๓๔๕ ซอยวาณิช ๑ ถนนมังกร<br />

แขวงจักรวรรดิ์ เขตสัมพันธวงศ์<br />

345 Soi Vanit I, Mangkon Road,<br />

Chakkrawat, Samphanthawong<br />

ทุกวัน เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๖.๐๐ น.<br />

Everyday 09:30 AM – 04:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน (พิพิธภัณฑ์ทองคำ<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม)<br />

Exterior and interior (Museum is by<br />

appointment only – contact in advance)<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

ท่าราชวงศ์ Ratchawong Pier<br />

110<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O25<br />

โรงเรียนเผยอิง<br />

PEI ING SCHOOL<br />

培 英 学 校<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1 km<br />

ไปรษณียาคาร<br />

Praisaniyakarn (Post<br />

Office Building)<br />

200 m<br />

ถนนทรงวาด<br />

Songwad Road<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง :สมาคมแต้จิ๋วแห่งประเทศไทย<br />

และคณะกรรมการโรงเรียนเผยอิง<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Tae Chew Association of Thailand<br />

and the committee of Peiing School<br />

Year of construction : 1916 A.D.<br />

Year Awarded : 2002 A.D.<br />

อาคารเก่าที่ใช้เป็นโรงเรียนจีนอัน<br />

มีประวัติยาวนานตั้งแต่สมัยรัชกาลที่<br />

๖ นับเป็นหนึ่งในโรงเรียน ๓ ภาษา<br />

ที ่เปิดสอนมานานที ่สุดในกรุงเทพฯ<br />

ซึ่งนักธุรกิจเชื้อสายไทย - จีน ที่มีชื่อ<br />

เสียงหลายๆ คน ล้วนเป็นศิษย์เก่า<br />

โรงเรียนแห่งนี้มาแล้วทั้งนั้น รูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมโคโลเนียลอิทธิพล<br />

นีโอคลาสสิค ตัวอาคารตกแต่งด้วย<br />

ลวดลายปูนปั้น วางผังเป็นรูปสี่เหลี่ยม<br />

ผืนผ้า มีคอร์ดโล่งตรงกลาง ผนัง<br />

อาคารด้านหน้าเซาะร่องเลียนแบบ<br />

การก่อหิน เน้นทางเข้าด้วยป้ายชื่อ<br />

โรงเรียนและนาฬิกาขนาดใหญ่<br />

with plasterwork. Its rectangular<br />

plan has an open courtyard in the<br />

middle. The external walls of the<br />

front facades are adorned with<br />

fake rustication. The entrance is<br />

highlighted with school badges and<br />

large wall clocks.<br />

曼 谷 培 英 中 学 是 一 座 中 国 古 式 建 筑 , 自 拉 玛 六<br />

世 建 立 的 语 言 学 校 , 历 史 悠 久 , 也 是 曼 谷 历 史 最 长 、<br />

最 知 名 三 所 华 人 学 校 之 一 , 众 多 著 名 的 华 商 都 毕 业 于<br />

此 。“ 培 英 学 校 ” 的 建 筑 特 点 是 灰 色 粉 刷 墙 面 , 有 明<br />

显 的 殖 民 地 色 彩 ; 建 筑 四 周 为 矩 形 围 绕 , 围 墙 也 摸 仿<br />

石 砖 砌 成 , 校 园 靠 近 入 口 处 还 建 有 一 栋 钟 楼 。<br />

๘๓๑ ถนนทรงวาด แขวงจักรวรรดิ์<br />

เขตสัมพันธวงศ์ 831 Songwad Road,<br />

Chakrawat, Samphanthawong<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

ท่าราชวงศ์ Ratchawong Pier<br />

1.5 km<br />

ยอดพิมาน ริเวอร์ วอล์ค<br />

Yodpiman River Walk<br />

The history of Peiing School can<br />

be traced back to the reign of King<br />

Rama VI. The school is one of the<br />

longest-running trilingual schools<br />

in <strong>Bangkok</strong>. Many Thai-Chinese<br />

businessmen are alumni of the<br />

school. The architectural style of the<br />

building is colonial mixed with neoclassical<br />

elements and decorated<br />

112<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

113


114<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


ย่านตะวันตกยุคแรกในสยาม<br />

WESTERN COMMUNITIES<br />

IN THE OLD BANGKOK<br />

暹 罗 的 第 一 批 西 式 建 筑<br />

นับตั้งแต่กรุงเทพฯ เริ่มการพัฒนาเมืองผ่านการตัดถนนสมัยใหม่แบบตะวันตก เช่น ถนนเจริญกรุง<br />

บำรุงเมือง และเฟื่องนคร สองฟากฝังถนนเหล่านี้ก็ขยายตัวเป็นย่านการค้าและชุมชนอย่างรวดเร็ว<br />

โดยเฉพาะบริเวณย่านสามแพร่งที่เชื่อมต่อกับถนนบ ำรุงเมือง ได้กลายเป็นย่านการค้าแบบตะวัน<br />

ตกยุคแรกที่สำคัญของกรุงเทพฯ ย่านนี้กลายเป็นศูนย์รวมร้านอาหารรสเลิศ ศูนย์รวมสินค้าสมัย<br />

ใหม่จากตะวันตก แม้กระทั่งโรงละครโอเปร่าแบบไทยๆ แห่งแรก (โรงละครปรีดาลัย) ในปัจจุบันแม้<br />

ความเจริญจะเคลื่อนย้ายไปสู่ย่านอื่นแต่ร่องรอยความเจริญในอดีตยังคงหลงเหลือให้เห็นผ่านงาน<br />

สถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าหลายชิ้น เช่น ตึกแถวริมถนนบ ำรุงเมืองและในแพร่งภูธร บางส่วนของโรง<br />

ละครปรีดาลัย เดอะภูธร และบ้านดี เป็นต้น ส่วนบริเวณถนนเจริญกรุงที่ถูกตัดขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาล<br />

ที่ ๔ ได้กลายเป็นย่านที่พักอาศัยชาวตะวันตกที่เก่าแก่ที่สุด ตลอดเส้นทางเต็มไปด้วยสถานกงสุล<br />

โบสถ์คริสต์ โรงแรม และท่าเรือแบบสมัยใหม่ การเดินส ำรวจอาคารเก่าย่านถนนเจริญกรุงคือการ<br />

ทำความเข้าใจความเป็นสมัยใหม่แบบตะวันตกยุคต้นกรุงเทพฯ ที่สมบูรณ์ที่สุด ไม่ว่าจะเป็น โบสถ์<br />

พระแม่ลูกประคำ (กาลหว่าร์), สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษ, บ้านนายเลิศ ซอยสมคิด, ท ำเนียบ<br />

เอกอัครราชทูต โปรตุเกส, โรงแรมโอเรียนเต็ล, และ ทำเนียบเอกอัครราชทูตฝรั่งเศส เป็นต้น<br />

Since the construction of Charoen Krung, Bumrung Mueang, and Fuang Nakhon after<br />

Western models, the area along these roads rapidly became athriving commercial hub.<br />

The three ‘Phraeng’ which connects with Bumrung Mueang Road, in particular, became<br />

the first commercial hubs consisting of restaurants, shops selling imported goods, and<br />

the first opera house in Thai style (Preedalai Theater). Though nowadays, the area is<br />

no longer a bustling commercial centre, traces of the old days are left visible in the architecture<br />

of this area: from shophouses along Bumrung Mueang Road and in Phraeng<br />

Phuthon, a section of Preedalai Theater, to the Bhuthorn, and Baan Dee to name a few.<br />

Besides, Charoen Krung, a road lying parallel to Chao Phraya River and built in the reign<br />

of King Mongkut (Rama IV), was the site of the oldest western residences in <strong>Bangkok</strong><br />

where many consulates, churches, hotels, and piers are located. A walk around Charoen<br />

Krung Road is one of the best ways to appreciate the early modern <strong>Bangkok</strong>. Significant<br />

historic buildings around this area are the Holy Rosary Church, Nai Lert House on<br />

Som Khit Alley, the Embassy of Portugal, the Embassy of France, and the Oriental Hotel.<br />

曼 谷 开 始 效 仿 西 方 国 家 进 行 新 的 城 市 道 路 规 划 , 比 如 : 石 龙 军 路 、 巴 隆 蒙 路 和 丰 那 坤 路 。 这 些 道 路 的 两 侧 区 域 也 快 速 的 发 展 壮 大 成<br />

为 商 贸 区 和 居 民 区 , 尤 其 是 三 聘 和 巴 隆 蒙 路 的 交 界 区 域 成 为 了 曼 谷 第 一 个 重 要 的 西 式 商 贸 区 , 这 个 区 域 也 成 为 了 汇 集 美 食 餐 厅 和 西<br />

方 新 潮 商 品 的 中 心 , 甚 至 发 展 诞 生 了 第 一 所 带 有 泰 国 风 格 的 艺 术 剧 院 ( 比 达 莱 剧 院 )。 尽 管 当 代 的 繁 荣 区 域 已 经 转 移 到 其 他 地 区 ,<br />

但 通 过 这 些 宝 贵 的 建 筑 物 还 是 能 够 感 受 到 当 时 的 该 地 区 的 繁 华 。 如 : 巴 隆 蒙 路 沿 路 的 楼 群 , 比 达 莱 剧 院 的 部 分 楼 群 , 德 普 吞 宾 馆 和<br />

一 些 精 美 的 居 民 住 宅 。 石 龙 军 路 始 建 于 拉 玛 四 世 时 期 , 逐 渐 成 为 最 早 时 期 的 东 方 人 口 居 住 区 。 整 条 道 路 都 林 立 着 许 许 多 多 的 领 事 馆 、<br />

基 督 教 堂 、 酒 店 以 及 新 式 的 码 头 。 在 石 龙 军 路 上 游 览 沿 路 的 老 式 房 屋 建 筑 , 是 了 解 曼 谷 早 期 西 式 新 建 筑 最 好 的 方 式 。 比 如 玫 瑰 圣 母<br />

教 堂 ( 圣 玫 瑰 堂 ), 英 国 驻 泰 大 使 馆 , 莱 卡 先 生 之 家 , 葡 萄 牙 大 使 官 邸 、 法 国 大 使 官 邸 以 及 东 方 酒 店 等 等 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

115


Soi<br />

Lan Luang 10<br />

Na Phra Lan Rd<br />

Maha Rat Rd<br />

Sanam Chai Rd<br />

Ratchadamnoen Nai Rd<br />

Rop Krung Canal<br />

Rop Krung Canal<br />

Ratchadamnoen Klang Rd<br />

26<br />

Kalayana Maitri Rd<br />

27<br />

Mahannop Rd.<br />

Din So Rd.<br />

Phra Sumen Rd<br />

Maha Chai Rd.<br />

Ratch<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Lung Rd.<br />

Worachak Rd.<br />

Nakhon Sawan Rd.<br />

Maha Nak Canal<br />

Chakka Phatdiphong Rd.<br />

Soi<br />

Lan Luang 4<br />

Soi<br />

Lan Luang 6<br />

Phanlang Rd.<br />

Luk Luang Rd.<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Suphamit Rd.<br />

Dumrongrak Rd.<br />

Soi L<br />

Lan Luang Rd.<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Soi Phitsanulok<br />

Soi 4<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Soi Lan Luang 14<br />

Soi Lan Luang 2<br />

Saen Saep Canal<br />

Sawank<br />

Phetchab<br />

Saen Saep<br />

Rama VI Rd.<br />

Rop Krung Canal<br />

Charoen Krung Rd<br />

Lung Rd.<br />

sem Rd<br />

Wat<br />

Kanlaya<br />

namit<br />

Itsaraphap Rd<br />

Arun Amarin Rd<br />

30<br />

Prajadhipok Rd<br />

Rajinee<br />

Chakphet Rd<br />

Tri Phet Rd<br />

Pak Khlong Talat<br />

Phra Pokklao Rd<br />

Chakphet Rd<br />

Memorial Bridge<br />

Somdet Chao Phraya Rd<br />

32<br />

Lat Ya Road<br />

Din Daeng<br />

Chakkrawat Rd.<br />

Tha Din Daeng Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Yaowarat Rd<br />

Plaeng Nam Rd<br />

Rajchawongse<br />

Sawasdee<br />

Chiang Mai Rd<br />

Khlong San<br />

Charoen Nakhon Rd<br />

Yaowarat Rd<br />

Maitri Chit Rd<br />

Santiphap<br />

Rama IV Rd.<br />

Mittraphan Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Maitri Chit Rd<br />

Soi Wanit 2<br />

Krung Kasem Rd<br />

Mittraphan Rd<br />

Soi Liap Khlong Phadung Kasem<br />

Khao Lam Rd<br />

Khao Lam Rd<br />

Wat Thong Thammachat<br />

Chao<br />

Marine<br />

Dept.<br />

28<br />

Phraya River<br />

Charoen Krung Rd<br />

29<br />

Mahaphuruttharam<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Charu Mueang<br />

Sawang Rd<br />

Si Phraya Express Boat Pier<br />

34<br />

32<br />

Wat Muang Kae<br />

33<br />

Hua Lamphong<br />

Banthat Thong Rd Ban<br />

Wat Suwan<br />

Somdet Phra Chao Tak Sin Rd<br />

Krung Thon Buri Rd<br />

34<br />

Wat Suan Plu<br />

King Taksin Bridge<br />

Oriental<br />

Dumex<br />

Charoen Krung Rd<br />

Maha Set Rd<br />

Sirat Expy<br />

Charoen Rat Rd<br />

Charoen Krung Rd


ng 2<br />

Sawank<br />

Phetchaburi Rd<br />

Rama VI Rd. Rama VI Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

ri Ayuthaya Rd.<br />

Ratchathewi<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Ratchapraro<br />

Chalerm Maha Nakhon E<br />

Chaturathit Rd<br />

N<br />

aep Canal<br />

Saen Saep Canal<br />

Rama VI Rd.<br />

Banthad Thong Rd.<br />

Saen Saep Canal<br />

Phayathai Rd<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Saen Saep C<br />

haru Mueang<br />

Banthat Thong Rd Banthat Thong Rd<br />

Rama I Rd.<br />

National<br />

Stadium<br />

Phayathai Rd<br />

Henri Dunant Rd<br />

Siam<br />

ย่านตะวันตกยุคแรกในสยาม<br />

Rama I Rd<br />

WESTERN COMMUNITIES IN THE OLD BANGKOK<br />

暹 罗 的 第 一 批 西 式 建 筑<br />

Ratchadamri Rd<br />

Ratchadamri Rd<br />

31<br />

35<br />

Phloen Chit Rd<br />

Witthayu Rd<br />

Soi Sarasin<br />

Si Phraya Rd<br />

Silom Rd<br />

Sathorn Rd<br />

Rama IV Rd<br />

Rama IV Rd<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

d<br />

เดอะภูธร<br />

บ้านปาร์คนายเลิศ<br />

26 31<br />

The Bhuthorn<br />

布 托 恩 民 宿<br />

Nai Lert Park Heritage Home<br />

百 年 豪 宅<br />

Pier<br />

Rama IV Rd. Rama IV Rd.<br />

บ้านดี<br />

Sap Rd<br />

27 Baan Dee<br />

32<br />

老 式 排 房<br />

Surawong Rd<br />

Patpong Rd<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)<br />

สาขาตลาดน้อย<br />

Convent Rd<br />

Saladaeng Rd<br />

28 33<br />

Siam Commercial Bank, Talad Noi<br />

Branch<br />

暹 罗 商 业 银 行 噠 叻 支 行<br />

โบสถ์วัดแม่พระลูกประคำ (กาลหว่าร์)<br />

29 34<br />

The Holy Rosary Church (Kalawar)<br />

玫 瑰 圣 母 教 堂<br />

ทำเนียบเอกอัครราชทูตโปรตุเกส<br />

Residence of the Portuguese<br />

Ambassador<br />

葡 萄 牙 大 使 馆 官 邸<br />

โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล<br />

(โรงแรม โอเรียนเต็ล)<br />

Mandarin Oriental Hotel<br />

文 华 东 方 酒 店 ( 东 方 饭 店 )<br />

ทำเนียบเอกอัครราชทูตฝรั่งเศส<br />

Residence of the French Ambassador<br />

法 国 大 使 官 邸<br />

Duang Phithak Rd<br />

Sathorn Rd<br />

โบสถ์วัดซางตาครู้ส<br />

30 35<br />

Santa Cruz Church<br />

圣 克 鲁 斯 教 堂<br />

สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษ<br />

The British Embassy<br />

英 国 大 使 馆 ( 已 被 出 售 )<br />

Charoen Rat Rd<br />

Naradhiwas Rajanagarin


O26<br />

เดอะภูธร<br />

THE BHUTHORN<br />

布 托 恩 民 宿<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

350 m<br />

ที่ทําการกระทรวงกลาโหม<br />

The Ministry of<br />

Defence<br />

100 m<br />

แพร่งภูธร<br />

Phraeng Phuthon<br />

450 m<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : คุณดิเรก -<br />

จิตรลดา เส็งหลวง ออกแบบปรับปรุง<br />

ผู้ครอบครอง : คุณดิเรก - จิตรลดา<br />

เส็งหลวง<br />

ปีที่สร้าง : สมัยรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Direk and Chitlada Senglaung<br />

(renovation design)<br />

Owner/ Overseer :<br />

Mr. Direk and Chitlada Senglaung<br />

Year of construction :<br />

Reign of King Rama V<br />

Year Awarded : 2010 A.D.<br />

ตึกแถวเก่าที่มีเอกลักษณ์สวยงาม<br />

ด้วยระยะเสาที่ค่อนข้างแคบ ตัวอาคาร<br />

๒ ชั้น โครงสร้างผนังรับน้ำหนักก่อ<br />

อิฐฉาบปูน หน้าต่างติดลูกกรงเหล็ก<br />

ประตูเป็นแบบบานเฟี้ยม ปัจจุบันเปิด<br />

บริการเป็นโรงแรมที่เจ้าของมีแนวคิด<br />

ที่จะรักษาลักษณะเดิมของตัวอาคาร<br />

ไว้ให้มากที่สุด ตกแต่งเพิ่มด้วยเครื่อง<br />

ประดับปูนปั้นรูปดอกไม้ เชิงชายลาย<br />

ขนมปังขิง เฟอร์นิเจอร์เก่า ผ้าไทย และ<br />

เครื่องเรือนหวาย เพื่อสร้างบรรยากาศ<br />

แบบโคโลเนียลให้ผู้ที่มาพักอาศัยรู้สึก<br />

สบายและเหมือนได้อยู่ในบ้านยุคเก่า<br />

จริงๆ<br />

This historic two-story shophouse<br />

is made of brick and mortar,<br />

with steel window railings and<br />

wooden folding doors. The owner<br />

converted the shophouse into a<br />

hotel with an intention to keep its<br />

original condition as much as possible.<br />

Addition to original building<br />

is a refurbishment of decorative<br />

plasterwork in floral motifs, carved<br />

wooden fascia typical of gingerbread<br />

architecture, antique furniture,<br />

Thai textile and woven reed<br />

furniture. All of these are to create<br />

the Colonial atmosphere. Visiting<br />

the hotel is like stepping back in<br />

time.<br />

布 托 恩 民 宿 是 家 老 式 砖 墙 木 质 结 构 的 两 层 楼<br />

房 , 提 供 住 宿 加 早 餐 的 旅 馆 。 主 人 以 保 护 建 筑 原 貌 为<br />

宗 旨 , 虽 然 内 部 结 构 略 窄 小 , 其 美 丽 独 特 的 折 叠 式 门<br />

窗 样 式 和 墙 壁 的 装 饰 图 案 , 及 户 内 古 老 家 具 的 朴 实 而<br />

又 不 失 其 华 丽 陈 设 , 都 使 住 客 充 分 感 受 到 曼 谷 的 独 特<br />

魅 力 , 尽 享 居 住 舒 适 。<br />

๙๖ – ๙๘ ถนนแพร่งภูธร แขวงศาล<br />

เจ้าพ่อเสือ เขตพระนคร 96 – 98 Phraeng<br />

Phuthon Road, San Chaopho Suea,<br />

Phra Nakhon ทุกวัน Everyday<br />

ภายนอก Exterior<br />

ไม่เสีย<br />

ค่าเข้าชม Free entry 2, 33, 60<br />

ท่าช้าง 1กม. Chang Pier 1 km<br />

เสาชิงช้า<br />

The Giant Swing area<br />

118<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

119


O27<br />

บ้านดี<br />

BAAN DEE<br />

老 式 排 房<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

450 m<br />

ศาลาเฉลิมกรุง<br />

Sala Chalermkrung<br />

Royal Theatre<br />

100 m<br />

ย่านถนนเฟื่องนคร<br />

Fueang Nakhon Road<br />

500 m<br />

สวนรมณีนาถ<br />

Rommaninat Park<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : นายทรงสิทธิ์ จารุปาณ<br />

ปีที่สร้าง : ปลายรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Mr. Songsith Charuparn<br />

Year of construction : Late King<br />

Chulalongkorn (Rama V) period<br />

Year Awarded : 1996 A.D.<br />

อาคารเก่าที่ได้รับการดูแลอนุรักษ์<br />

จากเจ้าของบ้านเป็นอย่างดี รูปแบบ<br />

อาคารเป็นเรือนแถว ที่ได้รับอิทธิพล<br />

ตะวันตก สร้างขึ้นตามอย่างอาคาร<br />

พาณิชย์ในสิงคโปร์ในช่วงปลายสมัย<br />

รัชกาลที ่ ๕ โครงสร้างอาคารก่ออิฐ<br />

ถือปูน ผนังรับน้ำหนัก หลังคามุง<br />

กระเบื้องว่าว ตกแต่งด้วยปูนปั้นลวด<br />

บัวและไม้ฉลุ ปัจจุบันใช้เป็นทั้งที่พัก<br />

อาศัย เก็บสะสมของโบราณ และใช้<br />

พื้นที่ชั้นล่างเปิดเป็นร้านกาแฟและ<br />

ไอศกรีมให้เราได้นั่งซึมซับเรื่องราวแต่<br />

เก่าก่อนอีกด้วย<br />

Built in the late King Rama V era<br />

after Singapore model, Baan Dee is<br />

a historic shophouse well-kept by<br />

the owner. This load bearing structure<br />

is decorated with plasterwork<br />

and wooden fretwork. The roof is<br />

of diamond-shaped cement tiles.<br />

Presently it is used as a residential<br />

building with owner’s antique<br />

collection on display. A café on the<br />

ground floor serves a selection of<br />

drink and ice-cream.<br />

曼 谷 不 少 旧 时 的 老 式 排 房 都 受 到 了 房 主 的 良 好<br />

维 护 。 这 些 连 排 别 墅 式 建 筑 许 多 都 建 于 拉 玛 五 世 时<br />

期 , 西 洋 式 建 筑 特 征 明 显 , 仿 建 新 加 坡 新 古 典 主 义<br />

风 格 的 商 业 建 筑 模 式 , 以 砖 体 墙 、 屋 顶 瓦 及 木 制 门 窗<br />

作 为 建 筑 结 构 。 目 前 , 这 些 建 筑 多 用 于 居 住 和 商 户 店<br />

面 , 如 : 咖 啡 或 冰 淇 淋 售 卖 店 等 , 营 造 出 一 派 旧 时 代<br />

的 气 氛 。<br />

๑๒๓ ถนนเฟื่องนคร ตรงข้ามวัด<br />

ราชบพิธสถิตมหาสีมาราม แขวงวัดราช<br />

บพิตร เขตพระนคร 123 Fueang Nakhon<br />

Road, opposite to Wat Ratchabophit<br />

Sathitmahasimaram, Wat Ratchabophit,<br />

Phra Nakhon<br />

ขึ้นอยู่กับร้านค้า.<br />

Business hours of the shop<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

1, 25, 48 ท่าเตียน ๑ กม.<br />

Tha Tien Pier 1 km<br />

120<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

121


O28<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)<br />

สาขาตลาดน้อย<br />

SIAM COMMERCIAL BANK, TALAD NOI BRANCH<br />

暹 罗 商 业 银 行 噠 叻 支 行<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

150 m<br />

โบสถ์วัดแม่พระลูกประคํา<br />

The Holy Rosary<br />

Church<br />

150 m<br />

ย่านถนนเจริญกรุง<br />

Charoen Krung Road<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

นายอันนิบาล ริก็อตติ<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำากัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๕๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr.Annibale Rigotti<br />

Owner/ Overseer :<br />

Siam Commercial Bank Plc.<br />

Year of construction : 1908 A.D.<br />

Year Awarded : 1982 A.D.<br />

ตึกนี้มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์<br />

ด้านการเงินของไทยเพราะที่นี่คือ<br />

ที่ทำการธนาคารแห่งแรก ที่มีชื่อว่า<br />

“แบงก์สยามกัมมาจล ทุนจำกัด” ก่อน<br />

เปลี่ยนชื่อเป็น ธนาคารไทยพาณิชย์<br />

จำกัด (มหาชน) ตัวอาคารเป็นอาคาร<br />

๓ ชั้น สถาปัตยกรรมโบซารส์ มีลักษณะ<br />

ที่เด่นชัด คือ การประดับประดาที่<br />

มากมายด้วยองค์ประกอบคลาสสิค<br />

จากยุคต่างๆ โดยนำมาผสมผสาน<br />

กันอย่างซับซ้อน ปัจจุบันทางธนาคาร<br />

ก็ยังเปิดใช้เป็นที่ทำการธนาคาร โดยมี<br />

นโยบายที ่จะเก็บรักษาคุณค่าและ<br />

ความเป็นของแท้ดั้งเดิมไว้ให้มากที่สุด<br />

architectural heritage, the building<br />

still operates as a bank branch.<br />

它 是 一 处 泰 国 具 有 历 史 价 值 的 建 筑 物 , 由 于 这<br />

里 是 泰 国 首 家 银 行 故 称 为 泰 国 “ 第 一 商 业 银 行 ”,<br />

后 更 名 为 “ 暹 罗 商 业 银 行 ”。 该 银 行 大 楼 可 称 为 是 一<br />

栋 艺 术 殿 堂 , 共 三 层 , 内 部 有 着 诸 多 现 代 化 的 家 具 陈<br />

设 , 与 整 体 装 修 相 得 益 彰 。 按 保 护 古 老 建 筑 的 原 则 ,<br />

作 为 银 行 的 办 公 地 , 大 楼 仍 就 保 持 原 貌 。<br />

๑๒๘๐, ๑๒๘๐/๑ ถนนโยธา แขวง<br />

ตลาดน้อย เขตสัมพันธวงศ์ 1280-1280/1<br />

Yotha Road, Talad Noi, Samphanthawong<br />

วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา ๐๘.๓๐<br />

- ๑๕.๓๐ น. Mon – Fri 08:30 AM – 03:30 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

1, 35, 75 ท่ากรมเจ้าท่า ๒๘๐ ม.<br />

Harbour Dept. Pier 280 m<br />

260 m<br />

ริเวอร์ ซิตี้<br />

River City<br />

This building is significant in the<br />

financial history of Thailand as it is<br />

the first branch of the first bank of<br />

Thailand – Siam Commercial Bank.<br />

This three-story Beaux-Arts style<br />

employs complex and extravagant<br />

classical elements from different<br />

periods. With a strong determination<br />

to conserve this valuable<br />

122<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

123


O29<br />

โบสถ์วัดแม่พระลูกประคำ (กาลหว่าร์)<br />

THE HOLY ROSARY CHURCH (KALAWAR)<br />

玫 瑰 圣 母 教 堂<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

150 m<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์<br />

จํากัด (มหาชน)<br />

สาขาตลาดน้อย<br />

Siam Commercial Bank<br />

(Talad Noi Branch)<br />

150 m<br />

ย่านถนนเจริญกรุง<br />

Charoen Krung Road<br />

200 m<br />

ริเวอร์ ซิตี้<br />

River City<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : คุณพ่อแดซาส์<br />

ผู้ครอบครอง : โบสถ์วัดแม่พระลูกประคำา<br />

(กาลหว่าร์)<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๓๔ – ๒๔๔๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

Architect/ Designer : Father Desalles<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Holy Rosary Church (Kalawar)<br />

Year of construction : 1891 – 1897 A.D.<br />

Year Awarded : 1987 A.D.<br />

วัดเก่าแก่ของชาวคริสตังโปรตุเกส<br />

ก่อตั้งขึ้นโดยบาทหลวงและชาว<br />

โปรตุเกสที่อพยพมาหลังจากการเสีย<br />

กรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ จนถึงปัจจุบัน<br />

นี้ตัวอาคารก็มีอายุเกินกว่า ๑๒๐ ปี<br />

แล้ว รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นแบบ<br />

โกธิค รีไววัล ผังอาคารรูปไม้กางเขน<br />

หันหน้าออกสู่แม่น้ำเจ้าพระยา ด้าน<br />

หน้าเป็นหอระฆังสูง หลังคาเป็นยอด<br />

แหลมประดับไม้กางเขนที่ยอดสุด<br />

ผนังอาคารตกแต่งด้วยกระจกสีเป็น<br />

เรื่องราวในพระคัมภีร์ ซึ่งนับเป็นงาน<br />

กระจกสีที่สวยงามที่สุดแห่งหนึ่งใน<br />

ประเทศไทย<br />

This Roman Catholic church<br />

was founded by Portuguese priests<br />

and Catholics who immigrate from<br />

Ayutthaya to <strong>Bangkok</strong> following<br />

the destruction of the old capital<br />

in 1767 A.D. Now more than 120<br />

years old, this Gothic Revival style<br />

church has a cruciform floor plan.<br />

On the western façade facing Chao<br />

Phraya River, the Bell Tower, whose<br />

prominent steep roof topped with<br />

a cross on its spire, provides not<br />

only the vertical dominant but<br />

also masks the main entrance to<br />

the church. On the church’s walls,<br />

stained glass windows - ones of the<br />

best in the country - depict biblical<br />

stories.<br />

玫 瑰 圣 母 教 堂 是 座 有 着 120 年 历 史 , 一 位 躲 避 泰<br />

缅 战 乱 的 葡 萄 牙 牧 师 , 于 大 城 王 朝 第 二 年 所 兴 建 , 具<br />

有 浓 厚 的 葡 萄 式 建 筑 风 格 的 教 堂 。 教 堂 建 筑 为 风 格 哥<br />

特 式 复 兴 建 筑 , 面 朝 湄 南 河 , 十 字 架 矗 立 在 钟 楼 顶 端<br />

的 塔 尖 上 ; 教 堂 四 周 是 圣 经 中 所 描 述 的 彩 色 玻 璃 窗 ,<br />

也 被 称 为 是 曼 谷 最 漂 亮 的 建 筑 。<br />

๑๓๑๘ ถนนเจริญกรุง แขวงตลาดน้อย<br />

เขตสัมพันธวงศ์ 1318 Charoenkrung<br />

Road, Talad Noi, Samphanthawong<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

1, 35, 75 ท่ากรมเจ้าท่า ๓๕๐ ม.<br />

Harbour Dept. Pier 350 m<br />

124<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

125


O3O<br />

โบสถ์วัดซางตาครู้ส<br />

SANTA CRUZ CHURCH<br />

圣 克 鲁 斯 教 堂<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

130 m<br />

โรงเรียนซางตาครู้สคอน<br />

แวนท์<br />

Santa Cruz Convent<br />

500 m<br />

ชุมชนกุฎีจีน<br />

Kudichin Community<br />

800 m<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

คุณพ่อกูเลียลโม กิ๊น ดาครู้ส<br />

ผู้ครอบครอง : วัดซางตาครู้ส<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๕๖ - ๒๔๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๒<br />

Architect/ Designer :<br />

Father Guglielmo Kihn Da Cruz<br />

Owner/ Overseer :<br />

Santa Cruz Church<br />

Year of construction : 1913 - 1916 A.D.<br />

Year Awarded : 1999 A.D.<br />

ถึงจะเป็นโบสถ์สร้างใหม่แทน<br />

โบสถ์เดิมสมัยพระเจ้าตากสินมหาราช<br />

แต่ก็ผ่านกาลเวลามานานนับร้อยปี<br />

แล้ว ตัวโบสถ์เป็นสถาปัตยกรรมแบบ<br />

เรเนสซองส์ รีไววัล โครงสร้างผนังรับ<br />

น้ำหนัก ด้านหน้าอาคารประกอบด้วย<br />

ซุ้มประตูโค้งครึ่งวงกลมและโดมแปด<br />

เหลี่ยม ประดับส่วนยอดโดมด้วยไม้<br />

กางเขน ตกแต่งด้วยปูนปั้นและกระจก<br />

สีที่สวยงาม<br />

Initially built in the reign of<br />

King Taksin, Santa Cruz church<br />

was rebuilt between 1913-1916 A.D.<br />

in Renaissance Revival style with<br />

load-bearing structure. The front<br />

faced is dominated by a tower<br />

whose octagonal dome roof is<br />

crowned with a lantern. The church<br />

decoration is made of stucco and<br />

stained-glass.<br />

圣 克 鲁 斯 教 堂 是 曼 谷 地 区 众 多 旧 天 主 教 教 堂<br />

之 一 , 至 今 已 有 100 年 以 上 的 历 史 , 该 教 堂 建 于 18<br />

世 纪 后 期 的 郑 王 统 治 时 期 , 当 时 吞 武 里 是 泰 国 的 首<br />

都 。1834 年 Pallegoix 主 教 下 令 对 教 堂 进 行 了 重<br />

修 ,1913 年 再 次 进 行 了 重 建 。 圣 克 鲁 斯 教 堂 坐 落 在<br />

湄 南 河 河 岸 , 其 红 圆 顶 是 湄 南 河 上 的 一 个 突 出 地 标 ,<br />

教 堂 按 欧 洲 文 艺 复 兴 时 期 的 样 式 所 建 , 主 塔 楼 八 角 圆<br />

拱 形 屋 顶 , 顶 尖 矗 立 着 十 字 架 , 红 色 外 墙 及 彩 色 玻 璃<br />

窗 看 上 去 十 分 美 观 。<br />

๑๑๒ ซอยกุฎีจีน ถนนเทศบาล ๑<br />

แขวงวัดกัลยาณ์ เขตธนบุรี 112 Soi Kudi<br />

Chin, Thesaban I Road, Wat Kanlaya,<br />

Thonburi ทุกวัน เวลา ๐๕.๓๐ –<br />

๐๘.๓๐ น. และ ๑๘.๐๐ – ๒๐.๐๐ น.<br />

Everyday 05:30 AM – 08:30<br />

AM and 06:00 PM – 08:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

3, 4, 7, 9, 21, 42, 82 ท่าวัด<br />

กัลยาณมิตร ๗๕๐ ม. Kanlayanamit<br />

Pier 750 m<br />

ศาลเจ้า เกียนอันเกง<br />

Kian Un Keng Shrine<br />

126<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

127


O31<br />

บ้านปาร์คนายเลิศ<br />

NAI LERT PARK HERITAGE HOME<br />

百 年 豪 宅<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

130 m<br />

อาคารภักดี<br />

Bhakdi Building<br />

450 m<br />

เซ็นทรัล เอ็มบาสซี่<br />

Central Embassy<br />

800 m<br />

สปา ๑๙๓๐ (บ้านตุ๊กตา)<br />

Spa 1930<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

พระยาภักดีนรเศรษฐ (เลิศ เศรษฐบุตร)<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

คุณณพาภรณ์ โพธิรัตนังกูร<br />

ปีที่สร้าง : ก่อน พ.ศ. ๒๔๔๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

Architect/ Designer : Phraya Bhakdinoraseth<br />

(Lert Sreshthaputra)<br />

Owner/ Overseer :<br />

Naphaporn Bodiratnangkura<br />

Year of construction : 1905 A.D.<br />

Year Awarded : 1982 A.D.<br />

บ้านไม้สักเก่าแก่อายุร่วม ๑๐๐<br />

ปีที่สร้างขึ้นมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕<br />

หลังนี้ ดูโดดเด่นอยู่กลางสวนสวยและ<br />

ร่มรื่นในพื้นที่กว้างกว่า ๑๔ ไร่ แต่เดิม<br />

นายเลิศ เศรษฐบุตร ใช้เป็นบ้านพัก<br />

ส่วนตัวแล้วในวันหยุดสุดสัปดาห์ก็เปิด<br />

ให้คนทั่วไปเข้ามาเที่ยวพักผ่อนได้ ตัว<br />

บ้านเป็นอาคารชั้นเดียวยกพื้นสูง ทำ<br />

หลังคาซ้อนชั้นคล้ายสถาปัตยกรรม<br />

พม่า เน้นการกันแดดฝนและระบาย<br />

อากาศที่ดี ปัจจุบันทายาทได้ดูแล<br />

ปรับปรุงให้คล้ายของเดิมมากที่สุด<br />

แล้วเปิดเป็นพิพิธภัณฑ์เก็บของสะสม<br />

ต่างๆ มากกว่า ๑๐,๐๐๐ ชิ้น พื้นที่จัด<br />

งานอีเว้นท์ และพื้นที่ “สวนนายเลิศ” ก็<br />

เปิดเป็นสวนสาธารณะให้เข้าได้โดยไม่<br />

คิดค่าบริการอีกด้วย<br />

Over the hundred-year-old, this<br />

teak house was initially built in the<br />

reign of King Chulalongkorn (Rama<br />

V). It is located in a well-kept and<br />

pleasant garden on Phloen Chit<br />

Road. Formerly, it was the private<br />

residence of Mr Lert Sreshthaputra<br />

but opened to the public on weekends.<br />

The single-story house has a<br />

raised first floor and a multi-tiered<br />

roof resembling that of Burmese<br />

style architecture, allowing for<br />

excellent ventilation and effective<br />

sun-shading. At present, the heirs<br />

have renovated the building to<br />

serve as a museum that houses<br />

more than 10,000 artifacts. The<br />

space is partly operated as an<br />

event venue, while “Nai Lert Park”<br />

is open to the public with free of<br />

charge.<br />

这 是 一 个 鲜 为 人 知 的 隐 世 大 宅 - 奈 叻 庄 园 , 是 曼<br />

谷 第 五 世 皇 时 代 所 建 。 建 筑 使 用 柚 木 , 已 超 过 百 年 。<br />

整 个 宅 院 占 地 十 四 泰 畝 , 房 子 为 单 层 建 筑 , 屋 顶 建 造<br />

类 似 于 缅 甸 式 构 造 , 注 重 防 晒 , 防 雨 及 通 风 等 功 能 。<br />

房 子 坐 落 于 花 园 中 , 站 在 房 前 , 美 丽 的 风 景 映 入 眼<br />

帘 。 可 以 说 是 曼 谷 保 存 最 好 的 宅 院 之 一 。 这 所 宅 院 虽<br />

说 几 经 后 人 的 修 缮 , 但 大 部 分 仍 然 保 持 原 始 摸 样 。 主<br />

人 不 仅 在 此 设 立 了 博 物 馆 , 周 末 还 对 公 众 开 放 , 成 为<br />

免 费 公 园 或 活 动 场 所 。<br />

๔ ซอยสมคิด ถนนเพลินจิต แขวง<br />

ลุมพินี เขตปทุมวัน 4 Soi Somkid,<br />

Phloen Chit Road, Lumpini, Pathumwan<br />

วันพฤหัสบดี - ศุกร์ วันละ ๓ รอบ<br />

เวลา ๑๑.๐๐ น., ๑๔.๐๐ น., ๑๖.๐๐ น.<br />

Thu – Fri 11 :00 AM , 02:00 PM , 04:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ชาวไทย ๓๐๐ บาท ชาว<br />

ต่างชาติ ๕๐๐ บาท Thai nationals<br />

300 baht, foreign nationals 500 baht<br />

2, 17, 25, 40, 48, 501 สถานี<br />

เพลินจิต ๔๕๐ ม. Phloen Chit Station<br />

450 m<br />

128<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

129


O32<br />

ทำเนียบเอกอัครราชทูตโปรตุเกส<br />

RESIDENCE OF THE PORTUGUESE AMBASSADOR<br />

葡 萄 牙 大 使 馆 官 邸<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

นายช่างจากประเทศโปรตุเกส<br />

ผู้ครอบครอง : สถานเอกอัครราชทูต<br />

โปรตุเกส ประจำาประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๐๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

Architect/ Designer :<br />

Portuguese Designer<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Embassy of Portugal in Thailand<br />

Year of construction : 1860 A.D.<br />

Year Awarded : 1984 A.D.<br />

India to construct the residence of<br />

the Ambassador in Colonia style.<br />

The building is under a hip roof<br />

with a Neo-Palladian gable at the<br />

entrance porch. The entrance is<br />

also decorated with blue ceramic<br />

tilework from Portugal.<br />

泰 国 的 大 城 王 朝 , 葡 萄 牙 是 首 个 西 方 国 家 与 当<br />

时 的 大 城 王 朝 进 行 通 商 贸 易 。 葡 萄 牙 在 曼 谷 四 世 皇 时<br />

期 设 立 常 驻 使 馆 , 由 葡 萄 牙 政 府 派 送 工 程 师 及 建 筑 材<br />

料 前 来 进 行 兴 建 , 同 时 还 运 来 了 一 些 印 度 家 具 作 为 使<br />

馆 陈 设 , 因 此 , 使 馆 建 筑 带 有 明 显 的 殖 民 色 彩 。 使 馆<br />

官 邸 建 筑 为 庑 殿 顶 , 门 廊 设 置 在 正 中 , 地 面 是 葡 萄 牙<br />

地 砖 , 四 周 有 瓷 器 摆 件 装 点 。<br />

220 m<br />

ศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้<br />

River City <strong>Bangkok</strong><br />

shopping centre<br />

300 m<br />

ย่านถนนเจริญกรุง<br />

Charoen Krung Road<br />

450 m<br />

ศูนย์สร้างสรรค์งาน<br />

ออกแบบ (TCDC)<br />

ไปรษณีย์กลางบางรัก<br />

TCDC <strong>Bangkok</strong> General<br />

Post Office Building<br />

(Nitasrattanakosin)<br />

โปรตุเกสเป็นฝรั่งชาติแรกที่เข้า<br />

มาติดต่อค้าขายกับไทยตั้งแต่สมัย<br />

กรุงศรีอยุธยา ต่อมาในสมัยของรัชกาล<br />

ที่ ๔ จึงมีการก่อตั้งสถานกงสุลถาวร<br />

ขึ้นในประเทศไทย รัฐบาลโปรตุเกส<br />

จึงส่งคณะนายช่างพร้อมวัสดุก่อสร้าง<br />

ต่างๆ รวมถึงเฟอร์นิเจอร์บางส่วน<br />

มาจากประเทศอินเดีย แล้วเริ่มสร้าง<br />

อาคารและบ้านพักเอกอัครราชทูตขึ้น<br />

ด้วยสถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียล<br />

ทำหลังคาทรงปั้นหยา มีมุขทางเข้า<br />

หลังคาจั่วอยู่กึ่งกลางด้านหน้าที่แสดง<br />

ถึงรูปแบบนีโอปัลลาเดียน ประดับทาง<br />

เข้าด้วยกระเบื้องเซรามิกลายคราม<br />

จากโปรตุเกส<br />

Portugal was the first western<br />

nation to trade with Thailand since<br />

the Ayutthaya Kingdom. Later,<br />

in the reign of King Rama IV, a<br />

consulate office was established.<br />

The Portuguese government then<br />

sent architects, artisans, as well<br />

as materials and furniture from<br />

๒๖ ซอยกัปตันบุช ถนนเจริญกรุง<br />

๓๐ แขวงบางรัก เขตบางรัก 26 Soi<br />

Captain Bush, Charoen Krung 30<br />

Road, Bang Rak, Bang Rak<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอก Exterior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม<br />

Free entry 93 ท่าสี่พระยา<br />

๑๕๐ ม. Si Pha Ya Pier 150 m<br />

130<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

131


O33<br />

โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล<br />

(โรงแรม โอเรียนเต็ล)<br />

MANDARIN ORIENTAL HOTEL<br />

文 华 东 方 酒 店 ( 东 方 饭 店 )<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

100 m<br />

สํานักงานบริษัท อีสต์เอเชีย<br />

ติก (ประเทศไทย) จํากัด<br />

The East Asiatic<br />

Company (Thailand)<br />

Building<br />

250 m<br />

ย่านถนนเจริญกรุง<br />

Charoen Krung Road<br />

400 m<br />

อาสนวิหารอัสสัมชัญ<br />

Assumption Cathedral<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

นายสเตฟาโน คาร์ดู<br />

ผู้ครอบครอง : บริษัท โรงแรมโอเรียนเต็ล<br />

(ประเทศไทย) จำากัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๒๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Stefano Cardu<br />

Owner/ Overseer :<br />

Mandarin Oriental Hotel Group<br />

Year of construction : 1885 A.D.<br />

Year Awarded : 2002 A.D.<br />

สิ่งที่เราจะนึกถึงโรงแรมแมนดาริน<br />

โอเรียนเต็ล เป็นอันดับแรกๆ ก็คือ<br />

ชื่อเสียงเรื่องความหรูหรา เก่าแก่ วิว<br />

แม่น้ำเจ้าพระยาที่สวยงาม และความ<br />

น่าภาคภูมิใจที่ได้เป็นหนึ่งในโรงแรม<br />

ที่ดีที่สุดระดับโลก แต่ในพื้นที่โรงแรม<br />

นั้นยังมีอาคารประวัติศาสตร์อย่าง<br />

“ออเธอร์ส วิง” ที่เป็นสถาปัตยกรรม<br />

นีโอคลาสสิค เน้นมุขกลางด้วยแผง<br />

ประดับยื่นสูงปิดหลังคาซุ้มหน้าต่าง<br />

โค้ง ประดับไม้ฉลุที่ช่องแสง ใช้<br />

เฟอร์นิเจอร์แบบตะวันออก ทำให้มี<br />

บรรยากาศเหมือนบ้านคหบดียุคเก่า<br />

ที่อบอุ่นสง่างาม<br />

First things that come to mind<br />

about the Mandarin Oriental Hotel<br />

are a luxurious and long-established<br />

hotel, beautiful views of<br />

Chao Phraya River, and the pride<br />

of being one of the world’s best<br />

hotels. Nevertheless, the legendary<br />

‘Author’s Wing’ is also a must. This<br />

Neo-classical building with ornate<br />

decorative panel in the center,<br />

together with its arched windows,<br />

carved wooden panels and oriental<br />

furniture remind visitors of an<br />

elegant mansion house in the old<br />

days.<br />

一 谈 及 曼 谷 的 文 华 东 方 酒 店 , 人 们 便 联 想 到 它<br />

不 仅 是 一 家 知 名 豪 华 酒 店 , 以 全 球 最 高 档 最 豪 华 酒<br />

店 之 一 而 引 以 为 傲 , 而 且 紧 靠 湄 南 河 岸 , 风 景 宜 人 。<br />

其 实 , 酒 店 区 域 内 还 坐 落 着 一 个 新 古 典 式 的 “ 厢 房 ”<br />

英 文 称 之 为 “Authors Wing”。“ 厢 房 ” 有 高 大 的 透<br />

明 屋 顶 , 镶 嵌 花 纹 的 拱 形 窗 , 东 方 式 家 具 陈 设 , 好 似<br />

步 入 了 一 家 富 人 公 馆 , 温 馨 而 典 雅 。<br />

๔๘ ซอยเจริญกรุง ๔๐ (บูรพา) ถนน<br />

เจริญกรุง แขวงบางรัก เขตบางรัก 48<br />

Soi Charoen Krung 40, Charoen<br />

Krung Road, Bang Rak, Bang Rak<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

1, 35, 75 ท่าโอเรียนเต็ล ๑๕๐ ม.<br />

Oriental Pier 150 m<br />

132<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

133


O34 ทำเนียบเอกอัครราชทูตฝรั่งเศส<br />

RESIDENCE OF THE FRENCH AMBASSADOR<br />

法 国 大 使 官 邸<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : สถานเอกอัครราชทูตฝรั่งเศส<br />

ปีที่สร้าง : ช่วงรัชกาลที่ ๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Embassy of France<br />

Year of construction :<br />

Reign of King Rama IV<br />

Year Awarded : 1984 A.D.<br />

อาคารโครงสร้างไม้สูง ๓ ชั้น<br />

หันหน้าออกแม่น้ำเจ้าพระยาหลังนี้<br />

เคยใช้เป็นที่ทำการและทำเนียบ<br />

เอกอัครราชทูตฝรั่งเศส เป็นสถาปัตย-<br />

กรรมโคโลเนียล ชายคาตกแต่งด้วย<br />

ลูกไม้และไม้แกะสลักที่ค่อนข้างเรียบ<br />

ง่าย ดูโปร่งสบายน่าอยู่ด้วยระเบียงที่<br />

มีอยู่ทุกชั้น อาคารนี้ถูกบูรณะครั้งใหญ่<br />

ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๐๒ - ๒๕๑๑ และ<br />

ตกแต่งภายในใหม่เพื่อให้มีความทัน<br />

สมัยขึ้นแล้วปรับเปลี่ยนเป็นทำเนียบ<br />

ท่านทูตเพียงอย่างเดียว<br />

building appears light and airy.<br />

Between 1959 A.D. and 1968 A.D.,<br />

the building had extensively been<br />

renovated, during which time the<br />

interior was refurbished to meet<br />

modern requirements and standards.<br />

After renovation, the building has<br />

since been served exclusively as<br />

the Ambassador’s residence.<br />

法 国 大 使 官 邸 为 一 座 三 层 木 质 结 构 的 建 筑 , 正<br />

面 朝 向 湄 南 河 , 是 一 座 殖 民 色 彩 的 建 筑 物 , 屋 檐 采 用<br />

简 洁 的 木 雕 装 饰 , 每 层 都 设 有 走 廊 , 使 整 个 建 筑 显 得<br />

明 快 。 该 座 建 筑 是 1959-1968 年 间 重 建 的 , 室 内 装 潢<br />

更 为 现 代 时 尚 , 现 已 成 为 是 法 国 驻 泰 国 大 使 的 官 邸 。<br />

๓๕ ซอยเจริญกรุง ๓๖ แขวงบางรัก<br />

เขตบางรัก 35 Soi Charoen Krung 36,<br />

Bang Rak, Bang Rak โปรดติดต่อ<br />

ล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม By appointment<br />

only ภายนอก Exterior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry 1,<br />

35, 36, 45, 75 ท่าโอเรียนเต็ล ๓๕๐ ม.<br />

Oriental Pier 350 m<br />

Facing the Chao Phraya River,<br />

this three-story Colonial building<br />

was the former office and residence<br />

of the French Ambassador. Elegant<br />

but straightforward carved wood<br />

decorate the building’s eaves, while<br />

balconies on every floor make the<br />

134<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

135


O35<br />

สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษ<br />

THE BRITISH EMBASSY<br />

英 国 大 使 馆 ( 已 被 出 售 )<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.4 km<br />

บ้านพักพระเจริญวิศวกรรม<br />

(อาศรมวิลล่า/อริยาศรม<br />

วิลล่า)<br />

Ariyasom Villa<br />

500 m<br />

เซ็นทรัล เอ็มบาสซี่<br />

Central Embassy<br />

120 m<br />

บ้านปาร์คนายเลิศ<br />

Nai Lert Park Heritage<br />

Home<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : นายวิลเลียม<br />

อัลเฟรด เร วูด และกระทรวงโยธาธิการ<br />

ประเทศอังกฤษ<br />

ผู้ครอบครอง : สถานเอกอัครราชทูตอังกฤษ<br />

ปีที่สร้าง : ก่อน พ.ศ. ๒๔๖๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

Architect/ Designer : Mr. William<br />

Alfred Rae Wood and the British<br />

Ministry of Works, UK<br />

Owner/ Overseer :<br />

The British Embassy<br />

Year of construction : 1926 A.D.<br />

Year Awarded : 1984 A.D.<br />

อาคารสถานเอกอัครราชทูต และ<br />

ทำเนียบเอกอัครราชทูตอังกฤษ มีอายุ<br />

มากกว่า ๙๐ ปีแล้ว สร้างขึ้นเมื่อทาง<br />

สถานทูตซื้อที่ดินมาจากนายเลิศ ซึ่ง<br />

เป็นเจ้าของบ้านปาร์คนายเลิศ บน<br />

ถนนวิทยุ ตัวอาคารเป็นสถาปัตยกรรม<br />

โคโลเนียล วางผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า<br />

ออกแบบโดยเน้นความโปร่งสบาย<br />

ด้วยหน้าต่างและช่องระบายอากาศ<br />

แล้วตกแต่งด้วยปูนปั้นและไม้ฉลุ ภาพ<br />

รวมดูสง่างาม มั่นคง<br />

ปัจจุบันทางสถานทูตอังกฤษ<br />

กำลังดำเนินการขายที่ดินผืนนี้ให้กับ<br />

เจ้าของรายใหม่ เราก็ได้แต่ลุ้นว่าจะ<br />

มีนโยบายอย่างไรกับที่ดินและอาคาร<br />

สถาปัตยกรรมหลังนี้ต่อไป<br />

Established over 90 years ago<br />

on a piece of land on Witthayu<br />

Road, brought from Mr Lert, the<br />

owner of Nai Lert Park Heritage<br />

Home, the British Embassy and the<br />

residence of the British ambassador<br />

is a colonial-style building with<br />

a rectangular floor plan. Through<br />

windows and air outlets, the building<br />

is designed to allow natural ventilation<br />

with ease, while plasterwork<br />

and carved wood add the elegant<br />

touch to the building.<br />

Currently, the British Embassy<br />

is in the process of selling this plot of<br />

land to a new owner. We only hope<br />

that the new owner will concern the<br />

history and beauty of this property<br />

and decide to preserve it.<br />

英 国 驻 泰 国 大 使 馆 建 馆 至 今 已 超 过 九 十 年 历<br />

史 。 当 时 奈 乐 特 (Nai Lert) 先 生 把 他 的 老 宅 地 卖 给 了<br />

英 国 作 为 建 造 使 馆 之 用 。 这 是 一 栋 长 方 形 的 殖 民 式<br />

建 筑 , 且 设 计 独 特 , 灰 雕 的 装 点 和 通 风 透 亮 镶 有 木<br />

质 花 雕 边 的 窗 户 , 显 得 稳 重 而 不 失 奢 华 。<br />

目 前 , 英 国 驻 泰 国 大 使 馆 的 地 产 已 售 出 , 使 馆 建<br />

筑 也 已 被 拆 除 , 是 件 憾 事 , 留 给 后 人 的 也 只 有 那 些 搜<br />

集 来 得 老 资 料 和 老 照 片 了 。 它 也 曾 经 暹 罗 设 计 建 筑<br />

协 会 定 为 杰 作 的 古 建 筑 。<br />

๑๔ ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน<br />

14 Witthayu Road, Lumphini, Pathum<br />

Wan โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขอ<br />

อนุญาตเข้าชม By appointment only<br />

ภายนอก Exterior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม<br />

Free entry 2, 17, 25, 40, 48, 501<br />

สถานีเพลินจิต ๓๕๐ ม. Phloen Chit<br />

Station 350 m<br />

136<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

137


๑๐ อาคาร ตามเส้นทาง<br />

รถไฟฟ้าสายสุขุมวิท<br />

10 BUILDINGS ALONG<br />

THE BTS SUKHUMVIT<br />

LINE<br />

轻 轨 (BTS) 素 坤 逸 沿 线 的 十 座 建 筑 物<br />

รถไฟฟ้าสายสีเขียว หรือ สายสุขุมวิท เป็นรถไฟฟ้าสายแรกที่เปิดให้<br />

บริการพร้อมกับสายสีลมมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ มีจำนวนทั้งหมด<br />

๒๓ สถานี โดยเริ่มต้นที่หมอชิต ไปจบที่สถานีสำโรง ซึ่งรถไฟฟ้า<br />

เส้นนี้ผ่านเส้นทางสายหลักโดยเฉพาะย่านเศรษฐกิจหลัก ซึ่งเคย<br />

เป็นพื้นที่ดินที่มีความสำคัญมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ จึงทำให้มี<br />

อาคารเก่าแก่ที่ควรอนุรักษ์มากมาย และเมื ่อมีการขยายตัวกลาย<br />

เป็นชุมชนใหญ่ใจกลางเมือง จึงทำให้มีการก่อสร้างอาคารใหม่ๆ<br />

ที่ได้รับความใส่ใจในการออกแบบตามมาอีกมากเช่นกัน<br />

The light green line or Sukhumvit line is the first line of the<br />

BTS system opened in 1999 along with the Silom line. There<br />

are 23 stations in total, starting from Mo Chit and culminating<br />

at Samrong. It travels through many main thoroughfares,<br />

especially the city’s business hubs – many of which had been<br />

prominent areas since the reign of King Chulalongkorn (Rama<br />

V). For this reason, there are many historic buildings worth<br />

conserving as well as several well-designed contemporary<br />

buildings.<br />

素 坤 逸 路 沿 线 轻 轨 是 曼 谷 建 造 的 第 一 条 轻 轨 线 , 在 轻 轨 线 路 图 中 用 浅 绿 标 注 , 该 线 路 于 1999<br />

年 与 是 隆 轻 轨 线 (Silom Line) 同 时 启 动 。 素 坤 逸 沿 线 轻 轨 共 有 23 个 站 , 从 最 北 站 的 蒙 奇<br />

站 (Mo Chit) 到 最 东 段 的 三 廊 (Sam Rong) 终 点 站 , 途 经 主 要 的 繁 华 商 业 区 , 早 在 第 五 世<br />

皇 在 位 期 间 , 这 些 路 段 就 已 经 成 为 重 要 的 商 业 区 , 所 以 不 少 古 老 建 筑 被 保 存 了 下 来 , 时 至<br />

今 日 这 些 地 区 已 被 扩 展 为 曼 谷 市 中 心 的 繁 华 区 段 , 各 类 型 的 现 代 化 高 楼 大 厦 也 层 出 不 穷 。<br />

138<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

139


Ram<br />

d<br />

i Ayuthaya Rd.<br />

Soi Sutcharit Nuea<br />

Soi Sutcharit 1<br />

Soi Sutcharit 2<br />

Sangkhothai Rd.<br />

Soi Ratchawithi 30<br />

Sukhantharam Rd.<br />

Soi Sukhothai 5<br />

Ratchawithi Rd. Ratchawithi Rd.<br />

Soi Ratchawithi 20<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Kamphange Phet 5 Rd.<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Rama VI Rd.<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

36<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Phaya Thai<br />

Phahon Yothin Rd<br />

Ratchawithi Rd.<br />

Soi Ratchawithi 4<br />

37<br />

Soi Kanchana Khom<br />

Ratchawithi Rd.<br />

Don Muang Toll Way Rd<br />

Wipha Wadi Ra<br />

Din Daeng Rd<br />

Soi Lan Luang 14<br />

n Luang 2<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

Rama VI Rd. Rama VI Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Ratchathewi<br />

Phayathai Rd<br />

38<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

Chaturathit Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Saen Saep Canal<br />

Rama VI Rd.<br />

Banthad Thong Rd.<br />

Saen Saep Canal<br />

39<br />

Phayathai Rd<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Saen S<br />

Charu Mueang<br />

Banthat Thong Rd Banthat Thong Rd<br />

Rama I Rd.<br />

National<br />

Stadium<br />

Phayathai Rd<br />

40<br />

Henri Dunant Rd<br />

41<br />

Rama I Rd<br />

Siam Chit Lom<br />

Rachadamri<br />

Ratchadamri Rd<br />

Ratchadamri Rd<br />

Phloen Chit Rd<br />

42<br />

43<br />

Witthayu Rd<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

Rama IV Rd. Rama IV Rd.<br />

wang Rd<br />

Soi Sarasin<br />

Si Phraya Rd<br />

Sap Rd


i Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Ram Inthra - At Naron<br />

Chaturathit Rd<br />

Pradist<br />

Pracha<br />

Wipha Wadi Rangsit Rd<br />

N<br />

Pracha Uthit Rd<br />

n Saep Canal<br />

Toll Way Rd<br />

๑๐ อาคาร ตามเส้นทางรถไฟฟ้าสายสุขุมวิท<br />

10 BUILDINGS ALONG THE BTS SUKHUMVIT LINE<br />

轻 轨 (BTS) 素 坤 逸 沿 线 的 十 座 建 筑 物<br />

Thiam Ruammitr Rd<br />

Din Daeng Rd<br />

36 พระตำหนักเมขลารูจี<br />

41 พุทธาวาส วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร<br />

Phra Tamnak Mekhala Ruchi<br />

天 使 之 珠 宫 殿<br />

บ้านศรีบูรพา<br />

37 42<br />

Sri Burapha House<br />

斯 理 · 布 拉 帕 先 生 故 居<br />

Wat Pathum Wanaram<br />

佛 龛 : 帕 吞 宛 那 兰 寺 寺<br />

Watthana Tham<br />

Thiam Ruammitr Rd<br />

สปา ๑๙๓๐ (บ้านตุ๊กตา)<br />

Spa 1930<br />

1930 温 泉 浴 ( 屋 )<br />

Benchasiri Park<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Phetchaburi Rd<br />

วังสวนผักกาด<br />

38 43<br />

Suanpakkad Palace<br />

苏 安 · 帕 凯 德 宫<br />

โรงแรมหัวช้าง เฮอริเทจ<br />

39 44<br />

Hua Chang Heritage Hotel<br />

华 昌 文 化 遗 产 酒 店 ( 华 昌 传 统 酒 店 )<br />

โรงภาพยนตร์สกาล่า<br />

Asok-Din Daeng Rd<br />

Ratchadaphisek<br />

Rama IX Rd<br />

40<br />

Scala Cinema<br />

45<br />

独 立 影 院<br />

Chaturathit Rd<br />

โรงแรม อินดิโก้ กรุงเทพฯ<br />

Hotel Indigo <strong>Bangkok</strong><br />

曼 谷 英 迪 格 酒 店<br />

สยามสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

The Siam Society Under Royal<br />

Patronage<br />

暹 罗 协 会<br />

ในป่า อาร์ต คอมเพล็กซ์<br />

Naiipa Art Complex<br />

森 林 艺 术 情 结 : 绿 意 树 屋<br />

Saen Saep Canal<br />

Kasem Rat Rd<br />

At Narong Rd<br />

Nana<br />

44<br />

Asok Montri Rd<br />

Sukhumvit<br />

Ekkamai<br />

45<br />

Phra Khanong<br />

At Narong Rd<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

Benchasiri Park


O36<br />

พระตำหนักเมขลารูจี<br />

PHRATAMNAKMEKHALARUCHI<br />

天 使 之 珠 宫 殿<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.1 km<br />

ตึกกลม มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

Round Building,<br />

Mahidol University<br />

350 m<br />

ย่านอนุสาวรีย์ชัยฯ<br />

Around Victory<br />

Monument<br />

100 m<br />

พระราชวังพญาไท<br />

Phaya Thai Palace<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ผู้ครอบครอง : ศูนย์อำานวยการแพทย์<br />

พระมงกุฎเกล้า กรมแพทย์ทหารบก<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๖๒ - ๒๔๖๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๐<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Mario Tamagno<br />

Owner/ Overseer :<br />

PhramongkutklaoMedical Center,<br />

Royal Thai Army Medical Department<br />

Year of construction : 1919 - 1920 A.D.<br />

Year Awarded : 1997 A.D.<br />

เรือนไม้สักขนาดเล็กสูง ๒ ชั้น ริม<br />

คลองพญาไทตอนกลาง เป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของพระราชวังพญาไท ซึ่งรัชกาลที่ ๖<br />

ทรงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเพื่อใช้เป็น<br />

ที่ประทับชั่วคราวระหว่างที่พระตำหนัก<br />

หลังอื่นๆ กำลังก่อสร้างอยู่ ตัวพระ<br />

ตำหนักเป็นเรือนไม้ ๒ ชั้น เสา คาน<br />

และฐานรากเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

หลังคามุงกระเบื้องดินเผาไม่เคลือบ<br />

ผังอาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยมหลายรูปต่อกัน<br />

มีมุขรูปวงรี ทำให้หลังคามีหลายรูปทรง<br />

ทั้งทรงปั้นหยา ทรงเพิง ทรงปีกนก<br />

โค้งกลม และทรงพีระมิดรวมอยู่ใน<br />

อาคารเดียวแต่สถาปนิกก็ออกแบบให้<br />

ผสมผสานกันได้ลงตัว และยังมีการ<br />

ประดับประดาอาคารด้วยกระจกสีให้<br />

งดงามยิ่งขึ้นด้วย<br />

Phra Tamnak Mekhala Ruchi<br />

is a small two-story teak building<br />

locating beside the middle section<br />

of Phaya Thai canal and forms<br />

part of Phaya Thai Palace. King<br />

Vajiravudh (Rama VI) had it built as<br />

a temporary residence while other<br />

buildings in the complex were under<br />

construction. The structure of<br />

the building – beams, columns and<br />

foundation are reinforced concrete,<br />

the roof is clad with unglazed tiles,<br />

while the openings are decorated<br />

with stained glass. The floor plan<br />

consists of a row of squares and<br />

semi-circles, resulting in many roof<br />

forms of the gable, hip, and pyramid<br />

hip. In spite of this, the architect<br />

skillfully designed all the parts to<br />

form a harmonious whole.<br />

帕 雅 泰 运 河 中 段 的 岸 上 有 栋 两 层 柚 木 建 造 的 ,<br />

系 一 处 帕 雅 泰 时 期 的 小 型 皇 宫 宫 殿 。 由 于 当 时 的 皇<br />

宫 主 殿 正 在 兴 建 , 此 小 型 宫 殿 由 六 世 皇 下 令 修 建 作<br />

为 临 时 行 宫 。<br />

这 座 宫 殿 的 地 基 、 梁 柱 等 构 建 均 由 钢 筋 混 凝 土<br />

所 筑 , 殿 顶 由 无 釉 瓦 铺 成 , 整 个 宫 殿 是 几 个 矩 形 殿 堂<br />

连 接 而 成 的 , 宫 殿 顶 部 四 面 是 成 重 檐 攒 尖 顶 , 单 檐 庑 的<br />

殿 堂 , 门 廊 天 顶 成 椭 圆 形 , 建 筑 师 以 高 超 的 设 计 将 其<br />

圆 满 地 结 合 在 了 一 起 , 加 之 彩 色 玻 璃 的 装 饰 , 这 座 小<br />

宫 殿 更 显 其 华 丽 魅 力 。<br />

พระราชวังพญาไท ๓๑๕ ถนนราชวิถี<br />

แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี Phayathai<br />

Palace, 315 Ratchawithi Road,<br />

Thung Phaya Thai, Ratchathewi<br />

วันอังคาร, วันพฤหัสบดี เวลา ๑๓.๐๐ น.<br />

วันเสาร์, วันอาทิตย์ เวลา ๐๙.๓๐ น. และ<br />

๑๓.๓๐ น. Tue and Thu 01:00 PM Sat<br />

– Sun 09:30 AM and 01:30 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

8, 12, 14, 18, 59, 28, 97 สถานี<br />

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ๙๕๐ ม. Victory<br />

Monument Station 950 m<br />

142<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

143


O37<br />

บ้านศรีบูรพา<br />

SRI BURAPHA HOUSE<br />

斯 理 · 布 拉 帕 先 生 故 居<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

700 m<br />

โบสถ์บ้านเซเวียร์<br />

Xavier Hall<br />

350 m<br />

ย่านอนุสาวรีย์ชัยฯ<br />

Around Victory<br />

Monument<br />

1.2 km<br />

พระราชวังพญาไท<br />

Phaya Thai Palace<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : นางชนิด สายประดิษฐ์<br />

ปีที่สร้าง : ประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Mrs. Chanit Saipradit<br />

Year of construction : 1935 A.D.<br />

Year Awarded : 2014 A.D.<br />

บ้านของนายกุหลาบ สายประดิษฐ์<br />

เจ้าของนามปากกา “ศรีบูรพา” นักคิด<br />

นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์ในยุค<br />

แรกๆ ของเมืองไทย ผู้ซึ่งได้รับยกย่อง<br />

ให้เป็นบุคคลดีเด่นของโลกจากยูเนส<br />

โกเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ตัวบ้าน ๒ ชั้น<br />

เป็นแบบตะวันตกประยุกต์ มีหน้า<br />

จั่วหลังคาหน้าบ้านที่โค้งลาดลงมา<br />

ซึ่งเป็นรูปแบบสถาปัตยกรรมที ่นิยม<br />

สร้างกันในยุคนั้น ปัจจุบันเปิดเป็น<br />

พิพิธภัณฑ์ขนาดเล็กจำลองบรรยากาศ<br />

ห้องทำงานของศรีบูรพา และเป็นที่เก็บ<br />

รวบรวมหนังสือและงานเขียนต่างๆ<br />

รวมถึงอุปกรณ์เครื่องใช้ที่ทรงคุณค่า<br />

ให้ได้ชมกัน<br />

This building was the house<br />

of Kulap Saipradit, pen name “Sri<br />

Burapha”, scholar, novelist and one<br />

of the first Thai newspaper editors<br />

who was honoured by UNESCO in<br />

2005 A.D. The two-story house is<br />

an applied western style featuring<br />

a long sloping gable roof unique to<br />

the period. At present, it is converted<br />

into a small museum replicating<br />

the office of Sri Burapha displaying<br />

the author’s books, manuscripts<br />

and other artifacts.<br />

斯 理 · 布 拉 帕 “Sri Burapha” 是 泰 国 著 名 作 家<br />

和 记 者 - 库 拉 · 塞 朴 拉 迪 特 (Kulap Saipradit) 先 生 的<br />

笔 名 , 他 于 2005 年 被 联 合 国 教 科 文 组 织 誉 为 泰 国 杰<br />

出 人 物 。 “Sri Burapha” 先 生 居 所 为 两 层 建 筑 , 房<br />

顶 成 三 边 形 倾 斜 , 是 一 栋 当 时 流 行 的 欧 泰 结 合 式 房<br />

子 。 现 如 今 , 该 建 筑 已 被 用 作 于 一 处 小 型 博 物 馆 ,<br />

重 现 “Sri Burapha” 先 生 当 年 的 办 公 室 原 貌 , 陈 列<br />

有 搜 集 来 的 各 类 书 籍 、 著 作 , 以 及 极 具 历 史 价 值 的<br />

办 公 设 备 供 参 观 者 欣 赏 。<br />

๓๕ ซอยราชวิถี ๔ (ซอยพระนาง) ถนน<br />

พญาไท เขตพญาไท 35 Soi Ratchawithi<br />

4, Phayathai Road, Phayathai<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม<br />

By appointment only ภายนอก<br />

และภายใน Exterior and interior<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม<br />

Free entry 12, 17, 24, 36, 69 สถานี<br />

อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ ๗๕๐ ม. Victory<br />

Monument Station 750 m<br />

144<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

145


O38<br />

วังสวนผักกาด<br />

SUANPAKKAD PALACE<br />

苏 安 · 帕 凯 德 宫<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.4 km<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด<br />

(มหาชน) สาขาถนน<br />

เพชรบุรี<br />

Siam Commercial<br />

Bank Petchburi Road<br />

1.3 km<br />

ย่านประตูนํ้ำ<br />

Pratunam market<br />

1.4 km<br />

โรงแรมหัวช้าง เฮอริเทจ<br />

Hua Chang Heritage<br />

Hotel<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : มูลนิธิจุมภฏ– พันธุ์ทิพย์<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๙๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Chumbhot– Pantip Foundation<br />

Year of construction : 1952 A.D.<br />

Year Awarded : 1994 A.D.<br />

หมู่เรือนไทยที่สมบูรณ์สวยงาม<br />

ที่ตั้งอยู่ใจกลางกรุง ประกอบด้วย<br />

เรือนไทย ๘ หลังซึ่งส่วนใหญ่จะเป็น<br />

เรือนไทยภาคกลาง มีเพียงหลังเดียว<br />

ที่เป็นเรือนไทยภาคเหนือ อีกอาคาร<br />

ที่น่าสนใจคือ หอเขียน มีลักษณะเป็น<br />

หอไตรแบบอยุธยา ผนังภายนอกเป็น<br />

ไม้แกะสลัก ส่วนภายในเป็นลายรดน้ำ<br />

วังสวนผักกาดยังเปิดเป็นพิพิธภัณฑ์<br />

สำหรับแสดงวัตถุและศิลปะที่มีคุณค่า<br />

ทั้งทางประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต<br />

ให้ชมด้วย<br />

Suan Pakkad Palace is a group<br />

of 8 traditional Thai buildings located<br />

in central <strong>Bangkok</strong>. Most of<br />

the buildings are the architecture<br />

typical to central Thailand, except<br />

for one of them is of the northern<br />

Thailand style. Of all the buildings,<br />

the most remarkable is the<br />

Ayutthayan Scripture Hall, whose<br />

teak wall panels are adorned with<br />

lacquer works both exterior and<br />

an interior. Suan Pakkad Palace<br />

is also run as a museum housing<br />

exquisite Thai artifacts and beautiful<br />

artworks.<br />

苏 安 · 帕 凯 德 宫 位 于 曼 谷 市 中 心 , 是 八 栋 绚 丽<br />

多 姿 的 泰 国 中 部 的 传 统 式 建 筑 群 落 , 其 中 仅 一 栋 是 泰<br />

国 东 北 部 的 建 筑 样 式 。 最 受 瞩 目 当 属 建 筑 中 的 书 画 阁<br />

和 类 似 大 城 府 的 藏 经 阁 两 栋 建 筑 。 这 两 栋 建 筑 的 外 墙<br />

使 用 木 雕 装 饰 , 而 内 侧 墙 壁 则 由 一 幅 称 为 “Lai Rod<br />

Nahm” 的 大 幅 壁 画 来 装 表 。 现 如 今 苏 安 · 帕 凯 德<br />

宫 已 作 为 博 物 馆 对 公 众 开 放 , 展 出 历 代 珍 贵 的 艺 术<br />

品 供 游 客 参 观 。<br />

๓๕๒ – ๓๕๔ ถนนศรีอยุธยา<br />

แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี 352<br />

– 354 Sri Ayutthaya Road,<br />

Phayathai, Ratchathewi ทุกวัน<br />

เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๖.๐๐ น. Everyday<br />

09:00 AM – 16:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior คนไทย ๕๐ บาท ชาวต่าง<br />

ชาติ ๑๐๐ บาท Thai nationals 50 Bath;<br />

foreign nationals 100 bath 72, 74,<br />

77, 183, 204 สถานีพญาไท ๓๕๐ ม.<br />

Phaya Thai Station 350 m<br />

146<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

147


O39<br />

โรงแรมหัวช้าง เฮอริเทจ<br />

HUA CHANG HERITAGE HOTEL<br />

华 昌 文 化 遗 产 酒 店 ( 华 昌 传 统 酒 店 )<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

300 m<br />

บ้านจิมทอมป์สัน<br />

Jim Thompson House<br />

400 m<br />

สยามสแควร์<br />

Siam Square<br />

300 m<br />

หอศิลปวัฒนธรรม<br />

แห่งกรุงเทพมหานคร<br />

<strong>Bangkok</strong> Art & Culture<br />

Center (BACC)<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค จำากัด<br />

ผู้ครอบครอง : บริษัท ภูมิภวัน จำากัด<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

Architect/ Designer : Plan Architect<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/ Overseer :<br />

Phumphawan Co., Ltd.<br />

Year of construction : 2013 A.D.<br />

Year Awarded : 2014 A.D.<br />

พื้นที่โดยรอบที่สร้างอาคารล้วน<br />

เกี่ยวข้องกับรัชสมัยของรัชกาลที่ ๕<br />

และอยู่ติดกับสะพานหัวช้าง แต่การ<br />

พัฒนาและเติบโตของย่านนี้กลับ<br />

ลดคุณค่าทางประวัติศาสตร์ลง<br />

สถาปนิกจึงออกแบบให้อาคารนี้ทำ<br />

หน้าที่สื่อเรื่องราวในอดีตในรูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมร่วมสมัย เพื่อให้ผู้<br />

ใช้อาคารรวมทั้งผู้ที่ได้พบเห็นย้อน<br />

ระลึกถึงคุณค่าจากอดีต ตัวอาคาร<br />

ขนาดใหญ่ออกแบบให้มีรายละเอียด<br />

ที่ประณีต ใช้สีขาวเพื่อความเรียบหรู<br />

และไม่เด่นชัด แล้วนำเอาลักษณะบาง<br />

ส่วนของสะพานหัวช้างมาใช้ในส่วนหัว<br />

เสาและราวระเบียง<br />

Hua Chang Bridge and the area<br />

around it has a strong connection<br />

with the reign of King Chulalongkorn<br />

(Rama V). Unfortunately, the<br />

modern development of this central<br />

area has inevitably lessened its historical<br />

values. The architect of Hua<br />

Chang Heritage Hotel, therefore,<br />

aims to design a building that tells<br />

a story of the good old days but with<br />

a contemporary touch to let users<br />

appreciate its historical context.<br />

Features of Hua Chang Bridge such<br />

as ornate balustrades and capitals<br />

are the main inspirations for the<br />

design of this modern hotel. Though<br />

the building is large, it is designed<br />

to have exquisite detailing. White<br />

was chosen as the primary colour<br />

for its subtlety and elegance.<br />

酒 店 大 厦 是 一 栋 令 人 印 象 深 刻 的 新 型 建 筑 , 酒<br />

店 周 边 建 有 五 世 皇 在 位 时 期 的 多 个 建 筑 物 及 一 座 被<br />

称 为 华 昌 桥 ( 象 头 桥 )。 由 于 时 代 的 变 迁 , 这 一 区 段 的<br />

历 史 价 值 日 渐 衰 退 。<br />

华 昌 传 统 酒 店 建 筑 的 设 计 精 心 , 极 大 地 体 现 出<br />

设 计 师 的 理 念 , 既 显 示 泰 国 当 代 建 筑 风 格 , 又 与 西<br />

方 建 筑 风 格 有 机 完 美 的 相 结 合 。 洁 白 的 外 墙 简 洁 又<br />

不 失 华 丽 之 感 , 加 之 部 分 梁 柱 凉 台 围 栏 以 华 昌 桥 ( 象<br />

头 桥 ) 的 样 式 设 计 建 造 , 深 刻 地 体 现 着 对 拉 玛 五 世 时<br />

期 建 筑 的 怀 旧 情 感 。<br />

๔๐๐ ซอยเกษมสันต์ ๑ ถนน<br />

พญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน<br />

400 Soi Kasem San 1, Phayathai<br />

Road, Wangmai, PathumWan<br />

ทุกวัน Everyday ภายนอก<br />

และภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

16, 29, 34, 36, 59, 93 สถานีราชเทวี<br />

๔๕๐ ม. Ratchathewi Station 450 m<br />

148<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

149


O4O<br />

โรงภาพยนตร์สกาล่า<br />

SCALA CINEMA<br />

独 立 影 院<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

950 m<br />

วัดปทุมวนาราม<br />

ราชวรวิหาร<br />

Wat Pathum Wanaram<br />

50 m<br />

สยามสแควร์<br />

Siam Square<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

พันเอก จิระ ศิลปะกนก<br />

ผู้ครอบครอง : บริษัท สยามมหรสพ จำากัด<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๑๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

Architect/ Designer :<br />

Colonel Chira Silpakanok<br />

Owner/ Overseer :<br />

Siam Mahorasop Co., Ltd.<br />

Year of construction : 1969 A.D.<br />

Year Awarded : 2012 A.D.<br />

โรงภาพยนตร์แนว stand alone<br />

ยุคแรกๆ ของไทย จนถึงปัจจุบันก็<br />

จัดเป็นโรงภาพยนตร์ที่มีเอกลักษณ์<br />

คลาสสิคแต่ก็ไม่เก่า การมาที่นี่จะยัง<br />

ได้บรรยากาศย้อนยุคเหมือนมานั่ง<br />

ดูหนังในอดีตจริงๆ ตัวอาคารเป็น<br />

สถาปัตยกรรมโรงภาพยนตร์รูปแบบ<br />

สมัยใหม่ช่วงหลัง (Late Modernist)<br />

ผสมการประดับลวดลายแบบอาร์ตเดโค<br />

(Art Deco) ด้านหน้าอาคารยกพื้นขึ้น<br />

สูงเปิดเป็นทางเข้า โดยใช้ลักษณะของ<br />

ซุ้มโค้งที่เพดานระหว่างเสาโครงสร้าง<br />

ซุ้มโค้งชั้นบนประดับเป็นรูปคล้าย<br />

เฟืองขนาดใหญ่ ซึ่งกลายเป็นลักษณะ<br />

เฉพาะของโรงภาพยนตร์นี้<br />

Scala is where cinema-goers<br />

can experience the retro charm as<br />

it is one of the earliest standalone<br />

cinemas in Thailand. The building<br />

remains iconic until today. The<br />

architectural style is of Modernism<br />

with Art Deco decorations. Its iconic<br />

feature is the vaulted ceiling with<br />

large cog-shaped decorative motifs.<br />

独 立 影 院 是 泰 国 的 第 一 代 影 院 , 如 今 已 成 为 独<br />

具 特 色 的 影 院 。 它 的 外 形 典 雅 而 现 代 , 观 众 来 此 观<br />

看 电 影 总 有 一 种 时 空 穿 越 感 。 影 院 外 形 设 计 采 用 的 是<br />

晚 期 现 代 主 义 的 装 饰 派 艺 术 (20 世 纪 20 至 30 年 代 流 行 )<br />

装 饰 和 建 筑 风 格 。 入 口 成 无 梁 柱 的 高 拱 形 屋 顶 , 天 花<br />

板 镶 嵌 装 饰 有 一 个 大 转 盘 , 也 是 这 家 影 院 的 标 志 。<br />

๑๘๔ ซอยสยามสแควร์ ๑ ถนน<br />

พระราม ๑ แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน<br />

184 Soi Siam Square 1, Rama l Road,<br />

Pathum Wan, Pathum Wan<br />

วันจันทร์-ศุกร์ เปิด ๑๒.๐๐น. วันเสาร์-<br />

อาทิตย์ เปิด ๑๐.๐๐น. Mon - Fri<br />

12:00 PM Sat - Sun 10:00 AM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

15, 16, 25, 48, 54, 73 สถานีสยาม<br />

๔๐๐ ม. Siam Station 400 m<br />

850 m<br />

บ้านจิมทอมป์สัน<br />

Jim Thompson House<br />

150<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

151


O41<br />

พุทธาวาส วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร<br />

WATPATHUMWANARAM<br />

佛 龛 : 帕 吞 宛 那 兰 寺 寺<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.2 km<br />

สมาคมนิสิตเก่า<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยฯ<br />

Chulalongkorn University<br />

Alumni Association<br />

Under Royal Patronage<br />

300 m<br />

สยามพารากอน<br />

Siam Paragon<br />

800 m<br />

ราชกรีฑาสโมสร<br />

The Royal <strong>Bangkok</strong><br />

Sports Club<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ศาลาคู่หน้า<br />

พระอุโบสถ, ศาลาเฉลิมพระเกียรติ)<br />

บริษัท บูรณาไท (พระอุโบสถ, พระวิหาร)<br />

กรมศิลปากร (พระเจดีย์ประธาน, งาน<br />

ปรับปรุงภูมิสถาปัตยกรรม)<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๐๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

Architect/ Designer : -<br />

Chulalongkorn University (The twin<br />

pavilions in front of PhraUbosot,<br />

SalaChalermPhraKiat)<br />

Buranathai Company (PhraUbosot<br />

and PhraViharn)<br />

The Fine Arts Department, Ministry<br />

of Culture (Chedi and landscape work)<br />

Owner/ Overseer :<br />

Wat Pathum Wanaram<br />

Year of construction : 1857 A.D.<br />

Year Awarded : 2013 A.D.<br />

วัดใจกลางเมืองที่ขนาบข้างด้วย<br />

ห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ แต่ก็ขึ้น<br />

ชื่อในเรื่องความสงบและร่มรื่น กลุ่ม<br />

อาคารในกำแพงเขตพุทธาวาส วาง<br />

ผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า หันทิศตะวัน<br />

ออก อุโบสถและพระวิหารเป็นอาคาร<br />

ทรงโรงก่ออิฐถือปูน พระวิหารมีเสา<br />

ร่วมใน โครงหลังคาไม้รับกระเบื้อง<br />

รางจีน ประดับด้วยรวยระกา ช่อฟ้า<br />

หางหงส์แบบประเพณีปิดทองประดับ<br />

กระจก ทุกอาคารจะมีลายประดับปูน<br />

ปั้นต่างๆ ที่ออกแบบโดยใช้ดอกบัว<br />

เป็นองค์ประกอบ ถือเป็นความพิเศษ<br />

ของศิลปกรรม ณ พระอารามแห่งนี้<br />

Despite located in the city<br />

centre surrounded by big shopping<br />

malls, Wat Pathum Wanaram is<br />

famous for its calm, pleasant and<br />

serene atmosphere. The group of<br />

buildings within the temple walls<br />

are east-facing and rectangular in<br />

plans. Phra Ubosot and Phra Viharn<br />

are brick and mortar structure with<br />

wooden rafters and Chinese roof<br />

tiles. Chorfa and Hang hong are<br />

traditionally decorated with gold<br />

leaf and mirror tiles. Every building<br />

features lotus-shaped plasterwork<br />

– a unique feature of this temple.<br />

该 寺 虽 地 处 市 中 心 , 两 侧 是 大 型 购 物 中 心 的 繁<br />

华 地 段 , 但 寺 内 的 宁 静 和 祥 和 却 是 出 了 名 的 。 寺 内<br />

建 筑 周 围 墙 壁 建 有 四 方 形 佛 龛 , 龛 内 的 佛 像 像 面 朝<br />

东 ; 大 殿 用 红 砖 砌 成 , 殿 内 有 硕 大 的 顶 梁 柱 , 殿 顶<br />

采 用 了 中 式 瓦 铺 建 ; 大 殿 的 窗 户 是 以 绘 有 泰 国 吉 祥<br />

物 - 金 鸡 。 的 玻 璃 装 饰 。 寺 内 每 一 建 筑 物 的 装 饰 都 各<br />

有 特 色 , 但 以 莲 花 为 主 要 装 饰 元 素 花 纹 处 处 可 见 , 这<br />

也 许 就 是 设 计 师 在 这 所 寺 庙 的 装 饰 上 的 独 到 之 处 。<br />

๙๖๙ ถนนพระราม ๑ แขวงปทุมวัน<br />

เขตปทุมวัน 969 Rama I Road,<br />

Pathum Wan, Pathum Wan<br />

ทุกวัน เวลา ๐๖.๐๐ - ๒๑.๐๐น.<br />

Everyday 06:00 AM – 09:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

15, 25, 40, 48, 54, 73 สถานีสยาม<br />

๔๐๐ ม. Siam Station 400 m<br />

152<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

153


O42<br />

สปา ๑๙๓๐ (บ้านตุ๊กตา)<br />

SPA 1930<br />

1930 温 泉 浴 ( 屋 )<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1 km<br />

ทําเนียบเอกอัครราชทูต<br />

เนเธอร์แลนด์<br />

Residence of the<br />

Ambassador of the<br />

Kingdom of<br />

the Netherlands<br />

800 m<br />

ย่านราชประสงค์<br />

Ratchaprasong<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ<br />

ออกแบบปรับปรุง<br />

หม่อมราชวงศ์ชาญวุฒิ วรวรรณ<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

หม่อมจิตรา วรวรรณ ณ อยุธยา<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๗๓ - ๒๔๗๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

Architect/ Designer :<br />

HSH Prince Vodhyakara Varavarn<br />

M.R. Chanvudhi Varavarn (renovation)<br />

Owner/ Overseer :<br />

Mom Chitra Varavarn Na Ayudhya<br />

Year of construction : 1930-1931 A.D.<br />

Year Awarded : 1994 A.D.<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นอาคาร<br />

ย้อนยุคที่ได้รับอิทธิพลอาร์ทแอนด์<br />

คราฟท์ของอังกฤษ ตัวอาคารมี ๒ ชั้น<br />

และห้องใต้ดิน ๑ ชั้น โครงสร้าง<br />

half-timber คือ มีโครงหลักเป็นไม้<br />

เต็งรังและไม้สัก ผนังระแนงไม้สักตี<br />

ตามนอนฉาบปูนเรียบ ส่วนกระเบื้อง<br />

มุงหลังคาก็ออกแบบและสั่งทำเป็น<br />

พิเศษ โดยใช้ซีเมนต์ผสมทรายเทลงใน<br />

แบบไม้ รีดให้เป็นแผ่นรูปสี่เหลี่ยมผืน<br />

ผ้าหางตัดมีความหนากว่ากระเบื้อง<br />

หินชนวนเล็กน้อย ปัจจุบันอาคารนี้ได้<br />

ให้เช่าทำเป็นศูนย์สุขภาพและความงาม<br />

The architectural style is influenced<br />

by the Arts and Crafts<br />

Movement originated in Great<br />

Britain. There are two stories, with<br />

one basement. The structure is<br />

half-timber with teng and teak as<br />

the primary structure. The walls<br />

are made of horizontal teak slats<br />

and plaster. The roof tiles are made<br />

specifically for this building by casting<br />

a mixture of cement and sand<br />

in a wooden mould; the finished<br />

tiles are rectangular whose size is<br />

thicker than regular slate roof tiles.<br />

The building is currently leased as<br />

a health and beauty centre.<br />

Spa 1930 顾 名 思 议 是 一 处 自 1930 年 落 成 的 建<br />

筑 , 设 计 受 到 英 国 艺 术 流 派 的 影 响 , 古 色 古 香 , 复 古<br />

色 彩 浓 厚 。 整 体 建 筑 地 上 两 层 , 地 下 一 层 , 是 一 所 半<br />

露 木 架 房 屋 , 木 料 主 要 采 用 的 是 乔 木 和 柚 木 , 墙 壁 显<br />

露 出 柚 木 的 天 然 纹 路 ; 屋 顶 瓦 是 特 一 殊 设 计 烧 制 的 ,<br />

泥 沙 混 合 成 四 方 形 , 厚 度 类 似 砖 块 十 分 坚 固 。 目 前 ,<br />

此 建 筑 租 给 健 康 美 容 中 心 使 用 。<br />

๔๒ ซอยต้นสน ถนนเพลินจิต แขวง<br />

ลุมพินี เขตปทุมวัน 42 Soi Ton<br />

Son, Phloen Chit Road Lumpini,<br />

Phatum wan ทุกวัน เวลา<br />

๐๙.๓๐ – ๒๑.๓๐ น. Everyday<br />

09:30 AM – 09:30 PM ภายนอก<br />

และภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry 2, 13, 17,<br />

25, 40, 48, 501 สถานีชิดลม ๕๐๐ ม.<br />

Chit Lom Station 500 m<br />

800 m<br />

พระพรหมเอราวัณ<br />

Erawan Shrine<br />

154<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

155


O43<br />

โรงแรม อินดิโก้ กรุงเทพฯ<br />

HOTEL INDIGO BANGKOK<br />

曼 谷 英 迪 格 酒 店<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

200 m<br />

เดอะโลเล็กซ์ เซ็นเตอร์<br />

The Rolex Center<br />

100 m<br />

ย่านถนนวิทยุ<br />

Witthayu Road<br />

500 m<br />

กลาสเฮ้าส์แอท<br />

สยามสินธร<br />

Rattanakosin<br />

Exhibition Hall<br />

(Nitasrattanakosin)<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙ จำากัด<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

บริษัท ปิยะสมบัติ พร็อพเพอร์ตี้ จำากัด<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

Architect/ Designer :<br />

Architects 49 Co., Ltd.<br />

Owner/ Overseer :<br />

Piyasombat Property Co., Ltd.<br />

Year of construction : 2014 A.D.<br />

Year Awarded : 2016 A.D.<br />

การออกแบบที่ต้องการหนีจาก<br />

แพทเทิร์นของโรงแรมในเมืองทั่วไป<br />

เพื ่อให้สอดคล้องกับกลุ่มลูกค้าแบบ<br />

business & leisure จึงออกแบบ<br />

ห้องพักหน้ากว้างที่ช่วยให้เกิดการ<br />

เชื่อมโยงถึงพื้นที่ด้านนอกอาคารด้วย<br />

bay window หรือ ระเบียงขนาดใหญ่<br />

ภายในอาคารยังออกแบบ Corridor<br />

ให้มี mini atrium ในทุก ๔ ชั้นห้อง<br />

พัก เพื่อช่วยระบายอากาศ ประหยัด<br />

พลังงาน และสร้างมุมมองให้เห็น<br />

บรรยากาศเมืองด้านนอกในแต่ละช่วง<br />

เวลา นอกจากนี้ผนังด้านนอกอาคารก็<br />

สร้างแพทเทิร์นรหัสมอร์ส เพื่อระลึกถึง<br />

ประวัติศาสตร์ของถนนวิทยุซึ่งเป็นที่<br />

ตั้งสถานีวิทยุโทรเลขแห่งแรกของไทย<br />

Indigo Hotel is specifically designed<br />

to target business & leisure<br />

customers. Full bay windows and<br />

large balconies connect the inte-<br />

rior to the exterior. Mini atriums on<br />

every floor are carefully designed<br />

to allow the best ventilation, and<br />

therefore saving energy and to<br />

open up the inside to the city view<br />

at different times of the day. The<br />

façade pattern is reminiscent of<br />

Morse code to reflect the historical<br />

context of the location - for<br />

Witthayu Road is where the first<br />

telegram office in Thailand was first<br />

established.<br />

英 迪 格 酒 店 摆 脱 了 一 般 城 市 建 筑 规 模 , 设 计 时<br />

尚 且 独 具 匠 心 , 非 常 适 合 商 务 及 休 闲 人 士 体 验 复 古<br />

细 节 和 现 代 材 料 相 容 并 兼 , 探 索 迥 然 不 同 的 技 术 工<br />

艺 与 传 统 的 邻 间 文 化 。<br />

酒 店 房 内 的 落 地 窗 使 整 个 房 间 显 得 宽 敞 明 亮 ,<br />

并 有 外 延 式 阳 台 ; 酒 店 每 隔 四 层 都 设 有 一 个 迷 尼 休 息<br />

厅 , 它 不 但 有 助 于 整 体 建 筑 的 良 好 通 风 以 减 少 电 能 的<br />

消 耗 , 而 且 每 一 时 段 都 可 以 获 得 不 同 角 度 的 光 线 。 酒<br />

店 建 筑 外 部 设 有 摩 尔 斯 通 讯 设 备 , 以 纪 念 无 线 大 道 上<br />

的 泰 国 首 家 电 台 的 设 立 。<br />

๘๑ ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขต<br />

ปทุมวัน 81 Witthayu Road, Lumpini,<br />

Pathum Wan ทุกวัน Everyday<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

13, 17, 62, 76 สถานีเพลินจิต<br />

๔๐๐ ม. Phloen Chit Station 400 m<br />

156<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

157


O44<br />

สยามสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

THE SIAM SOCIETY UNDER ROYAL PATRONAGE<br />

暹 罗 协 会<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

550 m<br />

เทอร์มินอล ๒๑<br />

Terminal 21<br />

500 m<br />

ย่านถนนอโศก<br />

Asoke Montri Road<br />

900 m<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : นายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

สยามสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๗๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Edward Healey<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Siam Society Under Royal<br />

Patronage<br />

Year of construction : 1932 A.D.<br />

Year Awarded : 2001 A.D.<br />

กลุ่มอาคารหลักของที่นี่มี ๓ หลัง<br />

ด้วยกัน อาคารหอประชุมเป็นลักษณะ<br />

สถาปัตยกรรมแบบตะวันตกผสม<br />

ผสานไทยประยุกต์ มีสำนักงานและ<br />

ห้องสมุดที่สะสมหนังสือหายาก ส่วน<br />

อาคารอีกสองหลังที่น่าสนใจมากๆ คือ<br />

“เรือนคำเที่ยง” ซึ่งย้ายเรือนพื้นบ้าน<br />

ล้านนาแบบเรือนกาแล และ “เรือน<br />

แสงอรุณ” เรือนไทยจากสุพรรณบุรี<br />

มาจัดเป็นพิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์วิทยา<br />

เพื่อแสดงวิถีชีวิตและเครื่องมือเครื่อง<br />

ใช้พื้นบ้านหาดูยากให้บุคคลทั่วไปได้<br />

เข้าชม<br />

The principal buildings of the<br />

Siam Society are composed of 3<br />

buildings. One of them is a mix<br />

of Thai and western-influenced<br />

building which houses offices and<br />

library with rare books and special<br />

collections. Other notable buildings<br />

are Kamthieng House and<br />

Saeng Arun House. The former is<br />

a traditional house relocated from<br />

northern Thailand, while the latter is<br />

from Suphan Buri, central Thailand.<br />

These two traditional Thai houses<br />

currently serve as an ethnological<br />

museum, displaying artifacts found<br />

in rural and agricultural communities<br />

in Thailand.<br />

协 会 拥 有 三 栋 建 筑 。 大 礼 堂 是 一 栋 融 合 了 西 方<br />

建 筑 传 统 的 泰 式 建 筑 , 内 部 设 有 办 事 处 和 藏 书 室 ; 另<br />

两 栋 建 筑 是 泰 国 人 家 喻 户 晓 的 , 一 栋 是 兰 吶 迁 移 来 的<br />

房 子 - 嘎 拉 “ 午 祠 ” , 另 一 栋 是 来 自 素 攀 武 里 府 的 泰<br />

式 房 屋 , 称 “ 晨 房 ”。 目 前 , 这 两 栋 建 筑 作 为 博 物 馆<br />

用 于 展 示 民 族 乡 村 生 活 及 搜 集 来 得 老 旧 用 品 供 公 众 参<br />

观 。<br />

๑๓๑ ซอยสุขุมวิท ๒๑ ถนนอโศก<br />

มนตรี แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา<br />

131 AsokeMontri Road (Sukhumvit 21),<br />

Khlong Toei Nuae, Vadhana วัน<br />

อังคาร - เสาร์ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๗.๐๐ น.<br />

Tue - Sat 09:00 AM – 05:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

38, 98, 136, 185 สถานีอโศก<br />

๓๐๐ ม. Asoke Station 300 m<br />

สถานีสุขุมวิท ๗๐ ม. Sukhumvit<br />

Station 70 m<br />

สวนเบญจกิติ<br />

Benjakitti Park<br />

158<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

159


O45<br />

ในป่า อาร์ต คอมเพล็กซ์<br />

NAIIPA ART COMPLEX<br />

森 林 艺 术 情 结 : 绿 意 树 屋<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

350 m<br />

เดอะมัสแต็งเนโรโฮเทล<br />

The Mustang Nero<br />

Hotel<br />

200 m<br />

ย่านพระโขนง<br />

Phra Khanong<br />

1.3 km<br />

ศูนย์วิทยาศาสตร์<br />

เพื่อการศึกษา<br />

The Science Center for<br />

Education (<strong>Bangkok</strong><br />

Planetarium<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : บริษัท สตูดิโอ<br />

อาร์คิเท็คส์ จำากัด<br />

ผู้ครอบครอง : บริษัท จีริศ ๔๖ จำากัด<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

Architect/ Designer :<br />

Stu/D/O Architects<br />

Owner/ Overseer : G’RIS 46 Co., Ltd.<br />

Year of construction : 2016 A.D.<br />

Year Awarded : 2016 A.D.<br />

อาคารสถาปัตยกรรมที่มีสภาพ<br />

แวดล้อมเหมือนป่าในเมืองเล็กๆ ซึ่ง<br />

เจ้าของโครงการตั้งใจรักษาต้นไม้<br />

ใหญ่จากรุ่นคุณตาคุณยายไว้ จน<br />

กลายเป็นขุมทรัพย์ที่มีผลต่อจิตใจและ<br />

สายตา สถาปนิกออกแบบอาคารโดย<br />

ไม่รบกวนต้นไม้สักต้นเดียว ด้วยการ<br />

ทำอาคารแทรกระหว่างช่องว่างต้นไม้<br />

ที่เหลืออยู่ มีทางเดินแผ่นไม้เป็นตัว<br />

เชื่อมพื้นที่อาคาร ส่วนผนังก็ใช้แผ่น<br />

กระจกสะท้อน (Reflective Glass)<br />

ช่วยขยายมุมมองพื้นที่สีเขียวให้กว้าง<br />

ขวางมากขึ้น โครงการนี้เลยเป็นที่ชื่น<br />

ชอบของคนรักธรรมชาติและศิลปะที่<br />

ต้องการทำงานท่ามกลางธรรมชาติจริงๆ<br />

The project owner had an intention<br />

to preserve and look after old<br />

trees from the previous generation.<br />

As a result, the architect designed<br />

the whole complex as if a ‘forest’<br />

in the middle of a dense urban environment,<br />

without cutting down a<br />

single tree. Space between the trees<br />

is where the buildings are allowed<br />

to be located, and all are linked<br />

with wooden walkways. The exterior<br />

facades are clad in a reflective<br />

glass which gives an impression of<br />

ample green space. The complex<br />

becomes a hub for those who love<br />

art and nature.<br />

这 座 建 筑 规 模 隐 在 曼 谷 城 市 里 的 一 片 绿 意 , 这<br />

处 绿 意 盎 然 的 城 市 森 林 名 为 「Naiipa Art Complex」<br />

, 类 似 一 处 文 创 聚 落 。 这 处 被 绿 树 环 抱 的 绿 建 筑 空<br />

间 , 交 织 出 明 亮 简 洁 净 的 设 计 感 。 环 绕 树 干 的 木 梯<br />

可 通 往 楼 房 , 明 亮 的 反 光 玻 璃 屋 给 了 舒 适 感 。 绿 人<br />

可 在 绿 意 环 绕 的 浪 漫 树 屋 里 享 受 极 光 美 景 。<br />

๔๖ ซอยสุขุมวิท ๔๖ ถนน<br />

สุขุมวิท แขวงพระโขนง เขตคลองเตย<br />

46 Soi Sukhumvit 46, Sukhumvit<br />

Road, Prakanong, Klongtoey<br />

ทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐ - ๒๒.๐๐ น.<br />

Everyday 09:00 AM – 10:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

2, 23, 25, 38, 48 สถานีพระโขนง<br />

๑๐๐ ม. Phra Khanong Station 100 m<br />

160<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

161


๙ งานรางวัล ริมทาง<br />

รถไฟฟ้าสายสีลม<br />

A TOTAL OF NINE<br />

AWARDED BUILDINGS<br />

ALONG THE BTS<br />

SILOM LINE<br />

轻 轨 - 是 隆 路 线<br />

รถไฟฟ้าสายสีลม เริ่มต้นจากสนามกีฬาแห่งชาติ มีจ ำนวนสถานีทั้งหมด ๑๓ สถานี<br />

ปลายทางอยู่ที่สถานีบางหว้า ช่วยเชื่อมต่อการเดินทางระหว่าง ๒ ฝั่งแม่น้ ำให้สะดวก<br />

ยิ่งขึ้น โดยผ่านเส้นทางถนนสายหลักคือ ราชด ำริ สีลม สาทร ซึ่งเป็นพื้นที่ชุมชน<br />

เศรษฐกิจอย่างอาคารสำนักงาน คอนโดมิเนียม บ้านพักคหบดีในยุคก่อน และแหล่ง<br />

การศึกษาที่เก่าแก่อีกหลายที่ และคุณสามารถเปลี่ยนเส้นทางไปรถไฟฟ้าสายสุขุมวิท<br />

ได้ที่สถานีสยาม หรือจะไปล่องเรือแม่น้ ำเจ้าพระยากันได้ที่สถานีสะพานตากสิน<br />

The dark green line or Silom line starts from National Stadium station and<br />

terminates at Bang Wa Station. Thirteen station spans the two banks of<br />

Chao Phraya River, passing through principal roads, such as Ratchadamri,<br />

Silom, and Sathon Road, where financial districts, offices, high-rise condominiums,<br />

historic mansions and long-established educational institutions<br />

are located. Siam station is the interchange between Silom Line and<br />

Sukhumvit Line. In addition to this, Silom Line connects with Chao Phraya<br />

boat pier at Saphan Taksin station.<br />

是 隆 路 轻 轨 线 从 国 家 体 育 场 站 (National Stadium) 始 发 至 邦 华 站 终 点 , 沿 途 共 设 十 三 个 车 站 , 使 曼 谷 湄 南 河<br />

两 岸 相 连 接 , 交 通 更 为 便 捷 。 这 条 轻 轨 线 路 除 了 途 经 暹 罗 (Siam) 站 和 是 隆 (Silom) 路 等 重 要 商 务 、 贸 易 、 办<br />

公 区 外 , 沙 吞 (Sathorn) 路 沿 线 也 是 重 要 的 办 公 和 居 住 区 。 这 一 带 曾 是 上 层 人 士 聚 居 以 及 古 老 建 筑 众 多 的 区<br />

域 。 该 线 路 轻 轨 可 在 暹 罗 (Siam) 站 换 乘 素 坤 逸 轻 轨 线 。 也 可 以 在 他 信 桥 (Saphan Taksin) 站 下 车 换 乘 客 船 或 观<br />

光 船 游 览 昭 披 耶 河 ( 湄 南 河 )。<br />

162<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

163


Soi<br />

Lan Lua<br />

Rd.<br />

.<br />

Maha Nak Canal<br />

Chakka Phatdiphong Rd.<br />

Soi<br />

Lan Lua<br />

Soi<br />

Lan Lua<br />

Dumrongrak Rd.<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Soi 4<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Soi Lan L<br />

Soi Lan Luang 2<br />

Saen Saep Canal<br />

Saen Saep Canal<br />

Rama VI Rd.<br />

ri Rd<br />

Rama VI Rd.<br />

Banthad Thong Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

46<br />

Phayathai Rd<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Ratchaprarop Rd<br />

ng Rd<br />

am Rd<br />

Lung Rd.<br />

Yaowarat Rd<br />

Maitri Chit Rd<br />

Santiphap<br />

Rama IV Rd.<br />

Mittraphan Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Maitri Chit Rd<br />

Krung Kasem Rd<br />

Mittraphan Rd<br />

Soi Liap Khlong Phadung Kasem<br />

Khao Lam Rd<br />

Khao Lam Rd<br />

Charu Mueang<br />

Hua Lamphong<br />

Banthat Thong Rd Banthat Thong Rd<br />

Rama I Rd.<br />

National<br />

Stadium<br />

Phayathai Rd<br />

Henri Dunant Rd<br />

Siam<br />

Rachadamri<br />

Rama I Rd<br />

Ratchadamri Rd<br />

Ratchadamri Rd<br />

Phraya River<br />

Soi Wanit 2<br />

Charoen Krung Rd<br />

Mahaphuruttharam<br />

Sawang Rd<br />

Si Phraya Rd<br />

Rama IV Rd. Rama IV Rd.<br />

Sam Yan<br />

Soi Sarasin<br />

Sap Rd<br />

54<br />

Surawong Rd<br />

Patpong Rd<br />

Silom<br />

Charoen Nakhon Rd<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Rama IV Rd<br />

Chao<br />

Silom Rd<br />

Convent Rd<br />

Saladaeng Rd<br />

Saladaeng<br />

47<br />

Maha Set Rd<br />

50<br />

48<br />

Chong Nonsi<br />

Sathorn Rd<br />

King Taksin Bridge<br />

Charoen Krung Rd<br />

Saphan Taksin<br />

Sirat Expy<br />

53<br />

Surasak<br />

Charoen Rat Rd<br />

52<br />

Sathorn Rd<br />

51<br />

49<br />

Naradhiwas Rajanagarindra Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Sirat Expy<br />

Chan Rd<br />

han Rd<br />

Nan


Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Phetchaburi Rd<br />

Asok-Din Daeng Rd<br />

Chaturathit Rd<br />

N<br />

Phetchaburi Rd<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

Saen Saep Canal<br />

Saen Saep Canal<br />

Phetchaburi<br />

Ratchadamri Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Phloen Chit Rd<br />

tchadamri Rd<br />

Chit Lom<br />

Nana<br />

Asok Montri Rd<br />

Sukhumvit<br />

Soi Sarasin<br />

Witthayu Rd<br />

๙ งานรางวัล ริมทางรถไฟฟ้าสายสีลม<br />

A TOTAL OF NINE AWARDED BUILDINGS ALONG<br />

THE BTS SILOM LINE<br />

轻 轨 - 是 隆 路 线<br />

ama IV Rd<br />

Benchasiri Park<br />

46 บ้านจิม ทอมป์สัน<br />

51 เซ็นต์หลุยส์ แกรนด์เทอเรส<br />

47<br />

48<br />

49<br />

50<br />

Jim Thompson House<br />

吉 姆 · 汤 普 森 之 家<br />

โบสถ์น้อย<br />

โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์<br />

Rama IV Rd<br />

Duang Phithak Rd<br />

Chapel, Saint Joseph Convent<br />

School<br />

圣 约 瑟 夫 教 堂<br />

ทําเนียบเอกอัครราชทูตเบลเยี่ยม<br />

Residence of the Belgian Ambassador<br />

比 利 时 驻 泰 王 国 大 使 馆<br />

บ้านหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช<br />

M.R. Kukrit Heritage Home<br />

克 立 巴 莫 亲 王 故 居<br />

แปลนเฮ้าส์<br />

Plan House<br />

住 宅 规 划 所<br />

Sunthon Kosa Rd<br />

Rama III Rd<br />

52<br />

Asok Montri Rd<br />

Rama IV Rd<br />

53<br />

54<br />

คอนโดมิเนียม<br />

St. Louis Grand Terrace<br />

Condominium<br />

圣 路 易 斯 大 露 台 公 寓<br />

ภัตตาคาร บลูเอเลฟเฟ่นท์<br />

(หอการค้าไทย-จีน)<br />

Blue Elephant Restaurant<br />

(Thai-Chinese Chamber of<br />

Commerce)<br />

埃 琳 娜 蓝 色 餐 厅 ( 泰 国 中 华 总 商 会 前 广 场 )<br />

Ekkamai<br />

บ้านพระนนท์<br />

Baan Pra Nond Bed & Breakfast<br />

帕 朗 之 家<br />

ห้องสมุดเนียลสัน เฮส์<br />

Nielson Hays Library<br />

Sunthon Kosa Rd<br />

尼 尔 森 海 斯 图 书 馆<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

Kasem Rat Rd<br />

Kasem Rat Rd<br />

At Narong Rd<br />

At Narong Rd<br />

an Rd<br />

Nan


O46<br />

บ้านจิม ทอมป์สัน<br />

JIM THOMPSON HOUSE<br />

吉 姆 · 汤 普 森 之 家<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

300 m<br />

โรงแรมหัวช้างเฮอริเทจ<br />

Hua Chang Heritage<br />

Hotel<br />

600 m<br />

เอ็มบีเค เซ็นเตอร์<br />

MBK Center<br />

500 m<br />

หอศิลปวัฒนธรรม<br />

แห่งกรุงเทพมหานคร<br />

<strong>Bangkok</strong> Art & Culture<br />

Center (BACC)<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

ศาสตราจารย์บุญยง นิโครธานนท์<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

มูลนิธิ เจมส์ เอช ดับเบิลยู ทอมป์สัน<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๐๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

Architect/ Designer : Prof. Boonyong<br />

Nikrodhananda<br />

Owner/ Overseer :<br />

James H.W. Thompson Foundation<br />

Year of construction : 1959 A.D.<br />

Year Awarded : 1996 A.D.<br />

จิมทอมป์สัน ผู้บุกเบิกอุตสาห-<br />

กรรมไหมไทยสร้างบ้านหลังนี้ขึ้นเป็น<br />

บ้านพักส่วนตัว แต่หลังจากเขาได้<br />

หายสาบสูญไปที่ประเทศมาเลเซียใน<br />

ช่วงปี พ.ศ. ๒๕๑๐ มูลนิธิ เจมส์เอช<br />

ดับเบิลยู ทอมป์สัน ก็ได้ดูแลรักษา<br />

บ้านไว้อย่างดี โดยเปิดเป็นพิพิธภัณฑ์<br />

เพื่อเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของไทยผ่าน<br />

ของสะสมและโบราณวัตถุล้ำค่าของ<br />

จิมทอมป์สัน ตัวบ้านเป็นหมู่เรือนไทย<br />

ภาคกลางจำนวน ๖ หลัง ที่จัดกลุ่ม<br />

และดัดแปลงบางส่วนเพื่อตอบการใช้<br />

งานที่เหมาะสม แวดล้อมด้วยความ<br />

ร่มรื่นของสวนป่าทึบเขตร้อนบนพื้นที่<br />

กว่า ๑ ไร่ที่ใครมาเห็นก็เป็นต้องหลง<br />

รักสถานที่นี้เข้าเต็มเปา<br />

Jim Thompson, the pioneer of<br />

Thai silk industry, had this house<br />

built as a private residence. After he<br />

went missing in Malaysia in 1967 A.D.,<br />

the house has been looked after by<br />

the James H.W. Thompson Foundation.<br />

The compound covering an<br />

area of one rai consists of six traditional<br />

houses of central Thailand<br />

surrounded by beautiful gardens.<br />

The houses have been retrofitted to<br />

serve as a museum displaying Jim<br />

Thompson’s collections of antiques<br />

and artifacts.<br />

美 国 商 人 吉 姆 · 汤 普 森 先 生 是 泰 国 丝 绸 业 的 开 拓<br />

者 。 他 早 年 的 居 所 位 于 MBK 商 厦 对 面 一 条 小 巷 内 。 他<br />

自 1967 年 在 马 来 西 亚 失 踪 有 杳 无 音 讯 后 , 由 吉 姆 · 汤<br />

普 森 基 金 会 承 担 起 这 所 典 型 的 泰 式 花 园 别 墅 的 保 养 和<br />

维 护 。 这 座 别 墅 由 六 栋 古 典 泰 式 房 屋 组 成 , 濒 临 空 盛<br />

桑 (Khlong Saen Saep) 运 河 , 占 地 面 积 一 泰 亩 , 园 内<br />

种 有 很 多 热 带 雨 林 植 物 。 现 如 今 这 座 故 居 作 为 博 物 馆<br />

展 出 由 吉 姆 · 汤 普 森 先 生 所 搜 集 来 的 珍 贵 文 物 供 游 人<br />

参 观 , 每 位 来 此 参 观 的 游 客 一 定 会 喜 欢 上 这 里 。<br />

๖ ซอยเกษมสันต์ ๒ ถนน<br />

พระราม ๑ แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน<br />

6 Soi Kasemsan 2, Rama I Road,<br />

Wangmai, Pathum Wan<br />

ทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๘.๐๐ น.<br />

Everyday 09:00 AM – 06:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ผู้ใหญ่ ๑๕๐ บาท นักเรียน<br />

นักศึกษา ๑๐๐ บาท Adults 150 Bath<br />

Students 100 Bath 47, 48,<br />

73 สถานีสนามกีฬา ๓๐๐ ม.<br />

National Stadium Station 300 m<br />

166<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

167


O47<br />

โบสถ์น้อย โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์<br />

CHAPEL, SAINT JOSEPH CONVENT SCHOOL<br />

圣 约 瑟 夫 教 堂<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1 km<br />

บ้านอับดุลราฮิม<br />

Abdulrahim Place<br />

400 m<br />

ย่านถนนสีลม<br />

Silom<br />

1.5 km<br />

ห้องสมุดเนียลสันเฮส์<br />

Neilson Hays Library<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

นายอัลเฟรโด ริกาซซี่<br />

ผู้ครอบครอง : โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์<br />

ปีที่สร้าง : ประมาณ พ.ศ. ๒๔๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Alfredo Rigazzi<br />

Owner/ Overseer :<br />

Saint Joseph Convent School<br />

Year of construction : 1907 A.D.<br />

Year Awarded : 2007 A.D.<br />

ท่ามกลางกลุ่มอาคารใหม่ที่<br />

เปลี่ยนบรรยากาศเดิมๆ ของโรงเรียน<br />

แห่งนี้ไปมาก แต่โบสถ์น้อยหรือ<br />

Chapel ก็ยังคงอยู่เป็นหลักฐานทาง<br />

ประวัติศาสตร์ที่ใช้เป็นที่ประกอบ<br />

พิธี อาทิ การรับศีลกำลัง การรับศีล<br />

มหาสนิท ตัวโบสถ์เป็นอาคารก่อ<br />

อิฐถือปูน ๓ ชั้น ผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า<br />

รูปแบบสถาปัตยกรรมคลาสิค รีไววัล<br />

ซึ่งมีองค์ประกอบและระเบียบทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่เน้นความสงบและ<br />

สง่างาม รอบอาคารเป็นหน้าต่าง<br />

บานเกล็ดไม้ที่ทำให้โปร่งและระบาย<br />

อากาศได้ดี แม้จะเคยเกิดเพลิงไหม้<br />

ไปบางส่วนจนต้องซ่อมแซมใหม่ แต่<br />

การบูรณะครั้งนั้นก็ได้พยายามรักษา<br />

รูปแบบดั้งเดิมไว้อย่างดี<br />

Surrounded by modern buildings<br />

as the development of Saint<br />

Joseph Convent School progresses,<br />

its Chapel remains to serve as a<br />

place where rituals and religious<br />

ceremonies such as the Confirmation<br />

and Eucharist perform.<br />

This brick and mortar building is<br />

of the classical revival style with<br />

the rectangular floor plan. The architectural<br />

components emphasise<br />

order, simplicity and elegance, while<br />

its wooden shutters help ventilate<br />

the interior space. Although it previously<br />

suffered from fire damage,<br />

the restoration still kept the original<br />

appearance.<br />

教 会 所 属 学 校 在 此 兴 建 了 不 少 新 校 舍 , 改 变 不<br />

少 当 初 原 有 的 环 境 和 气 氛 。 不 过 , 圣 约 瑟 夫 教 堂 作 为<br />

历 史 见 证 一 直 被 保 留 着 , 依 然 作 为 举 行 各 种 宗 教 仪 式<br />

如 : 做 礼 拜 、 洗 礼 等 的 场 所 。 教 堂 主 体 建 筑 为 三 层 矩<br />

形 , 由 沙 石 泥 混 合 建 筑 材 料 砌 成 , 是 一 栋 经 典 的 复 兴<br />

式 建 筑 , 具 有 宁 静 而 优 雅 的 结 构 设 计 , 四 周 的 百 叶 木<br />

制 窗 使 教 堂 具 有 良 好 的 通 风 , 身 在 教 堂 内 也 不 会 感 到<br />

憋 闷 。 由 于 教 堂 部 分 建 筑 曾 被 火 灾 烧 毁 , 需 重 建 , 修<br />

复 后 的 主 体 建 筑 尽 力 保 留 了 原 有 风 貌 。<br />

๗ ถนนคอนแวนต์ แขวงสีลม เขตบาง<br />

รัก 7 Convent Road, Silom, Bang Rak<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

15, 76, 113, 162, 172 สถานี<br />

ศาลาแดง ๔๐๐ ม. Sala Daeng<br />

Station 400 m<br />

168<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

169


O48<br />

ทําเนียบเอกอัครราชทูตเบลเยี่ยม<br />

RESIDENCE OF THE BELGIAN AMBASSADOR<br />

比 利 时 驻 泰 王 国 大 使 馆<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

สถานเอกอัครราชทูตเบลเยี่ยม<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๖๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

目 前 , 比 利 时 驻 泰 王 国 大 使 馆 建 筑 系 一 百 多 年<br />

前 这 所 建 筑 的 主 人 唐 纳 凡 尼 克 夫 人 , 后 出 售 给 比 利<br />

时 驻 泰 王 国 领 事 机 构 办 公 使 用 , 比 利 时 官 方 于 1935<br />

年 正 式 在 此 设 立 大 使 馆 至 今 。 该 建 筑 屋 顶 采 用 了 简<br />

洁 而 素 雅 的 三 角 斜 面 的 设 计 , 受 到 了 当 时 新 艺 术 风<br />

格 的 影 响 , 极 具 代 表 性 。<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

550 m<br />

เฟรเซอร์ สูท เออร์บาน่า<br />

สาทร<br />

Fraser Suites Urbana<br />

Sathorn<br />

300 m<br />

ย่านถนนสีลม<br />

Silom<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Mario Tamagno<br />

Owner/ Overseer :<br />

Embassy of Belgium in Thailand<br />

Year of construction : 1917 A.D.<br />

Year Awarded : 1994 A.D.<br />

ก่อนจะมาเป็นทำเนียบเอกอัคร-<br />

ราชทูตเบลเยี่ยมอย่างในปัจจุบัน<br />

บ้านอายุกว่า ๑๐๐ ปีหลังนี้เคย<br />

เป็นของนางนวม โทณวณิก จนขายให้<br />

กับสถานกงสุลเบลเยี่ยม และก่อ<br />

ตั้งสถานเอกอัครราชทูตอย่างเป็น<br />

ทางการขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๗๘ รูป<br />

แบบสถาปัตยกรรมอิทธิพลอาร์ทนูโว<br />

หลังคาจั่วปาดมุม ดูเรียบง่ายแต่สง่างาม<br />

This 100-year old house was<br />

previously owned by Mrs. Nuam<br />

Donavanik before it was sold to the<br />

Belgian Consulate, and later the<br />

Embassy of Belgium in Thailand<br />

from 1935. A simple but elegant<br />

gable-roofed building, the architecture<br />

echoes of Art Nouveau.<br />

๔๔ ซอยพิพัฒน์ ถนนสาทรเหนือ<br />

แขวงสีลม เขตบางรัก 44 Soi Pipat,<br />

Sathon Nuea Road, Silom, Bang Rak<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

162 สถานีช่องนนทรี ๓๐๐ ม.<br />

Chong Nonsi Station 300 m<br />

1.3 km<br />

สีลมวิลเลจ เทรดเซ็นเตอร์<br />

Silom Village Trade<br />

Center<br />

170<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

171


O49<br />

บ้านหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช<br />

M.R. KUKRIT HERITAGE HOME<br />

克 立 巴 莫 亲 王 故 居<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

850 m<br />

ทำเนียบเอกอัครราชทูต<br />

เบลเยี่ยม<br />

Residence of the<br />

Ambassador of Belgium<br />

1.1 km<br />

ย่านถนนสีลม<br />

Silom<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : หม่อมราชวงศ์<br />

คึกฤทธิ์ ปราโมช ออกแบบวางผังเรือน<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

หม่อมหลวงรองฤทธิ์ ปราโมช<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๐๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

Architect/ Designer : M.R. Kukrit<br />

Pramoj laid out the floor plans<br />

Owner/ Overseer :<br />

M.L. Rongrit Pramoj<br />

Year of construction : 1960 A.D.<br />

Year Awarded : 2001 A.D.<br />

มีชื่อเรียกที่คุ้นหูว่า “บ้านซอย<br />

สวนพลู” ซึ่งแต่เดิมเคยเป็นบ้านพัก<br />

ของ ม.ร.ว คึกฤทธิ์ ปราโมช นายก-<br />

รัฐมนตรีคนที่ ๑๓ ของไทย และยังเป็น<br />

ทั้งนักคิด นักเขียน และศิลปินแห่งชาติ<br />

ที่มีบทบาทมากในสังคมไทยยุคก่อน<br />

ตัวบ้านในพื้นที ่กว่า ๕ ไร่ ประกอบ<br />

ด้วยกลุ่มเรือนไทยโบราณภาคกลาง<br />

จำนวน ๕ หลัง ที่วางผังในลักษณะ<br />

หมู่เรือนคหบดี ปัจจุบันเปิดให้ผู้สนใจ<br />

ได้เข้าชมเพื่อการศึกษา และใช้พื้นที่<br />

จัดอีเว้นท์งานพิธีการ หรืองานมงคล<br />

ต่างๆ ด้วย<br />

Widely known as “Soi Suan Phlu<br />

House”, it was a former residence of<br />

M.R. Kukrit Pramoj, scholar, writer,<br />

National Artist of Thailand, and the<br />

thirteenth Prime Minister of Thailand.<br />

The compound covers an area<br />

of five rai and comprisesal together<br />

five traditional dwellings of central<br />

Thailand. The houses, which are<br />

all raised above the ground, face<br />

towards the internal courtyard. The<br />

house is open to the public and can<br />

be hired to hold an event.<br />

这 所 房 屋 又 简 称 为 “Suan Plu House”, 是 克 立<br />

巴 莫 亲 王 的 别 墅 。 克 立 巴 莫 亲 王 曾 任 泰 国 史 上 第 十 三<br />

任 总 理 , 也 是 一 位 政 治 家 、 艺 术 家 和 作 家 , 对 泰 国 的<br />

早 期 社 会 作 出 了 主 多 贡 献 。 故 居 占 地 面 积 五 泰 亩 , 住<br />

所 由 五 座 柚 木 房 子 组 成 , 其 中 放 置 许 多 泰 国 艺 术 品 和<br />

不 少 西 方 藏 书 。 目 前 , 这 所 别 墅 部 分 用 于 举 办 各 种 仪<br />

式 , 同 时 也 对 公 众 开 放 参 观 。<br />

๑๙ ซอยพระพินิจ ถนนสาทรใต้ แขวง<br />

ยานนาวา เขตสาทร 19 Soi Phra Phinit,<br />

Sathon Tai Road, Yannawa, Sathon<br />

ทุกวัน เวลา๑๐.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.<br />

Everyday 10:00 AM – 04:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ผู้ใหญ่ ๕๐ บาท นักเรียน<br />

นักศึกษา ๒๐ บาท Adults 50 baht<br />

Students 20 baht 162 สถานี<br />

ช่องนนทรี ๗๕๐ ม. Chong Nonsi<br />

Station 750 m<br />

1.6 km<br />

ภัตตาคารบลูเอเลฟเฟ่นท์<br />

Blue Elephant<br />

Restaurant<br />

172<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

173


O50<br />

แปลนเฮ้าส์<br />

PLAN HOUSE<br />

住 宅 规 划 所<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

400 m<br />

เซ็นต์หลุยส์ แกรนด์<br />

เทอเรส คอนโดมิเนียม<br />

St. Louis Grand Terrace<br />

Condominium<br />

300 m<br />

ย่านถนนสีลม<br />

Silom<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง : กลุ่มบริษัทแปลน<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๒๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

Architect/ Designer :<br />

Plan Architect Co., Ltd.<br />

Owner/ Overseer : Plan Group<br />

Year of construction : 1985 A.D.<br />

Year Awarded : 1987 A.D.<br />

อาคารหลังเล็กที่ซ่อนตัวอยู่ในซอย<br />

สาทร ๑๐ แต่ก็โดดเด่นด้วยรูปทรง<br />

อาคารที่มีลูกเล่น แปลกตา และแตก<br />

ต่างจากอาคารข้างเคียง แต่ก็แสดง<br />

ให้เห็นถึงแนวคิดสร้างความสัมพันธ์<br />

และเคารพต่อสภาพแวดล้อมภายนอก<br />

อย่างเห็นได้ชัด เห็นแล้วรู้สึกถึงความ<br />

สนุกมีชีวิตชีวาด้วยองค์ประกอบของ<br />

อาคารที่มีความหลากหลาย เพราะที่นี่<br />

คือที่ตั้งของสำนักงานออกแบบชื่อดังที่<br />

สร้างสรรค์ผลงานดีๆ ให้กับเมืองไทย<br />

จนได้รับรางวัลด้านงานออกแบบมา<br />

แล้วมากมาย<br />

Located on Sathon Soi 10, this<br />

building is one of the country’s<br />

prominent design office which has<br />

won many architectural design<br />

awards. It’s lively and distinctive<br />

shape and features make it stand<br />

out from the surrounding while<br />

maintaining the architecture’s respect<br />

for the context.<br />

这 是 一 座 不 起 眼 的 小 楼 宇 , 位 于 沙 吞 路 十 巷<br />

内 , 但 建 筑 形 式 异 样 , 虽 然 于 邻 近 的 房 屋 建 筑 有 别 ,<br />

但 其 建 筑 本 身 就 充 分 不 仅 仅 反 映 出 它 的 设 计 理 念 于 众<br />

不 同 , 同 时 也 反 映 了 设 计 对 环 境 的 保 护 意 识 , 看 上 去<br />

一 派 生 机 勃 勃 。 泰 国 很 多 优 秀 建 筑 师 在 此 办 公 , 他 们<br />

的 优 秀 作 品 也 屡 屡 获 嘉 奖 。<br />

๖๔ ซอยสาทร ๑๐ (ซอยศึกษาวิทยา)<br />

ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก<br />

64 Soi Sathon 10, Sathon Nuea<br />

Road, Silom, Bang Rak โปรด<br />

ติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม<br />

By appointment only ภายนอก<br />

และภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry 17,<br />

113, 116, 149, 162, 173 สถานีช่องนนทรี<br />

๕๐๐ ม. Chong Nonsi Station 500 m<br />

800 m<br />

ภัตตาคารบลูเอเลฟเฟ่นท์<br />

Blue Elephant<br />

Restaurant<br />

174<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

175


O51<br />

เซ็นต์หลุยส์ แกรนด์เทอเรส คอนโดมิเนียม<br />

ST. LOUIS GRAND TERRACE CONDOMINIUM<br />

圣 路 易 斯 大 露 台 公 寓<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

400 m<br />

บ้านพระนนท์<br />

Baan Pra Nond<br />

900 m<br />

ย่านถนนสีลม<br />

Silom<br />

1 km<br />

ภัตตาคารบลูเอเลฟเฟ่นท์<br />

Blue Elephant<br />

Restaurant<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : บริษัท อาคิเตคส์<br />

แอนด์แอสโซซิเอทส์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง : บริษัท พริ้นซิเพิล แคปิตอล<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

Architect/ Designer : Architects &<br />

Associates Co., Ltd.<br />

Owner/ Overseer :<br />

Principal Capital Public Co., Ltd.<br />

Year of construction : 2007 A.D.<br />

Year Awarded : 2008 A.D.<br />

ด้วยราคาที่ดินย่านสาทรที่สูงเอา<br />

มากๆ จึงจำเป็นต้องออกแบบให้ใช้<br />

พื้นที่ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด แต่<br />

ก็ให้ความสำคัญกับรูปทรงหลักของ<br />

อาคารทั้ง ๒ ด้านที่เป็นเส้นโค้งของเรือ<br />

ใบ เน้นการเปิดช่องกระจกตามแนว<br />

นอนของของห้องพักแต่ละชั้น แล้ว<br />

ใช้องค์ประกอบของท่อสเตนเลสแนว<br />

นอนมาประกอบเรียงกันเป็นเสมือน<br />

แผงแนวตั้ง ซึ่งทำหน้าที่พรางตา<br />

คอมเพรสเซอร์ของเครื่องปรับอากาศ<br />

ที่ระเบียงด้านหน้าเป็นระเบียงที่มีผนัง<br />

กันตกทำด้วยคอนกรีตและแผงกันตก<br />

แนวนอนยื่นลดหลั่นตามแนวโค้งของ<br />

ระนาบรูปใบเรือ จนเป็นตึกที่ดูสะดุด<br />

ตามากให้ย่านสาทร<br />

As the land price on Sathon<br />

Road is exceptionally high, the<br />

building was designed to maximise<br />

the area per cost efficiency. The<br />

building has a distinctive shape<br />

resembling a sailing ship, with<br />

horizontal bands of glazed windows<br />

on each floor. Stainless steel forms<br />

vertical slats screening the AC<br />

compressors behind them. Balconies<br />

and the concrete balustrades<br />

echo of a curvy sail shape, making<br />

it one of the iconic buildings in Sathon.<br />

这 所 公 寓 地 处 沙 吞 路 , 由 于 此 地 段 的 地 价 昂<br />

贵 , 因 此 在 土 地 的 利 用 上 须 最 大 程 度 地 获 取 利 益 。 这<br />

就 需 要 在 设 计 上 不 仅 要 有 效 的 利 用 空 间 , 建 筑 外 观 轮<br />

廓 及 船 帆 式 虚 线 是 该 建 筑 设 计 侧 重 的 两 个 方 面 ; 这 所<br />

公 寓 的 建 造 强 调 各 房 间 及 各 楼 层 均 使 用 清 白 钢 管 垂 直<br />

于 楼 房 的 外 墙 表 面 , 功 能 在 于 有 效 地 遮 掩 了 空 调 外 挂<br />

机 以 示 美 观 。 阳 台 部 分 也 以 垂 直 线 形 式 使 整 体 建 筑 看<br />

上 去 清 新 醒 目 , 成 为 建 筑 设 计 的 又 一 经 典 之 作 。<br />

๑๕/๒๐๐ ซอยสาทร ๑๑ (ซอยเซ็นต์<br />

หลุยส์) ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา<br />

เขตสาทร 15/200 Soi Sathon 11, Sathon<br />

Tai Road, Yannawa, Sathon<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

17, 113, 116, 149, 173 สถานีสุรศักดิ์<br />

๖๕๐ ม. Surasak Station 650 m<br />

176<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

177


O52<br />

ภัตตาคาร บลูเอเลฟเฟ่นท์ (หอการค้าไทย - จีน)<br />

BLUE ELEPHANT RESTAURANT<br />

(THAI-CHINESE CHAMBER OF COMMERCE)<br />

埃 琳 娜 蓝 色 餐 厅 ( 泰 国 中 华 总 商 会 前 广 场 )<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

350 m<br />

บ้านพระนนท์<br />

Baan Pra Nond<br />

700 m<br />

ย่านถนนสีลม<br />

Silom<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : ภัตตาคารบลูเอเลฟเฟ่นท์<br />

(เช่าจากหอการค้าไทย - จีน)<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๕๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer : Blue Elephant<br />

Restaurant (Leased from the Thai-<br />

Chinese Chamber of Commerce)<br />

Year of construction : 1915 A.D.<br />

Year Awarded : 2001 A.D.<br />

ตึกเก่าสวยเด่นริมถนนสาทรใต้ที่<br />

ผ่านไปกี่ครั ้งก็อดละสายตาไม่ได้เลย<br />

ด้วยรูปแบบสถาปัตยกรรมเรอเนสซองส์<br />

รีไววัล ผสมกับอิทธิพลจีน ที่มุขหน้ามี<br />

ลักษณะคล้ายหอคอย ส่วนบนสุด เป็น<br />

แผงประดับรูปโค้งคล้ายแผงทรงระฆัง<br />

ของอาคารดัชท์ แต่เดิมอาคารหลังนี้<br />

เคยเป็นที่ทำการของบริษัท บอมเบย์<br />

เบอร์มา ประกอบธุรกิจค้าไม้จาก<br />

อังกฤษ และต่อมาหอการค้าไทย - จีน<br />

ได้ซื้ออาคารและที่ดินมาเพื่อจัดตั้ง<br />

ที ่ทำการสมาคม ปัจจุบันภัตตาคาร<br />

บลูเอเลฟเฟ่นท์ ซึ่งเป็นร้านอาหารไทย<br />

ที่มีคุณภาพและมีชื่อเสียงได้มาเช่า<br />

เพื่อดำเนินกิจการ และช่วยดูแลรักษา<br />

เป็นอย่างดี<br />

was previously the headquarters of<br />

the Bombay Burmah Trading Cooperation,<br />

a British teak dealer company.<br />

The Thai-Chinese Chamber<br />

of Commerce later purchased<br />

the land and the building for their<br />

headquarters. At present, the tenant<br />

is Blue Elephant, a renowned<br />

high-end Thai restaurant, who has<br />

maintained the building in excellent<br />

condition.<br />

餐 厅 位 于 南 沙 吞 路 , 是 一 处 老 房 子 , 这 座 文 艺<br />

复 兴 时 期 融 合 了 中 国 式 建 筑 风 格 的 建 筑 物 十 分 引 人<br />

注 目 。 建 筑 前 面 的 门 廊 形 似 塔 顶 , 装 饰 与 荷 兰 建 筑<br />

类 似 。 这 座 房 子 原 属 于 一 家 孟 买 公 司 的 , 该 公 司 以 进<br />

口 英 国 木 材 贸 易 为 主 , 后 由 中 华 泰 国 总 商 会 购 买 该 地<br />

块 , 建 造 了 协 会 大 楼 。 目 前 , 埃 琳 娜 蓝 色 餐 厅 已 成 为<br />

曼 谷 乃 至 全 泰 国 的 著 名 泰 式 料 理 餐 厅 , 就 此 建 筑 也 得<br />

到 了 有 效 保 护 。<br />

๒๓๓ ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา<br />

เขตสาทร 233 Sathon Tai Road,<br />

Yannawa, Sathon อาหาร<br />

กลางวัน ๑๑.๓๐ – ๑๔.๓๐ น.<br />

อาหารเย็น ๑๘.๓๐ – ๒๒.๓๐ น.<br />

Lunch 11:30 AM – 02:30 PM<br />

Dinner 06:30 PM – 10:30 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free<br />

entry 17, 76, 77, 113, 116, 149, 173<br />

สถานีสุรศักดิ์ ๕๐ ม. Surasak Station<br />

50 m<br />

800 m<br />

สีลมวิลเลจ<br />

เทรดเซ็นเตอร์<br />

Silom Village Trade<br />

Center<br />

This historic building on Sathon<br />

Tai Road is a mix of Renaissance<br />

Revival and Chinese architecture.<br />

The bell-shaped decorative feature<br />

at the front entrance resembles<br />

that of Dutch design. The building<br />

178<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

179


O53<br />

บ้านพระนนท์<br />

BAAN PRA NOND BED & BREAKFAST<br />

帕 朗 之 家<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

800 m<br />

วัดสวนพลู<br />

Suan Phlu Temple<br />

700 m<br />

ย่านถนนสีลม<br />

Silom<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : คุณทสมา คอทสไมส์<br />

ปีที่สร้าง : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer : Tasma Cotsmire<br />

Year of construction : Unknown<br />

Year Awarded : 2010 A.D.<br />

ตัวบ้าน ๒ ชั้นทาสีเหลืองสวยตัด<br />

กับบานประตูหน้าต่างไม้สีเขียวเข้มได้<br />

บรรยากาศบ้านเก่ายุคโบราณแบบโค<br />

โลเนียล เดิมทีเคยเป็นที่พักอาศัยของ<br />

คุณพระนนทปัญญา มกรานนท์ อดีต<br />

ผู้พิพากษาที่ต้องย้ายไปประจำหัวเมือง<br />

ต่างๆ ตามหน้าที่การงาน เมื่อผู้เป็น<br />

หลานสาวได้รับมรดกมาจึงมีไอเดีย<br />

ปรับปรุงตกแต่งบ้านขึ้นมาใหม่โดย<br />

รักษาความเป็นของเดิมให้มากที่สุด<br />

แม้จะมีการสร้างตึกใหม่เพิ่มแต่ก็ยัง<br />

ใช้โครงสร้างและรูปแบบที่กลมกลืนกับ<br />

อาคารเดิม แล้วเปิดเป็นโรงแรมขนาด<br />

เล็กไว้บริการนักท่องเที่ยวที่ต้องการ<br />

สัมผัสกับบรรยากาศย้อนอดีตของ<br />

บ้านไทยที่นิยมสร้างในยุคสมัยรัชกาล<br />

ที่ ๕-๖<br />

renovating the house to meet the<br />

modern needs while want to conserve<br />

the old features of the building<br />

as much as possible. Additional<br />

buildings were built in a style that<br />

blends with the existing structure.<br />

Full of character dating back to the<br />

reign of King Rama V and Rama VI,<br />

the old house is now open as a bed<br />

& breakfast hotel.<br />

房 子 外 墙 漆 成 黄 色 , 两 个 木 制 百 叶 窗 与 深 绿 色<br />

窗 框 体 现 着 传 统 旧 殖 民 地 时 代 的 装 饰 风 格 。 据 说 这 里<br />

曾 是 帕 朗 牧 师 的 居 所 。 由 于 他 经 常 要 穿 梭 于 不 同 城 市<br />

之 间 履 行 职 责 , 因 此 , 由 孙 女 继 承 了 此 房 产 , 经 维 护<br />

装 修 使 这 处 老 房 子 得 以 保 持 原 貌 。 尽 使 后 来 新 建 的 楼<br />

宇 , 建 筑 结 构 和 形 式 上 也 要 与 原 有 老 房 子 和 谐 一 致 。<br />

现 在 这 里 开 办 了 一 个 小 旅 馆 , 游 客 在 休 闲 之 余 享 受 着<br />

这 一 五 、 六 世 皇 年 代 的 老 建 筑 带 来 的 旧 时 代 气 息 。<br />

๑๘/๑ ถนนเจริญราษฎร์ แขวง<br />

ยานนาวา เขตสาทร 18/1 Charoen<br />

Rat Road, Yannawa, Sathon<br />

ทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐ – ๑๗.๐๐ น.<br />

Everyday 08:00 AM – 05:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free<br />

entry 17, 76, 77, 113, 116, 149, 173<br />

สถานีสุรศักดิ์ ๓๕๐ ม. Surasak Station<br />

350 m<br />

1.2 km<br />

เดอะ ไชน่า เฮ้าส์<br />

โรงแรมแมนดาริน<br />

โอเรียนเต็ล<br />

The China House<br />

Mandarin Oriental Hotel<br />

This two-story Colonial house<br />

bears a distinctive shade of yellow<br />

walls and green doors and windows.<br />

It was a former residence of Pra<br />

Nondthapanya, a notable Supreme<br />

Court justice of Thailand. The<br />

granddaughter was bequeathed<br />

the property and had an idea of<br />

180<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

181


O54<br />

ห้องสมุดเนียลสัน เฮส์<br />

NIELSON HAYS LIBRARY<br />

尼 尔 森 海 斯 图 书 馆<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

450 m<br />

บริติช คลับ<br />

The British Club<br />

50 m<br />

ย่านถนนสุรวงศ์<br />

Surawong Road<br />

400 m<br />

สีลมวิลเลจ เทรดเซ็นเตอร์<br />

Silom Village Trade<br />

Center<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :นายมาริโอ ตามานโญ<br />

และ นายโจวันนี แฟร์เรโร<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

สมาคมห้องสมุดเนียลสัน เฮส์<br />

ปีที่สร้าง : ก่อน พ.ศ. ๒๔๖๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Mario Tamagno<br />

Mr. Giovanni Ferrero<br />

Owner/ Overseer :<br />

Nielson Hays Library Association<br />

Year of construction : 1921 A.D.<br />

Year Awarded : 1982 A.D.<br />

ตัวอาคารเก่าสร้างขึ้นตามแบบ<br />

สถาปัตยกรรมนีโอคลาสสิคกับ<br />

บรรยากาศที่ร่มรื่นด้วยไม้ใหญ่และ<br />

แนวสวนโดยรอบ ทำให้ทุกคนที่ได้เข้า<br />

มาเกิดหลงรักสถานที่แห่งนี้ได้ไม่ยาก<br />

สอดคล้องกับจุดเริ่มของห้องสมุดถาวร<br />

แห่งนี้ที่ นายแพทย์ที เฮย์เวิร์ด เฮส์<br />

(Dr. T Heyward Hays) สร้างขึ้นเพื่อ<br />

เป็นอนุสรณ์แห่งความรักถึง เจนนี เนียล<br />

สัน (Jennir Nielson) ภรรยาของเขา ซึ่ง<br />

อุทิศตัวทำงานด้วยความรักหนังสือและ<br />

การอ่าน จนได้รับคัดเลือกเป็นผู้อำนวย<br />

การสมาคมห้องสมุดสตรีกรุงเทพ และ<br />

ดูแลอย่างต่อเนื่องมานานกว่า ๒๐ ปี<br />

ความงดงามของตัวอาคารเป็นผลงาน<br />

ของ นายมาริโอ ตามาญโญ (Mario<br />

Tamago) ซึ่งวางผังอาคารสมมาตร<br />

ทางเข้าเป็นโถงรูปกลมหลังคาโดม ส่วน<br />

ห้องอ่านหนังสือผังรูปตัวเอช หลังคาปั้น<br />

หยามุงกระเบื้องว่าว ผนังโดยรอบเป็น<br />

หน้าต่างบานเกล็ดในซุ้มโค้งคั่นด้วย<br />

เสาอิง อาคารนี้มีสัดส่วนที่ลงตัวและ<br />

สง่างาม เลือกใช้วัสดุอย่างฉลาดในทุก<br />

ส่วนประกอบของอาคาร และดีที่สุดที่<br />

สามารถหาซื้อได้ในยุคนั้น เช่นตะปูทอง<br />

เหลืองยึดชั้นหนังสือที่จะไม่เกิดสนิม<br />

ในภายหลัง รวมถึงการใช้ทักษะฝีมือ<br />

ช่างระดับเดียวกับที่ใช้ในการก่อสร้าง<br />

ตำหนัก วัง และสถานที่สำคัญของ<br />

ประเทศ ห้องใหญ่ที่ใช้บรรจุชั้นหนังสือ<br />

ก็สร้างด้วยระบบผนัง ๒ ชั้น ออกแบบ<br />

ให้อากาศถ่ายเท เพื่อป้องกันความชื้น<br />

และมอดแมลงเข้ามาทำหลายหนังสือ<br />

หายากจำนวนมากได้<br />

With its neoclassic architecture<br />

surrounded by shady tress and lush<br />

greenery, this library can enchantedly<br />

impress all visitors with apparent ease.<br />

This accords with the initial intention<br />

of Dr. T Heyward Hays who had this<br />

library built as a memorial for his<br />

beloved wife, Jennir Nielson, a book<br />

enthusiast who dedicatedly worked<br />

as a librarian before being appointed<br />

to the director of <strong>Bangkok</strong> Ladies’<br />

Library Association for more than<br />

20 years. Designed by a renowned<br />

architect Mario Tamago, the building<br />

is symmetrically planned with a dome<br />

circular entrance hall in the middle<br />

leading to an H-shaped reading hall.<br />

Its hipped roofs are covered with diamond-shaped<br />

tiles and surrounding<br />

walls consist of wooden louver windows<br />

in semicircular arch punctuated<br />

by pillars. Not only was this library<br />

elaborately designed for elegant<br />

structure and perfect proportions, but<br />

the architect also attentively chose<br />

the best materials in every detail. For<br />

instance, the book shelves were nailed<br />

with brass screws to prevent rust and<br />

the hall was built with double wall system<br />

to allow ventilation and fend off<br />

excessive moisture or insects which<br />

could potentially destroy invaluable<br />

books. Furthermore, the library was<br />

constructed by only skilled workers<br />

whose expertise was equivalent to<br />

builders of palaces and other prestigious<br />

buildings in Thailand.<br />

182<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


旧 建 筑 的 修 建 以 新 古 典 主 义 建 筑 风 格 为 主 , 并 且 种 植 大 量 树 木 , 园 林 氛 围 十 分 浓 厚 , 使 得 每 个 来 到 这 里 的 人 都 不 难 迷 恋 上 这 个 地 方 。 托 马 斯 · 海<br />

沃 德 · 海 斯 医 生 主 持 修 建 的 档 案 馆 就 十 分 符 合 这 样 的 建 筑 理 念 , 该 建 筑 是 为 了 纪 念 他 对 妻 子 詹 妮 尔 · 尼 尔 森 的 爱 。 之 后 就 全 身 心 的 将 工 作 投 入 到 对 书 籍<br />

和 阅 读 的 热 爱 中 , 直 到 后 来 被 选 为 曼 谷 妇 女 图 书 馆 协 会 会 长 并 持 续 任 职 长 达 二 十 多 年 。 该 建 筑 是 马 里 奥 塔 马 戈 先 生 的 设 计 成 果 , 特 别 之 处 是 建 筑 主 体<br />

的 对 称 式 结 构 设 计 , 入 口 是 圆 形 拱 顶 大 厅 , 至 于 阅 览 室 地 面 设 计 则 呈 “H” 型 , 四 坡 屋 顶 用 瓷 砖 铺 盖 , 四 周 的 墙 是 在 用 百 叶 窗 来 隔 开 。 这 座 建 筑 设 计 比 例<br />

和 建 筑 风 格 都 非 常 完 美 , 对 于 建 筑 材 料 材 料 的 选 择 也 是 极 其 明 智 的 , 并 且 材 料 都 是 在 那 个 年 代 所 能 够 购 买 到 的 最 好 的 材 料 。 比 如 支 撑 着 书 架 的 黄 铜 钉<br />

子 到 以 后 也 不 会 生 锈 , 以 及 所 采 用 的 建 筑 工 艺 水 平 也 与 建 造 宫 殿 、 宫 阙 以 及 国 家 级 重 要 场 所 的 水 平 是 相 持 平 的 。 放 置 书 橱 的 大 房 间 采 用 的 是 双 层 墙 体<br />

系 统 , 这 样 的 通 风 设 计 是 为 了 能 够 防 潮 和 防 止 蛀 虫 进 来 破 坏 大 量 珍 贵 的 书 籍 。<br />

๑๙๕ ถนนสุรวงศ์ แขวงสี่พระยา เขตบางรัก 195 Surawong Road, Si phraya, Bang Rak วันอังคาร – วันอาทิตย์<br />

เวลา ๐๙.๓๐ - ๑๗.๐๐ น. Tue - Sun 09:30 AM – 05:00 PM ภายนอกและภายใน Exterior and interior<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม By appointment only 1, 16, 36, 45, 75, 93, 187 สถานีสามย่าน<br />

๑.๓ กม. Sam Yan Station 1.3 km สถานีช่องนนทรี ๘๐๐ ม. Chong Nonsi Station 800 m<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

183


184<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


มุดดินไปดู ๑๒ งาน<br />

สถาปัตยกรรมติดดาว<br />

GOING UNDERGROUND<br />

TO SEE 12 ACCLAIMED<br />

BUILDINGS<br />

沿 地 铁 线 上 的 十 二 处 景 点<br />

รถไฟฟ้า MRT สายเฉลิมรัชมงคล เป็นรถไฟฟ้าใต้ดินสายแรกของไทย<br />

ที่แปลกใหม่มากสำหรับคนกรุงเทพฯ โดยเฉพาะช่วงแรกที่เปิดใช้ใน<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗ จากเคยเดินทางกันด้วยเรือ เปลี่ยนมาเป็นรถ ตอนนี้เรา<br />

สามารถดำดินไปโผล่ยังที่ต่างๆ ได้ง่ายดายขึ้น จากที่เคยใช้เวลาเดิน<br />

ทางไม่ต่ำกว่าชั่วโมง ก็ไปถึงที่หมายได้เพียงไม่กี่นาที แน่นอนว่าการ<br />

วางแผนเส้นทางก็ต้องพาเราไปในพื้นที่ชุมชนที่มีอาคารบ้านเรือนและ<br />

สถาปัตยกรรมที่น่าสนใจให้ไปชมอยู่มากเช่นกัน มาดูกันว่าในระยะทาง<br />

ไม่เกิน ๑ กม. จากจุดขึ้นลงสถานี จะมีที่ไหนให้ไปบ้าง?<br />

MRT Chalermratchamongkol Line is Thailand’s first underground<br />

railway. First opened in 2004, it was new to <strong>Bangkok</strong>ians who, up<br />

till that point, had been familiar with travelling by boats, cars and<br />

buses only. A journey which used to take more than an hour, now<br />

less via the MRT. This route will take readers through neighbourhoods<br />

with rich architectural heritage – all of them are within 1<br />

kilometre from the MRT stations.<br />

对 于 曼 谷 人 来 说 2004 年 启 用 的 运 行 在 拉 玛 四 (Rama IV) 路 和 拉 查 达 皮 赛 克 (Ratchadapisek) 路<br />

下 方 的 地 铁 倍 感 新 奇 。 此 前 , 沿 线 周 边 的 人 们 把 乘 船 或 公 车 作 为 交 通 工 具 , 想 要 抵 达 目 的 地 至 少<br />

需 要 一 小 时 。 而 如 今 , 沿 线 一 公 里 范 围 的 规 划 了 许 多 住 宅 小 区 , 居 民 乘 坐 地 铁 出 行 无 论 去 哪 里 只<br />

需 几 分 钟 、 十 几 分 钟 即 可 抵 达 , 十 分 便 捷 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

185


Ch<br />

amnern Nok Rd.<br />

Rd.<br />

ak Rd.<br />

Chakka Phatdiphong Rd.<br />

Lung Rd.<br />

ung Rd<br />

am Rd<br />

hitsanulok Rd.<br />

Nakhon Pathom Rd<br />

Rama V Rd.<br />

Soi<br />

Nakhon Sawan Rd.<br />

Soi<br />

Lan Luang 4<br />

Soi<br />

Lan Luang 6<br />

Yaowarat Rd<br />

Phanlang Rd.<br />

Luk Luang 9<br />

Luk Luang Rd.<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Suphamit Rd.<br />

Dumrongrak Rd.<br />

Lan Luang Rd.<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Maitri Chit Rd<br />

Santiphap<br />

Rama IV Rd.<br />

Mittraphan Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

55<br />

56<br />

57<br />

58<br />

59<br />

66<br />

Maitri Chit Rd<br />

Soi Wanit 2<br />

Soi<br />

Lan Luang 10<br />

Soi Luk Luang 7<br />

Krung Kasem Rd<br />

Mittraphan Rd<br />

Soi Phitsanulok 1<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Soi Lan Luang 14<br />

Charu Mueang<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Government Housing Bank<br />

Soi 4<br />

Headquarters<br />

政 府 住 宅 银 行 总 部<br />

Soi Liap Khlong Phadung Kasem<br />

Khao Lam Rd<br />

Khao Lam Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

อาคารเกลียวหมู<br />

Loading Center<br />

梯 形 建 筑<br />

สำนักงานใหญ่<br />

ธนาคารอาคารสงเคราะห์<br />

Soi Lan Luang 2<br />

อาคารประสานมิตร<br />

Phetchaburi Rd<br />

Rama VI Rd.<br />

Banthat Thong Rd Banthat Thong Rd<br />

Kam<br />

Rama VI Rd. Rama VI Rd.<br />

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ<br />

Prasarnmit Building Srinakharinwirot<br />

University Prasarnmit Campus<br />

泰 国 诗 纳 卡 淋 威 洛 大 学 的 校 务 楼<br />

อาคาร ๑๙๑๙ วัฒนาวิทยาลัย<br />

1919 Building, Wattana Wittaya<br />

Academy<br />

建 于 1919 年 的 瓦 塔 纳 · 威 塔 雅 学 院 大 楼<br />

สถานเอกอัครราชทูตอินเดีย<br />

Embassy of India<br />

印 度 驻 泰 王 国 大 使 馆<br />

Mahaphuruttharam<br />

65<br />

Hua Lamphong<br />

Sawang Rd<br />

Banthad Thong Rd.<br />

Si Phraya Rd<br />

60<br />

61<br />

62<br />

63<br />

64<br />

Rama I Rd.<br />

65<br />

66<br />

ตําหนักปลายเนิน<br />

Plai Nern Palace<br />

普 拉 伊 · 拿 恩 行 宫<br />

Phetchaburi Rd<br />

National<br />

Stadium<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

บ้านอับดุลราฮิม<br />

Abdulrahim House<br />

阿 卜 杜 勒 · 拉 希 姆 故 居<br />

สถานเสาวภา<br />

Phayathai Rd<br />

Phayathai Rd<br />

63<br />

Sam Yan<br />

62<br />

Henri Dunant Rd<br />

Phayathai Rd<br />

Queen Saovabha Memorial Institute<br />

泰 国 皇 家 研 究 所<br />

ศาลาพระเกี้ยว<br />

Sala Prakieo 皇 冠 亭<br />

บ้านสุริยาศัย<br />

Baan Suriyasai<br />

素 里 亚 赛 房 屋<br />

Phetchaburi Rd<br />

สถานีรถไฟหัวลําโพง (สถานีรถไฟกรุงเทพฯ)<br />

Hua Lamphong (<strong>Bangkok</strong> Railway<br />

Station) 华 喃 火 车 站 ( 曼 谷 中 央 车 站 )<br />

Siam<br />

พระอุโบสถและหมู่กุฏิสงฆ์ วัดไตรมิตรฯ<br />

Ubosot (ordination hall) and the monk’s<br />

quarter in Wat Traimit Witthayaram<br />

Worawihan 金 佛 寺 佛 殿 与 僧 舍<br />

Rachadamri<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Rama I Rd<br />

Ratchawithi Rd<br />

Ratchadamri Rd<br />

Soi Ratc<br />

Ratchadamri Rd<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Soi Sara<br />

Rama IV Rd. Rama IV Rd.<br />

Phraya River<br />

Sap Rd<br />

64<br />

Surawong Rd<br />

Silom<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Charoen Nakhon Rd<br />

Chao<br />

Silom Rd<br />

Patpong Rd<br />

Convent Rd<br />

Saladaeng Rd<br />

Saladaeng<br />

61<br />

Rama IV Rd<br />

Chong Nonsi<br />

Sathorn Rd<br />

King Taksin Bridge<br />

Charoen Krung Rd<br />

Maha Set Rd<br />

Sirat Expy<br />

Surasak<br />

Sathorn Rd


Ratchawithi Rd.<br />

a Rd.<br />

atchadamri Rd<br />

Soi Ratc<br />

Ratchadamri Rd<br />

ama IV Rd<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Pracha Rat Sai 2 Rd<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Soi Sarasin<br />

Sukhantharam Rd.<br />

thai Rd.<br />

ea<br />

Rd<br />

a V Rd.<br />

Soi Sukhothai 5<br />

lok Rd.<br />

Thahan Rd.<br />

Soi Ratchawithi 20<br />

het 5 Rd.<br />

Ratchawithi Rd.<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

Phetchaburi Rd<br />

Witthayu Rd<br />

Rama V Rd. Rama V Rd.<br />

Set Siri Rd<br />

VI Rd.<br />

Chaturathit Rd<br />

Tao Poon<br />

Chit Lom<br />

Phloen Chit Rd<br />

Lumphini<br />

Sawankhalok Rd. Sawankhalok Rd.<br />

d. Ratcha<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Rim Khlong Prapa Rd<br />

Techa Wanit Rd<br />

Rama IV Rd<br />

Pracha Chuen Rd<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

Rama VI<br />

Din Daeng Rd<br />

Rama VI<br />

Pradiphat Rd<br />

Pracha Rat Sai 2 Rd<br />

Kamphaeng Phet 5 Kamphaeng Phet 5<br />

Duang Phithak Rd<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

55<br />

Bang Sue<br />

Rama VI<br />

มุดดินไปดู ๑๒ งาน<br />

สถาปัตยกรรมติดดาว<br />

GOING UNDERGROUND<br />

TO SEE 12 ACCLAIMED<br />

BUILDINGS<br />

沿 地 铁 线 上 的 十 二 处 景 点<br />

60<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Phetchaburi Rd<br />

Khong Toei<br />

Nana<br />

Sunthon Kosa<br />

Pradiphat Rd<br />

Rama III Rd<br />

Phahon Yothin Rd<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Kampaeng Pet<br />

58<br />

Asok Montri Rd<br />

Asok Montri Rd<br />

Phahon Yothin Rd<br />

Rama IV Rd<br />

Kamphaeng Phet 2 Rd<br />

Asok-Din Daeng Rd<br />

59<br />

Sukhumvit<br />

Phahon Yothin Rd<br />

Soi Kanchana Khom<br />

Rama 9<br />

Ratchadaphisek<br />

Phetchaburi<br />

57<br />

Benchasiri Park<br />

t Rd<br />

56<br />

Rama IX Rd<br />

Phrom Phong<br />

uang Toll Way Rd Wipha Wadi Rangsit Rd<br />

Watthana Tham<br />

Chaturathit Rd<br />

Sutthisan Rd<br />

N<br />

Wipha Wa


O55<br />

อาคารเกลียวหมู<br />

LOADING CENTER<br />

梯 形 建 筑<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

2.5 km<br />

ตลาดนัดสวนจตุจักร<br />

Chatuchak Market<br />

600 m<br />

ย่านตลาดบางซื่อ<br />

Bang Sue Market<br />

3.5 km<br />

สวนจตุจักร<br />

Chatuchak Park<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๕๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Siam Cement Group Public Co., Ltd.<br />

Year of construction : 1915 A.D.<br />

Year Awarded : 2003 A.D.<br />

อาคารนี้สร้างขึ้นพร้อมๆ กับการ<br />

ก่อตั้งโรงงานปูนซีเมนต์บางซื่อ เพื่อ<br />

ใช้เป็นอาคารลำเลียงถุงปูนไปลงเรือ<br />

ลากจูง และชื่อที่ฟังดูไม่คุ้นหูนี้มา<br />

จากชื่อเฉพาะของอุปกรณ์ลำเลียงที่<br />

มีลักษณะเป็นสายพานเหล็กเกลียว<br />

เชื่อมจากตัวอาคารลงพื้นน้ำด้าน<br />

ล่างนั่นเอง โครงสร้างอาคารเป็น<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก รูปทรงสี ่เหลี่ยม<br />

คางหมูชั้นเดียวยกสูงจากพื้นน้ำ ผนัง<br />

ภายนอกอาคารด้านทิศเหนือ – ใต้ เป็น<br />

ผนังระบายอากาศได้โดยใช้กระเบื้อง<br />

บานเกล็ดกรุผนัง แต่เดิมนั้นตัวอาคาร<br />

เกลียวหมูจะมีอยู่ ๒ หลัง ซึ่งทาง<br />

เอสซีจีได้ตัดสินใจอนุรักษ์ไว้ ๑ หลัง<br />

ปรับปรุงและตกแต่งภายในเพิ่มเติม<br />

เพื่อใช้เป็นหอจดหมายเหตุของเอสซีจี<br />

ที่มีการจัดเอกสารไว้อย่างเป็นระบบ<br />

ให้ง่ายต่อการค้นคว้าหาข้อมูล และ<br />

ปัจจุบันได้ทำเป็น SCG Heritage<br />

World จัดแสดง Living Exhibition<br />

เพื่อเผยแพร่ข้อมูลประวัติศาสตร์ของ<br />

เอสซีจีอีกด้วย<br />

Built around the same time<br />

as the Bang Sue Cement Factory,<br />

this reinforced-concrete structure<br />

was constructed above the human<br />

made canal as the loading centre<br />

for transferring the cement bags to<br />

cargo barges. Its Thai name comes<br />

from the screw-shaped machinery<br />

projecting out from the building’s<br />

ceiling towards the canal below.<br />

Horizontal louvres form the north<br />

and south-facing exterior walls.<br />

Originally, there were two loading<br />

centres; Siam Cement Group Public<br />

Company Limited (SCG) conserved<br />

one of them and renovated its interior<br />

to be used as the company’s<br />

archives and ‘living exhibition’<br />

about the history of SCG.<br />

这 座 梯 形 建 筑 位 于 曼 谷 邦 素 (Bang Sue) 的 运 河<br />

上 , 原 是 一 座 水 泥 厂 , 为 便 于 将 生 产 好 的 成 袋 的 水 泥<br />

输 往 停 泊 在 河 道 上 的 运 输 船 上 所 建 造 。 由 于 内 部 有 条<br />

螺 旋 状 输 送 管 道 , 故 被 当 地 人 称 为 ‘ 螺 旋 大 厦 ’。<br />

建 筑 整 体 为 钢 筋 混 凝 土 结 构 , 外 形 成 梯 形 , 瓷 砖 墙<br />

壁 , 南 北 面 留 有 通 风 窗 口 。 水 泥 厂 原 本 建 有 两 栋 同 样<br />

的 建 筑 , 后 决 定 拆 除 一 栋 , 另 一 栋 保 存 下 来 作 为 厂 史<br />

见 证 , 并 建 立 档 案 馆 陈 列 , 便 于 后 人 查 阅 。 现 在 , 这<br />

座 楼 不 仅 成 为 了 文 化 遗 产 和 展 览 馆 , 而 且 还 成 为 了 水<br />

泥 厂 (SCG 公 司 ) 史 料 展 示 基 地 。<br />

๑ ถนนปูนซิเมนต์ไทย แขวงบางซื่อ<br />

เขตบางซื่อ 1 Siam Cement<br />

Alley, Bang Sue, Bang Sue<br />

เวลา ๐๗.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. โปรด<br />

ติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม<br />

07:30 AM – 04:30 PM (Please arrange<br />

a visit in advance)<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

5, 50, 65, 67, 70 สถานีบางซื่อ<br />

๓๐๐ ม. Bang Sue Station 300 m<br />

188<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

189


O56<br />

สำนักงานใหญ่ ธนาคารอาคารสงเคราะห์<br />

THE GOVERNMENT HOUSING BANK<br />

HEADQUARTERS<br />

政 府 住 宅 银 行 总 部<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

800 m<br />

ศูนย์วัฒนธรรม<br />

แห่งประเทศไทย<br />

Thailand Cultural<br />

Center<br />

200 m<br />

เบลล์ คอนโดมิเนียม<br />

Belle Condominium<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

บริษัท ดีไซน์ ๑๐๓ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง : ธนาคารอาคารสงเคราะห์<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๒๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

Architect/ Designer :<br />

Design 103 International Ltd.<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Government Housing Bank<br />

Year of construction : 1986 A.D.<br />

Year Awarded : 1987 A.D.<br />

อาคารสูงที่จำเป็นต้องให้ความ<br />

รู้สึกถึงการต้อนรับเชื้อเชิญ ไม่แปลก<br />

แยกหรือยิ่งใหญ่จนไปข่มความรู้สึก<br />

ของผู้มาใช้บริการด้านกู้ยืมเงินเพื่อ<br />

ที่อยู่อาศัย อันเป็นนโยบายหลักของ<br />

ธนาคาร ขณะเดียวกันก็ต้องแสดง<br />

ถึงความสง่างามอยู่ในทีด้วยความ<br />

เป็นสถาบันทางการเงิน ผู้ออกแบบ<br />

เชื่อมโยงส่วนต่างๆ จากพื้นด้านนอก<br />

อาคารจนถึงด้านในให้มีความลื่นไหล<br />

ต่อเนื่องกัน รูปลักษณ์อาคารก็ดูเรียบ<br />

ง่าย ไม่ซับซ้อน เน้นที่ประโยชน์ใช้สอย<br />

เป็นหลักและสื่อถึงความรู้สึกที่จริงใจ<br />

กับลูกค้าด้วย<br />

The Government Housing Bank<br />

Headquarters is a high-rise building,<br />

designed to appear modest<br />

and welcoming, while at the same<br />

time elegant as a financial institution.<br />

For architecture’s function and<br />

expression, the care was taken into<br />

creating the circulations that flow<br />

smoothly between the exterior and<br />

the interior so as to invite the public<br />

in, while at the same time representing<br />

the image of transparency.<br />

银 行 设 立 的 宗 旨 是 : 人 民 大 众 不 仅 欢 迎 , 还 要<br />

从 中 感 受 到 良 好 体 贴 周 到 的 贷 款 建 房 服 务 中 益 处 ,<br />

在 顾 客 中 建 立 信 誉 。 银 行 总 部 大 楼 在 设 计 细 节 上 就 体<br />

现 出 央 行 的 气 派 和 风 采 , 从 内 到 外 线 条 流 畅 、 简 洁 开<br />

放 , 而 又 注 重 实 用 性 , 充 分 体 现 对 公 众 的 真 实 诚 意 。<br />

๖๓ ถนนพระราม ๙ ซอย ๗ แขวง<br />

ห้วยขวาง เขตห้วยขวาง 63 Soi 7 Rama<br />

IX Road, Huai Khwang, Huai Khwang<br />

วันจันทร์-ศุกร์ เวลา ๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น.<br />

Mon – Fri 08:30 AM – 04:30 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

สถานีพระราม ๙ ๑ กม. Phra Ram<br />

9 Station 1 km<br />

190<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

191


O57<br />

อาคารประสานมิตร<br />

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ<br />

PRASARNMIT BUILDING SRINAKHARINWIROT<br />

UNIVERSITY PRASARNMIT CAMPUS<br />

泰 国 诗 纳 卡 淋 威 洛 大 学 的 校 务 楼<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1 km<br />

อาคาร ๑๙๑๙ วัฒนา<br />

วิทยาลัย<br />

1919 Building, Wattana<br />

Wittaya Academy<br />

400 m<br />

ย่านถนนอโศกมนตรี<br />

Asoke Montri Road<br />

1 km<br />

สยามสมาคม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

Siam Society Under<br />

Royal Patronage<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

นายเพี้ยน สมบัติเปี่ยม<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๙๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Pien Sombatpium<br />

Owner/ Overseer :<br />

Srinakharinwirot University<br />

Year of construction : 1950 A.D.<br />

Year Awarded : 2007 A.D.<br />

อาคารรูปแบบสถาปัตยกรรม<br />

โมเดิร์นที่ดูเรียบง่ายสง่างามนี้ เป็น<br />

อาคารโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

ตอนกลางเป็น ๓ ชั้น ปีกสองข้าง<br />

๒ ชั้น หลังคาเป็นทรงปั้นหยา แต่<br />

ช่วงกลางเปิดเป็นหลังคาจั่ว มีการ<br />

ตกแต่งด้วยลูกกรงซีเมนต์ หล่อเป็น<br />

ลายเรขาคณิต พื้นทางเดินภายใน<br />

ปูกระเบื้องหินขัด ส่วนพื้นห้องเป็น<br />

พื้นไม้ ปัจจุบันทางมหาวิทยาลัยให้<br />

อาคารนี้เป็นที่ตั้งของหอจดหมายเหตุ<br />

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ<br />

สถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ และเป็น<br />

สำนักงานอธิการบดี<br />

Prasarnmit Building is a modern<br />

and straightforward building<br />

built of reinforced concrete. The<br />

structure consists of three parts:<br />

the middle section is a three-story<br />

building with a hip roof, while<br />

the adjacent wings are two-story<br />

with gabled-roofs. The railings<br />

are made of cement moulded into<br />

unique geometric shapes. The<br />

corridor’s floor is laid with terrazzo<br />

tiles, while the room’s floors are<br />

made of wood. The building is now<br />

used as the university’s archives,<br />

the Institute of Culture and Arts and<br />

the Dean’s office.<br />

这 座 校 务 楼 是 一 栋 具 现 代 风 格 , 简 洁 而 优 雅 ,<br />

建 筑 整 体 两 翼 分 别 为 两 层 建 筑 , 中 间 为 三 层 , 是 栋 三<br />

部 分 组 合 式 建 筑 。 建 筑 物 的 屋 顶 部 成 人 字 形 坡 状 , 每<br />

部 分 建 筑 均 为 钢 筋 混 凝 土 结 构 。 中 间 部 分 为 凹 型 , 是<br />

整 座 建 筑 的 入 口 大 厅 , 上 方 的 两 层 的 水 泥 护 栏 采 用 了<br />

几 何 图 案 , 楼 道 地 面 采 用 水 磨 大 理 石 地 板 铺 建 , 房 间<br />

内 则 采 用 了 木 制 地 板 。 目 前 , 该 栋 建 筑 用 于 大 学 的 校<br />

长 办 公 楼 , 也 是 大 学 的 文 化 展 示 厅 。<br />

๑๑๔ ซอยสุขุมวิท ๒๓ แขวงคลองเตย<br />

เหนือ เขตวัฒนา 114 Soi Sukhumvit<br />

23, Khlong Toei Nuea, Vadhana<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

38, 98, 136, 185 สถานีเพชรบุรี<br />

๕๕๐ ม. Phetchaburi Station 550 m<br />

192<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

193


O58<br />

อาคาร ๑๙๑๙ วัฒนาวิทยาลัย<br />

1919 BUILDING, WATTANA WITTAYA ACADEMY<br />

建 于 1919 年 的 瓦 塔 纳 · 威 塔 雅 学 院 大 楼<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

800 m<br />

อาคารประสานมิตร<br />

มหาวิทยาลัย<br />

ศรีนครินทรวิโรฒ<br />

Prasarnmit Building,<br />

Srinakharinwirot<br />

University<br />

900 m<br />

เทอร์มินอล ๒๑<br />

Terminal 21 Shopping<br />

Mall<br />

750 m<br />

สยามสมาคม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

Siam Society Under<br />

Royal Patronage<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

สถาปนิกชาวอเมริกัน<br />

ผู้ครอบครอง : โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๖๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

Architect/ Designer :<br />

American architect<br />

Owner/ Overseer :<br />

Wattana Wittaya Academy<br />

Year of construction : 1920 A.D.<br />

Year Awarded : 2016 A.D.<br />

อาคารหลังนี้คือ อาคารขนาดใหญ่<br />

หลังแรกๆ ของย่านสุขุมวิท และเป็น<br />

ตึกหลังแรกของโรงเรียนหลังจากที่ได้<br />

ย้ายโรงเรียนกุลสตรีวังหลังจากท่าน้ำ<br />

วังหลังมาตั้งโรงเรียนขึ้นใหม่ในสมัยที่<br />

บริเวณนี้ยังเป็นทุ่งนากว้างขวางเรียก<br />

ว่า “ ทุ่งบางกะปิ ” และยังไม่มีถนนตัด<br />

ผ่านเลย แล้วตั้งชื่อว่า “โรงเรียนวัฒนา<br />

วิทยาลัย” หลังจากที่ครูใหญ่ของ<br />

โรงเรียนได้ขอพระราชทานถนนจาก<br />

รัชกาลที่ ๖ จนเป็นถนนสุขุมวิทอย่าง<br />

ในปัจจุบัน ซอยวัฒนา (สุขุมวิท ๑๙)<br />

จึงนับเป็นซอยแรกบนถนนสุขุมวิท ตัว<br />

อาคารก่ออิฐถือปูนชั้นเดียว ไม่มีเสา<br />

เข็ม แต่ใช้กำแพงอิฐเป็นฐานแผ่รับน้ำ<br />

หนักอาคาร พื้นและโครงสร้างพื้นเป็น<br />

ไม้ยกพื้นสูง หลังคากระเบื้อง โครง<br />

หลังคาไม้ ได้รับการบูรณะซ่อมแซม<br />

จนสวยงามอย่างที่เห็นไปเมื่อ พ.ศ.<br />

๒๕๕๗<br />

1919 is one of the first large<br />

buildings on Sukhumvit Road. It is<br />

also the school’s first building after<br />

relocating from Wang Lang and<br />

changing its name from Kullasatri<br />

Wanglang School to Wattana Wittaya<br />

Academy. At the time, the site<br />

called ‘Bang Kapi’ was paddy field<br />

where there was still no proper road.<br />

After Sukhumvit Road was cut during<br />

the reign of King Vajiravudh, Soi<br />

Wattana (Sukhumvit Soi 19) became<br />

the first alley on the Road. The 1919<br />

building was built with brick foundation.<br />

The floor and its structure<br />

are wooden raised above from the<br />

ground. The roof is clad with tiles.<br />

The building was restored to the<br />

excellent condition in 2014.<br />

这 栋 建 筑 是 学 院 建 校 后 的 第 一 座 , 也 曾 是 素<br />

坤 逸 地 区 的 首 座 建 筑 物 。 学 院 旧 址 位 于 王 郎 码 头<br />

(Wanglang Pier), 学 院 原 名 是 “ 库 拉 萨 德 理 · 王<br />

朗 (Kullasatri Wanglang) ” , 原 址 曾 是 片 叫 “ 董<br />

邦 克 · 拉 皮 (Tung Bang-krapi)” 空 旷 野 地 , 也 没 有<br />

道 路 ; 源 于 第 一 任 校 长 的 名 , 故 把 学 院 命 名 为 “ 瓦<br />

塔 纳 瓦 塔 雅 (Wattana Wittaya ) 学 院 ”。 拉 玛 六 世<br />

在 位 时 修 路 , 名 此 巷 为 “ 瓦 塔 雅 (Soi Wattana)”,<br />

就 是 目 前 的 素 坤 逸 路 十 九 巷 , 也 是 素 坤 逸 区 一 条 较<br />

大 的 街 巷 。 该 栋 建 筑 为 砖 墙 结 构 , 是 以 砖 墙 作 为 地<br />

基 , 没 有 梁 柱 , 完 全 靠 依 靠 墙 壁 承 重 ; 整 体 屋 顶 为<br />

木 结 构 , 上 铺 红 色 瓦 顶 。2014 年 重 新 整 修 后 更 显 其<br />

雍 容 华 丽 。<br />

๖๗ ถนนสุขุมวิท ๑๙ แขวงคลองเตย<br />

เหนือ เขตวัฒนา 67 Sukhumvit 19<br />

Road, Khlong Toei Nuea, Vadhana<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

2, 25, 38, 40, 48, 98, 136 สถานี<br />

อโศก ๑ กม. Asoke Station 1 km<br />

สถานีสุขุมวิท ๘๐๐ ม. Sukhumvit<br />

Station 800 m<br />

194<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

195


O59<br />

สถานเอกอัครราชทูตอินเดีย<br />

THE EMBASSY OF INDIA<br />

印 度 驻 泰 王 国 大 使 馆<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

800 m<br />

ไซมิส จอยญ่า<br />

คอนโดมิเนียม<br />

Siamese Gioia<br />

600 m<br />

ย่านถนนอโศกมนตรี<br />

Asoke Montri<br />

750 m<br />

สยามสมาคม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

Siam Society Under<br />

Royal Patronage<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ม.ล. ตรี เทวกุล<br />

ผู้ครอบครอง : รัฐบาลประเทศอินเดีย<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๒๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

Architect/ Designer : M.L. Tri Devakul<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Government of India<br />

Year of construction : 1979 A.D.<br />

Year Awarded : 1982 A.D.<br />

อาคารสูง ๒ ชั้นกับอีกหนึ่งชั้น<br />

ลอยที่วางผังแบบเรียบง่ายแต่ต่อ<br />

เนื่อง โครงสร้างและวัสดุในอาคาร<br />

ออกแบบมาให้กลมกลืนกันตลอด<br />

พื้นที่ภายในชั้นล่างเป็นหินขัด ส่วน<br />

พื้นที่ภายนอกและพื้นที่เฉลียงนอก<br />

อาคารปูด้วยกระเบื้องดินเผาสีแดง<br />

ต่อเนื่องตลอดขึ้นไปตามแนวฐานโค้ง<br />

ของผนังแสดงถึงความเป็นอันหนึ่งอัน<br />

เดียวกันของพื้นที่ บริเวณผนังชั้นลอย<br />

มีไม้ฉลุลวดลายแบบศิลปะประยุกต์<br />

ของอินเดียที่สามารถมองเห็นได้จาก<br />

บริเวณโถงและบริเวณพักคอยอีกด้วย<br />

The building consists of two<br />

stories with one mezzanine. The<br />

floor plan is simple, and each space<br />

is well-connected. Its structure and<br />

materials are all designed to form a<br />

harmonious whole. The first floor is<br />

finished in terrazzo tiles while that<br />

of the exterior and the veranda are<br />

finished in red terracotta. From the<br />

foyer and reception area, one can<br />

see the wooden panels carved in<br />

applied Indian motifs, forming the<br />

mezzanine walls.<br />

使 馆 的 建 筑 格 局 是 两 层 楼 房 , 楼 外 部 是 带 有 印<br />

度 文 化 色 彩 的 镂 空 花 纹 装 饰 墙 , 它 与 内 部 办 公 区 域<br />

形 成 夹 层 , 这 样 的 设 计 与 其 结 构 形 成 了 统 一 的 完 美 结<br />

合 , 非 常 精 美 。 建 筑 内 部 的 地 面 材 料 采 用 的 是 水 磨 大<br />

理 石 板 材 , 外 部 地 面 及 墙 面 均 采 用 的 是 红 陶 砖 铺 砌 而<br />

成 ; 由 建 筑 内 部 的 大 厅 以 及 休 息 室 向 外 均 可 观 赏 到 其<br />

外 墙 的 印 式 镂 空 花 纹 装 饰 。<br />

๔๖ ซอยประสานมิตร (สุขุมวิท<br />

๒๓) ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตย<br />

เหนือ เขตวัฒนา 46 Soi Prasarnmit<br />

(Sukhumvit 23), Sukhumvit Road<br />

Khlong Toei Nuea, Vadhana<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

38, 98, 136, 185 สถานีสุขุมวิท<br />

๖๕๐ ม. Sukhumvit Station 650 m<br />

สถานีอโศก ๙๕๐ ม. Asoke Station<br />

950 m<br />

196<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

197


O60<br />

ตําหนักปลายเนิน<br />

PLAI NERN PALACE<br />

普 拉 伊 · 拿 恩 行 宫<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.6 km<br />

บ้านอับดุลราฮิม<br />

Abdulrahim House<br />

600 m<br />

ย่านตลาดคลองเตย<br />

Khlong Toei Market<br />

750 m<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br />

เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

หม่อมราชวงศ์เอมจิตร จิตรพงศ์<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๕๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

Architect/ Designer :<br />

Prince Narisara Nuwattiwong<br />

Owner/ Overseer :<br />

M.R. Aimchitr Chitrabhongse<br />

Year of construction : 1914 A.D.<br />

Year Awarded : 1982 A.D.<br />

เป็นพระอัจฉริยภาพของสมเด็จ<br />

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยา<br />

นริศรานุวัดติวงศ์ เจ้าฟ้าผู้ทรงเป็น<br />

นายช่างใหญ่แห่งกรุงสยาม ที่ได้ซื้อ<br />

เรือนไทยแบบโบราณซึ่งในยุคนั้นไม่<br />

ค่อยเป็นที่นิยมนักเพราะความที่ดู<br />

ล้าสมัย มาจัดวางผังตามแบบของ<br />

พระองค์ คือ ไม่จัดเป็นเรือนหมู่ล้อม<br />

ชาน แต่จะจัดวางเรือนตามตะวันทุก<br />

หลังเพื่อให้ลมพัดผ่านทั่วถึง จึงได้หมู่<br />

เรือนที่แปลกตาและน่าอยู่ โดยสร้างขึ้น<br />

เพื่อเป็นที่ประทับส่วนพระองค์ ปัจจุบัน<br />

เรือนนี้ถูกใช้เป็นเรือนเก็บศิลปวัตถุ<br />

ของพระองค์<br />

Thanks to the vision of Prince<br />

Narisara Nuwattiwong, the celebrated<br />

designer and scholar<br />

of Siam, this group of traditional<br />

Thai houses were bought and<br />

reassembled in a new setting to<br />

serve as his residence. Unlike the<br />

conventional layout of Thai houses<br />

which surround a central courtyard,<br />

the Prince rearranged them to the<br />

proper sun and wind directions. The<br />

result is an original, well-ventilated<br />

and comfortable traditional house.<br />

It is now well-maintained and used<br />

to stores his art collection.<br />

这 栋 高 脚 木 屋 曾 是 蒙 库 皇 之 子 Narisara Nuwattiwong<br />

王 子 居 住 过 的 。 暹 罗 时 期 , 公 主 殿 下 下 令<br />

购 买 了 这 座 泰 式 高 脚 屋 作 为 居 所 , 虽 然 当 时 这 处 房 子<br />

样 式 过 时 , 也 并 不 被 人 看 好 , 但 经 过 重 新 设 计 改 建 ,<br />

朝 向 西 使 得 整 个 房 子 即 使 在 阳 光 下 , 房 内 还 是 通 风 而<br />

且 舒 适 , 王 子 因 此 把 此 处 作 为 了 自 己 的 居 所 。 这 栋 高<br />

脚 木 屋 看 上 去 朴 实 温 馨 , 目 前 已 成 为 了 一 座 王 子 艺 术<br />

品 的 珍 藏 馆 。<br />

๑๑๖๐ ถนนพระราม ๔ แขวง<br />

คลองเตย เขตคลองเตย 1160 Rama<br />

IV Road, Khlong Toei, Khlong Toei<br />

ทุกวันที่ ๒๙ เมษายน เวลา<br />

๐๙.๐๐ - ๑๗.๐๐ น. Every 29 th April<br />

09:00 AM – 05:00 PM ภายนอก<br />

และภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

4, 13, 14, 22, 45, 74 สถานี<br />

คลองเตย ๑๐๐ ม. Khlong Toei<br />

Station 100 m<br />

สวนเบญจกิติ<br />

Benjakitti Park<br />

198<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

199


O61<br />

บ้านอับดุลราฮิม<br />

ABDULRAHIM HOUSE<br />

阿 卜 杜 勒 · 拉 希 姆 故 居<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

800 m<br />

โบสถ์น้อย โรงเรียน<br />

เซนต์โยเซฟคอนเวนต์<br />

Chapel, Saint Joseph<br />

Convent School<br />

600 m<br />

ย่านสถานี BTS ศาลาแดง<br />

Sala Daeng BTS Station<br />

1.4 km<br />

ราชกรีฑาสโมสรโปโลคลับ<br />

Royal <strong>Bangkok</strong><br />

Sports Club<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : นายประชุม อับดุลราฮิม<br />

ปีที่สร้าง : ประมาณ พ.ศ. ๒๔๕๐-๒๔๕๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Mr. Prachum Abdulrahim<br />

Year of construction : 1907-1908 A.D.<br />

Year Awarded : 1982 A.D.<br />

บ้านนี้ถูกสร้างขึ้นเพื่อเป็นบ้านพัก<br />

ผ่อนบริเวณชานกรุงตั้งแต่สมัยรัชกาล<br />

ที่ ๕ รูปแบบของบ้านเน้นที่ความโปร่ง<br />

สบายด้วยอาคารไม้ยกพื้นสูง เสาชั้น<br />

ล่างก่ออิฐถือปูน ชั้นบนมีระเบียงใน<br />

ร่มสำหรับนั่งพักผ่อน ตัวอาคารเป็น<br />

สถาปัตยกรรมแบบเรือนขนมปังขิง<br />

ตกแต่งด้วยไม้ฉลุที่มุมจั่วและชายคา<br />

จุดที่น่าสนใจคือ ลวดลายตกแต่งที่<br />

ชายคาเป็นพระจันทร์เสี้ยวและดาว<br />

ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของศาสนาอิสลาม<br />

ส่วนลวดลายในส่วนอื่นๆ ก็เป็นลาย<br />

พรรณพฤกษาเหมือนการตกแต่งบ้าน<br />

มุสลิมที่จะไม่ตกแต่งด้วยลวดลายคน<br />

หรือสัตว์ เพราะขัดกับหลักศาสนา<br />

Abdulrahim House was built as<br />

a private residence since the reign<br />

of King Chulalongkorn (Rama V).<br />

The first floor columns, on which the<br />

timber floor is raised, are made of<br />

brick and mortar. The house is light<br />

and airy. The upper level includes<br />

a sheltered balcony suitable for<br />

a relaxing space. The house is a<br />

typical example of a gingerbread<br />

architecture, with carved wooden<br />

decorative details on the roof and<br />

eaves. Its unique feature, never-<br />

theless, is that these wood carving<br />

features on the eaves depict star<br />

and crescent – the symbol of Islam.<br />

Other parts are floral motifs as Islamic<br />

houses do not usually employ<br />

images of human or animal in their<br />

decorative features.<br />

这 是 阿 卜 杜 勒 · 拉 希 姆 在 泰 国 五 世 时 期 为 自 己<br />

建 造 的 一 处 居 所 。 房 子 是 一 栋 按 泰 式 木 造 高 脚 屋 的 设<br />

计 建 造 的 , 第 一 层 的 梁 柱 是 先 用 砖 垒 砌 成 柱 形 , 再 用<br />

水 泥 进 行 灌 筑 成 柱 ; 第 二 层 设 有 居 室 和 阳 台 ; 山 墙 和<br />

屋 檐 有 木 雕 装 饰 , 木 雕 以 带 有 伊 斯 兰 标 志 的 星 和 月 ,<br />

以 及 各 种 植 物 为 题 材 , 伊 斯 兰 教 是 不 用 违 背 教 规 的 人<br />

物 或 动 物 作 为 装 饰 图 案 的 。 整 体 房 屋 的 造 型 仿 佛 是 一<br />

栋 姜 饼 屋 。<br />

๙๖๐ ถนนพระราม ๔ แขวง<br />

สีลม เขตบางรัก 960 Rama<br />

IV Road, Silom, Bang Rak<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

4, 14, 45, 46, 67, 74 สถานีสีลม<br />

๔๐๐ ม. Silom Station 400 m.<br />

200<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

201


O62<br />

สถานเสาวภา<br />

QUEEN SAOVABHA MEMORIAL INSTITUTE<br />

泰 国 皇 家 研 究 所<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

800 m<br />

บ้านสุริยาศัย<br />

Suriyasai House<br />

300 m<br />

ย่านถนนสุรวงศ์<br />

Surawong Road<br />

850 m<br />

ศาลาพระเกี้ยว<br />

Sala Prakieo<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : สภากาชาดไทย<br />

ปีที่สร้าง : ประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๓ - ๒๔๖๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Thai Red Cross Society<br />

Year of construction : 1920-1922 A.D.<br />

Year Awarded : 1987 A.D.<br />

อาคารสถาปัตยกรรมแบบนีโอ<br />

คลาสสิค หลังคาปั้นหยา มุขทางเข้า<br />

โค้งครึ่งวงกลมสูงประมาณ ๒ ชั้น<br />

ขนาบข้างด้วยหอสี ่เหลี่ยมคือจุดเด่น<br />

ของอาคารนี้ ส่วนผนังเซาะร่องเลียน<br />

แบบการก่อหินซึ่งได้รับแรงบันดาล<br />

ใจจากประตูชัยแบบโรมัน ปัจจุบัน<br />

ใช้เป็นที่ทำการของสภากาชาดไทย<br />

ซึ่งมีบริการผลิตวัคซีนและฉีดวัคซีน<br />

ป้องกันโรคต่างๆ และมีสวนงูที่เก่า<br />

แก่เป็นอันดับ ๒ ของโลกรองจากสวน<br />

งูในประเทศบราซิล ซึ่งเลี้ยงงูพิษพันธุ์<br />

ต่างๆ ไว้ ใช้ในการทำเซรุ่มรักษาผู้ถูก<br />

งูพิษกัดด้วย<br />

The unique features of this Neoclassical<br />

building are its hip roof,<br />

and the double-height semicircular<br />

entrance foyer flanked with square<br />

towers. The rusticated façade was<br />

influenced by Roman triumphal<br />

arches. The building is now used<br />

as headquarters for the Thai Red<br />

Cross Society – an organisation<br />

with services such as vaccines<br />

production. The Society’s snake<br />

farm is the world’s second oldest<br />

after Brazil. The farm breeds many<br />

types of snakes for research pur-<br />

poses and antivenom production.<br />

这 是 一 栋 新 古 典 主 义 的 建 筑 物 , 楼 顶 为 四 面 坡<br />

形 , 大 门 入 口 处 是 一 、 二 两 层 拼 合 而 成 , 底 层 成 矩<br />

形 , 上 层 挨 着 屋 檐 , 成 拱 形 , 入 口 整 体 看 似 模 仿 罗<br />

马 的 凯 旋 门 , 上 有 浮 雕 装 饰 非 常 气 派 。 目 前 , 泰 国 红<br />

十 字 会 使 用 该 地 块 , 用 于 疫 苗 生 产 以 及 为 民 众 接 种 疫<br />

苗 之 所 。 在 园 内 的 一 角 设 有 一 处 蛇 园 , 属 世 界 排 名 第<br />

一 的 巴 西 外 , 这 所 蛇 园 排 名 第 二 。 蛇 园 饲 养 的 多 种 毒<br />

蛇 , 为 被 毒 蛇 咬 伤 的 患 者 提 供 抗 蛇 毒 血 清 。<br />

๑๘๗๑ ถนนพระรามที่ ๔ แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน 1871 Rama IV Road, Lumpini,<br />

Pathum Wan การแสดงงู<br />

วันจันทร์ – ศุกร์ ๐๙.๓๐ – ๑๕.๓๐ น. วัน<br />

เสาร์ – อาทิตย์ ๐๙.๓๐ -๑๓.๐๐ น. Snake<br />

Farm Mon – Fri 09:30 AM – 03:30 PM<br />

Sat-Sun 09:30 AM – 01:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ชาวไทย ผู้ใหญ่ ๔๐ บาท<br />

นักเรียนนักศึกษา (แสดงบัตร) ๒๐ บาท<br />

เด็ก ๑๐ บาท ชาวต่างชาติ ผู้ใหญ่ ๒๐๐<br />

บาท เด็ก ๕๐ บาท Thai Nationals<br />

Adults 40 Baht Students with ID 20 Baht<br />

Children 10 Baht Foreign Nationals<br />

Adults: 200 Baht Children: 50 Baht<br />

4, 45, 46, 47, 50, 67, 93 สถานี<br />

สามย่าน ๔๐๐ ม. Sam Yan Station<br />

400 m<br />

202<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O63<br />

ศาลาพระเกี้ยว<br />

SALA PRAKIEO<br />

皇 冠 亭<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

800 m<br />

เรือนภะรตราชา<br />

Ruan Pharot Racha<br />

750 m<br />

ยู เซ็นเตอร์<br />

U CENTER<br />

400 m<br />

ตึกมหาจุฬาลงกรณ์<br />

(ตึกอักษรศาสตร์)<br />

Maha Chulalongkorn<br />

Building (Faculty of<br />

Arts Building)<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

ศาสตราจารย์ หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ<br />

รองศาสตราจารย์ เลิศ อุรัสยะนันทน์<br />

ออกแบบปรับปรุง<br />

อาจารย์เผ่า สุวรรณศักดิ์ศรี และคณะฯ<br />

ผู้ครอบครอง : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๐๗ - ๒๕๐๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

Architect/ Designer : Professor HSH<br />

Prince Vodhyakara Varavarnand<br />

Associate Professor Lert Urasayanandana,<br />

Renovation design by Professor<br />

Phao Suwansaksri and partners<br />

Owner/ Overseer :<br />

Chulalongkorn University<br />

Year of construction : 1964-1966 A.D.<br />

Year Awarded : 2016 A.D.<br />

อาคารเอนกประสงค์ที ่รองรับ<br />

การใช้สอยหลากหลาย และเป็น<br />

เสมือนศูนย์กลางของเหล่านิสิตและ<br />

คณาจารย์ของจุฬาฯ ด้วยแนวคิด<br />

หลักคือ การออกแบบ “ศาลา” โดย<br />

ใช้โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก<br />

สมัยใหม่ ผสมผสานกับลักษณะ<br />

อาคารที่เหมาะสมกับเขตร้อนชื้นและ<br />

วัฒนธรรมอย่างไทย มีโครงสร้างหลัก<br />

เป็นเสารูปหกเหลี่ยม ๑๒ ต้น รองรับ<br />

โครงสร้างจั่วขนาดใหญ่ตรงโถงกลาง<br />

ผนังเอียงสอบทุกด้าน ช่วยให้อาคาร<br />

ดูเบาลอย เปิดเผย ตรงไปตรงมา<br />

Sala Prakieo is a multi-purpose<br />

building and is often considered<br />

the centre for students and academics.<br />

The central concept was<br />

to deliver ‘Sala’ – a traditional Thai<br />

pavilion architecture usually made<br />

of wood, in the modern material<br />

of reinforced concrete While the<br />

construction of Sala Prakieo is<br />

apparently modern, the design is<br />

suitable for tropical climates and<br />

local culture of Thailand. The gableshaped<br />

building is held up by 12<br />

hexagonal columns. The walls lean<br />

inwards on all sides, forming a large<br />

foyer in the middle. Despite its enormous<br />

size, the building appears<br />

light and straightforward.<br />

这 座 建 筑 物 是 曼 谷 朱 拉 隆 功 大 学 的 一 座 多 功 能<br />

厅 , 也 是 大 学 教 职 员 工 及 学 生 的 活 动 中 心 。 建 筑 采 用<br />

了 一 中 新 型 的 钢 筋 混 凝 土 结 构 , 参 照 泰 国 传 统 的 建 筑<br />

风 格 , 并 使 其 与 亚 热 带 潮 湿 气 候 相 适 应 的 建 筑 理 念 所<br />

建 造 。 建 筑 主 体 有 十 二 根 六 棱 形 顶 梁 柱 依 山 墙 形 成 一<br />

个 三 角 形 大 斜 面 壁 , 自 然 采 光 充 分 , 使 整 个 大 厅 赫 然<br />

明 亮 , 给 人 以 简 洁 明 快 之 感 。<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนน<br />

พญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน Chula<br />

longkorn University, Phayathai<br />

Road, Wang Mai, Pathum Wan<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาต<br />

เข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

21, 25, 29, 34, 36, 40, 47 สถานี<br />

สามย่าน ๖๕๐ ม. Sam Yan Station<br />

650 m<br />

204<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

205


O64<br />

บ้านสุริยาศัย<br />

BAAN SURIYASAI<br />

素 里 亚 赛 房 屋<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

900 m<br />

บริติช คลับ<br />

The British Club<br />

100 m<br />

ย่านถนนสุรวงศ์<br />

Surawong Road<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : คุณเจริญ สิริวัฒนภักดี<br />

ปีที่สร้าง : ปลายสมัยรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Mr. Charoen Sirivadhanabhakdi<br />

Year of construction : late King<br />

Chulalongkorn (Rama V) period<br />

Year Awarded : 2004 A.D.<br />

เรือนครึ่งตึกครึ่งไม้ ๒ ชั้น รูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมวิคตอเรียนผสมโคโล<br />

เนียลตามแบบตะวันตก สันนิษฐาน<br />

ว่าออกแบบโดยช่างชาวอิตาเลียนที่มา<br />

ดำเนินการก่อสร้างพระที่นั่งอนันต-<br />

สมาคม ปัจจุบันบ้านสุริยาศัยถูก<br />

พัฒนาเป็นร้านอาหาร<br />

This two-story half-concrete,<br />

half-timber building is in the style of<br />

the Victorian mix with Colonial from<br />

the west. It is thought to have been<br />

designed by an Italian architect<br />

who was part of the team responsi-<br />

ble for the construction of Ananta<br />

Samakhom Throne Hall. Baan<br />

Suriyasai is currently used as a<br />

restaurant.<br />

这 是 一 栋 二 层 半 木 质 与 半 水 泥 结 构 的 房 子 , 其<br />

风 格 为 维 多 利 亚 时 期 与 西 方 半 殖 民 地 风 格 相 融 合 的 一<br />

处 建 筑 。 建 筑 的 设 计 者 有 可 能 是 一 个 叫 阿 南 达 宫 的 意<br />

大 利 建 筑 设 计 师 所 设 计 。 如 今 , 这 栋 房 子 已 经 发 展 成<br />

为 了 一 家 知 名 的 餐 厅 。<br />

๑๗๔ ถนนสุรวงศ์ แขวงสี่พระยา เขต<br />

บางรัก 174 Surawong Road, Si Phraya,<br />

Bang Rak ทุกวัน ๑๐.๐๐ - ๒๒.๐๐ น.<br />

Everyday 10:00 AM – 10:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

สถานีสามย่าน ๗๕๐ ม. Sam Yan<br />

Station 750 m<br />

550 m<br />

ห้องสมุดเนียลสันเฮส์<br />

Neilson Hays Library<br />

206<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

207


O65<br />

สถานีรถไฟหัวลําโพง (สถานีรถไฟกรุงเทพฯ)<br />

HUA LAMPHONG (BANGKOK RAILWAY STATION)<br />

华 喃 火 车 站 ( 曼 谷 中 央 车 站 )<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1 km<br />

ตึกแดง การรถไฟ<br />

แห่งประเทศไทย<br />

Tuek Daeng (Red<br />

building), State Railway<br />

of Thailand<br />

800 m<br />

ย่านถนนเยาวราช<br />

Yaowarat Road<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :นายมาริโอ ตามานโญ<br />

นายอัลเฟรโด ริกาซซี<br />

ผู้ครอบครอง : การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Mario Tamagno<br />

Mr. Alfredo Rigazzi<br />

Owner/ Overseer :<br />

State Railway of Thailand<br />

Year of construction : 1910 – 1916 A.D.<br />

Year Awarded : 2002 A.D.<br />

สถานที่นี ้เป็นจุดเริ่มต้นของ<br />

ทางรถไฟสายแรกของไทย คือ สาย<br />

กรุงเทพฯ - ปากน้ำ ตัวสถานีแรก<br />

เริ่มเป็นแค่โรงสังกะสีธรรมดาและ<br />

ปรับปรุงพัฒนามาเป็นส่วนอาคาร<br />

สถานีถาวรที่มีรูปแบบสถาปัตยกรรม<br />

อันโดดเด่นและมีเอกลักษณ์จนเป็นที่<br />

ประทับใจของใครหลายคน ตัวอาคาร<br />

ประกอบด้วย โถงสถานีที่มีหลังคาโค้ง<br />

กว้าง ด้านหน้าเป็นอาคารแบบหรือ<br />

นีโอคลาสสิคสวยงาม โครงสร้าง<br />

เหล็กก็ได้รับการออกแบบวิศวกรรม<br />

อย่างลงตัว<br />

Hua Lamphong is where Thailand’s<br />

first railway line from <strong>Bangkok</strong><br />

to Paknam started. Initially,<br />

it was merely a temporary metal<br />

-roofed building before the current<br />

iconic Neoclassical design was<br />

built. The long –span steel structure<br />

is well-designed to cover the transit<br />

lounge.<br />

这 座 火 车 站 是 泰 国 第 一 条 铁 路 , 也 是 曼 谷 至 河<br />

口 的 始 发 站 。 火 车 站 原 址 曾 是 一 家 金 属 炼 锌 厂 , 后 改<br />

建 为 永 久 性 火 车 站 。 华 喃 火 车 站 优 秀 的 建 筑 设 计 和 它<br />

的 建 筑 特 征 给 过 往 旅 客 留 下 了 深 刻 印 象 。 车 站 大 厅 顶<br />

部 是 一 个 宽 敞 的 拱 形 顶 , 入 口 则 是 彰 显 出 独 特 的 新 古<br />

典 主 义 的 设 计 风 格 , 整 体 相 得 益 彰 , 十 分 完 美 。<br />

ถนนพระรามที่ ๔ แขวงรองเมือง เขต<br />

ปทุมวัน Rama IV Road, Rong Muang,<br />

Pathum Wan ทุกวัน Everyday<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

29, 34, 49, 501 สถานีหัวลำโพง<br />

๑๐๐ ม. Hua Lamphong Station 100 m<br />

650 m<br />

เรือนพระยาศรีธรรมาธิราช<br />

โรงเรียนสีตบุตรบำรุง<br />

Phraya Sri Thammathirat<br />

Residence,<br />

Sitabut Bamrung<br />

School<br />

208<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

209


O66<br />

พระอุโบสถและหมู่กุฏิสงฆ์<br />

วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร<br />

UBOSOT (ORDINATION HALL) AND THE MONK’S<br />

QUARTER IN WAT TRAIMIT WITTHAYARAM<br />

WORAWIHAN 金 佛 寺 佛 殿 与 僧 舍<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

950 m<br />

ห้างทองตั้งโต๊ะกัง<br />

Tang Toh Kang<br />

Gold Shop<br />

500 m<br />

ย่านถนนเยาวราช<br />

Yaowarat Road<br />

500 m<br />

สถานีรถไฟหัวลำโพง<br />

Hua Lamphong<br />

(<strong>Bangkok</strong> Railway<br />

Station)<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

หลวงวิศาลศิลปกรรม (เชื้อ ปัทมจินดา)<br />

ออกแบบพระอุโบสถ<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง : สันนิษฐานว่าเป็น<br />

สมัยรัชกาลที่ ๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๔<br />

Architect/ Designer : Luang Wisan<br />

Silpaka (Cheua Patamachinda)<br />

designed the ordination hall (ubosot)<br />

Owner/ Overseer :<br />

Wat Traimit<br />

Year of construction : King Rama III<br />

reign (hypothesis)<br />

Year Awarded : 2011 A.D.<br />

กลุ่มอาคารในวัดถือเป็นตัวแทน<br />

ของสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าของ<br />

อดีตและบอกเล่าเรื่องราวของยุคสมัย<br />

ได้เป็นอย่างดี พระอุโบสถเป็นแบบไทย<br />

ประยุกต์ มีโครงสร้างแบบคอนกรีต<br />

เสริมเหล็ก ทรงจัตุรมุข หลังคาสาม<br />

ชั้นมีชานโดยรอบ บานประตูหน้าต่าง<br />

พระอุโบสถเขียนลายรดน้ำ ส่วนหมู่กุฏิ<br />

สงฆ์ทั้ง ๑๔ หลัง หลังคาทรงจั่ว วาง<br />

อาคารเรียงเป็นแถว สูง ๒ ชั้น ส่วนพระ<br />

มหามณฑปนั้น สร้างขึ้นใหม่ใน พ.ศ.<br />

๒๕๕๐ ออกแบบโดยนาวาอากาศเอก<br />

(ยศขณะนั้น) อาวุธ เงินชูกลิ่น ศิลปิน<br />

แห่งชาติ<br />

This group of buildings at Wat<br />

Traimit is a valuable heritage of<br />

different periods. Ubosot or<br />

ordination hall is an applied Thai<br />

architecture, whose main structure<br />

is reinforced concrete, topped<br />

with a three-tiered roof. The building<br />

is surrounded by balconies,<br />

while its openings displayexquisite<br />

Thai lacquer works. The two-story<br />

monks’ cells, fourteen in total, are<br />

arranged in a row and topped with<br />

gabled roofs. Phra Maha Mondhop<br />

was recently built in 2007 and was<br />

designed by Arwut Ngernchuklin,<br />

Thailand’s National artist.<br />

这 座 寺 庙 内 的 建 筑 堪 称 是 会 集 泰 国 最 具 代 表 性<br />

古 代 价 值 的 建 筑 , 它 们 在 为 人 们 讲 述 着 历 史 和 泰 国<br />

寺 庙 的 变 迁 。 主 佛 殿 为 一 座 钢 筋 混 凝 土 结 构 、 三 层 楼<br />

高 的 现 代 建 筑 , 多 层 屋 顶 ; 四 周 建 有 宽 阔 的 大 平 台 ;<br />

佛 殿 门 窗 都 绘 有 莱 腐 南 (lai-rot-nam) 图 案 。 十 四 栋 僧<br />

舍 是 两 层 一 排 的 建 筑 格 局 , 为 山 墙 式 屋 顶 。 大 佛 殿 于<br />

2007 年 根 据 国 宝 级 艺 术 家 - 那 瓦 阿 伽 艾 戈 ( 上 校 ) 的 设<br />

计 所 建 造 。<br />

๖๖๑ ถนนเจริญกรุง แขวงตลาดน้อย<br />

เขตสัมพันธวงศ์ 661 Charoen Krung<br />

Road, Talat Noi, Samphanthawong<br />

ทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐ - ๑๗.๐๐ น.<br />

Everyday 08:00 AM – 05:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม (ยกเว้น<br />

ส่วนพิพิธภัณฑ์ ชาวต่างชาติมีค่าเข้า<br />

ชม ๑๐๐ บาท ) Free entry (Museum:<br />

Free for Thai nationals, 100 Baht for<br />

foreign nationals) 4, 21, 25, 40<br />

สถานีหัวลำโพง ๓๕๐ ม. Hua Lamphong<br />

Station 350 m<br />

210<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

211


ตระเวนชม ๑๒ งาน<br />

สถาปัตยกรรม ด้วยรถไฟฟ้า<br />

สายหัวลำโพง-บางแค<br />

12 BUILDINGS ON HUA<br />

LAMPHONG – BANG KHAE<br />

RAILWAY LINE<br />

坐 火 车 华 南 蓬 - 邦 珂 线 浏 览 十 二 所 建 筑 物<br />

เส้นทางรถไฟฟ้าอีกสายหนึ่งที่ช่วยให้การเดินทางระหว่างพื้นที่ในเมืองกับชุมชน<br />

ทางฝั่งธนบุรีมีความสะดวกขึ ้น และยังเป็นรถไฟฟ้าสายแรกของไทยที่มีการขุด<br />

เจาะอุโมงค์ลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาด้วยงานเทคนิควิศวกรรมขั้นสูงอีกด้วย ถึง<br />

โครงสร้างรวมจะเป็นทางยกระดับ แต่ในพื้นที่สำคัญอย่างเกาะรัตนโกสินทร์ก็ปรับ<br />

เป็นทางวิ่งใต้ดินที่ไม่กระทบต่อทัศนียภาพของอาคารที่สำคัญทางประวัติศาสตร์<br />

และสถานีสนามไชยก็ยังได้ชื่อว่าเป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินที่สวยงามที่สุดของ<br />

ประเทศ ด้วยการออกแบบของ รศ.ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ สาขา<br />

ทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรม) โดยนำเอาสถาปัตยกรรมไทยมาผสมผสานกับความ<br />

ทันสมัย เหมือนเรียกน้ำย่อยก่อนเดินขึ้นไปชมความงามของพระบรมมหาราชวัง<br />

The Hua Lamphong – Bang Khae railway line facilitates the commute<br />

between the centre of <strong>Bangkok</strong> and Thonburi. It is also the country’s first<br />

railway line which has a tunnel built underneath the Chao Phraya River.<br />

Although most of the structure is an elevated pathway, it travels underground<br />

below the historic area like the Rattanakosin Island, leaving vista<br />

of the old town undisturbed. Sanamchai station, decorated by Dr Pinyo<br />

Suwankiri, Thailand’s national artist in Architecture, is one of the country’s<br />

most beautiful stations, in which Thai style architectural motifs are applied<br />

extensively, as though it is a teaser for visitors to the Grand Palace.<br />

华 南 蓬 - 邦 坑 地 铁 线 路 是 一 条 从 城 镇 通 往 吞 武 里 区 之 间 新 的 地 铁 线 路 , 这 条 地 铁 建 成 后 将 大 大 便 利 周 边 居 民 在<br />

城 市 间 交 通 出 行 。 这 条 地 铁 的 建 设 乃 是 泰 国 第 一 条 采 用 现 代 掘 进 技 术 , 在 湄 南 河 下 挖 掘 隧 道 并 建 造 地 铁 工 程 ,<br />

从 而 对 整 体 工 程 构 造 标 准 也 有 大 幅 度 提 高 。 拉 塔 纳 克 辛 岛 地 区 是 该 地 铁 工 程 的 重 要 地 域 , 为 保 持 与 该 地 区 历<br />

史 景 观 的 相 匹 配 , 地 铁 站 的 建 造 与 装 修 设 计 也 别 具 特 色 , 由 皮 尼 • 萨 万 基 里 (Pinyo Suwankiri) 国 家 艺 术 家 协 会<br />

设 计 的 视 觉 艺 术 结 合 泰 式 与 现 代 建 筑 , 仿 佛 身 处 大 皇 宫 的 美 景 之 中 。 这 就 是 萨 南 柴 站 , 此 站 也 已 被 评 为 了 全<br />

泰 国 最 美 丽 的 地 铁 站 。<br />

212<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

213


Charan Sanitwong<br />

ตระเวนชม ๑๒ งานสถาปัตยกรรม ด้วยรถไฟฟ้าสาย<br />

หัวลำโพง-บางแค 12 BUILDINGS ON HUA LAMPHONG –<br />

BANG KHAE RAILWAY LINE 坐 火 车 华 南 蓬 - 邦 珂 线 浏 览 十 二 所 建 筑 物<br />

Liap Thang Rotfai<br />

Taling Chan Rd<br />

ตึกแดง การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

Sutthawat Rd<br />

67 Tuek Daeng (State Railway of 73<br />

Thailand Headquarters at Yotse)<br />

68<br />

泰 国 国 家 铁 路 局 ( 红 房 子 )<br />

Charan Sanitwong Rd<br />

พระอุโบสถ วัดเทพศิรินทราวาส<br />

ราชวรวิหาร Ubosot (Ordination Hall),<br />

Wat Debsirindrawas 塔 思 灵 寺<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)<br />

สาขาเฉลิมนคร<br />

Siam Commercial Bank, Chalerm<br />

nakorn Branch 暹 罗 商 业 银 行<br />

74<br />

69 75<br />

Itsaraphap Rd Itsaraphap Rd<br />

ดิ อัษฎางค์<br />

The Asadang<br />

阿 萨 当 商 务 楼<br />

Phran Nok Rd Wang Lang Rd Wang Lang Rd<br />

Arun Amarin Rd<br />

พระวิหาร วัดราชประดิษฐ์<br />

Wihan (shrine hall),<br />

Wat Ratchapradit<br />

拉 差 普 拉 迪 寺<br />

อาคารตึกแถวริมถนนมหาราช<br />

บริเวณท่าเตียน<br />

Shophouses along Maha Rat<br />

Road, Tha Tien<br />

Arun Amarin Rd<br />

塔 田 (Tha Tien) 区 的 格 兰 街 唐 楼<br />

Somdet Phra Pin Klao Rd Somdet Phra Pin Klao Bridge<br />

Na Phra Lan Rd<br />

Ratchadamnoen Nai Rd<br />

R<br />

Maha Rat Rd<br />

Sanam Chai Rd<br />

70<br />

พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์<br />

Corrections Museum<br />

惩 教 博 物 馆<br />

76<br />

Itsaraphap Rd<br />

พิพิธภัณฑ์บ้านเอกะนาค<br />

Ban Ekkanak Museum,<br />

纳 迦 皇 家 大 学 专 业 博 物 馆 。<br />

บ้านคุณหญิงพรพรรณ ธารานุมาศ<br />

71<br />

Khunying Pornpan Tharanumas<br />

77<br />

House 夫 人 故 居<br />

ศาลาเฉลิมกรุง<br />

Mon Canal<br />

Charan Sanitwong Rd<br />

Mon Canal<br />

72 Sala Chalermkrung Royal Theater 78<br />

曼 谷 皇 家 剧 院<br />

พิพิธภัณฑ์บ้านคุณหลวงฤทธิ์<br />

ณรงค์รอน Khun Luang Rit<br />

Narong Ron Museum<br />

鲁 昂 戈 吏 特 故 居 博 物 馆 婆 罗 门 庙<br />

Itsaraphap Rd<br />

Arun Amarin Rd<br />

บ้านศิลปิน คลองบางหลวง<br />

Baan Silapin, Khlong Bang<br />

Luang 孔 邦 隆 艺 术 之 家<br />

75<br />

Arun Amarin Rd<br />

Itsaraphap Rd<br />

78<br />

Charan Sanitwong 3<br />

76<br />

Charan Sanitwong Rd<br />

Phetkasem Rd<br />

77<br />

Phetkasem Rd Phetkasem Rd<br />

Prajadhipok Rd<br />

Ratchadaphisek Rd<br />

Phetkasem Rd<br />

<strong>Bangkok</strong> Yai Canal<br />

<strong>Bangkok</strong> Yai Canal<br />

Thoet Thai Rd<br />

Thoet Thai Rd<br />

k Sin Rd


Rd<br />

Soi<br />

Lan Luang 10<br />

ridge<br />

Ratchadamnoen Nai Rd<br />

Rop Krung Canal<br />

74<br />

Chakrabongse Rd<br />

Rop Krung Canal<br />

idge Rama VIII Rd<br />

Samsen Rd.<br />

Phra Sumen Rd<br />

Ratchadamnoen Klang Rd<br />

73<br />

Kalayana Maitri Rd<br />

Mahannop Rd.<br />

Din So Rd.<br />

Samsen<br />

Visut Kasat Rd.<br />

70<br />

Rracha Thipatai Rd.<br />

Phra Sumen Rd<br />

Maha Chai Rd.<br />

ang Rd.<br />

Soi Thewet 3<br />

k Rd.<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Lung Rd.<br />

Ratchdamnern Nok Rd.<br />

Worachak Rd.<br />

uthaya Rd.<br />

Maha Nak Canal<br />

Chakka Phatdiphong Rd.<br />

Phitsanulok Rd.<br />

Phanlang Rd.<br />

Nakhon Sawan Rd.<br />

Soi<br />

Lan Luang 4<br />

Soi<br />

Lan Luang 6<br />

Nakhon Pathom Rd.<br />

Rama V Rd.<br />

Soi<br />

Luk Luang 9<br />

Luk Luang Rd.<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Suphamit Rd.<br />

Dumrongrak Rd.<br />

Lan Luang Rd.<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Soi Luk Luang 7<br />

Ra<br />

Soi Phitsanulok 1<br />

Soi 4<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Soi Lan Luang 14<br />

Soi Lan Luang 2<br />

Saen Saep Canal<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Rama VI Rd.<br />

N<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Rama VI Rd. Rama VI Rd.<br />

Kamphange Phet 5 Rd.<br />

Banthad Thong Rd.<br />

Saen<br />

Sanam Chai Rd<br />

n Amarin Rd<br />

Rop Krung Canal<br />

Chakphet Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Phra Pokklao Rd<br />

Tri Phet Rd<br />

72<br />

71<br />

Chakphet Rd<br />

Somdet Chao Phraya Rd<br />

Chakkrawat Rd.<br />

Tha Din Daeng Rd<br />

69<br />

Charoen Krung Rd<br />

Yaowarat Rd<br />

Chiang Mai Rd<br />

Plaeng Nam Rd<br />

Chao<br />

Lung Rd.<br />

Yaowarat Rd<br />

Phraya<br />

Maitri Chit Rd<br />

Santiphap<br />

River<br />

Rama IV Rd.<br />

Mittraphan Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Maitri Chit Rd<br />

Soi Wanit 2<br />

Krung Kasem Rd<br />

Mittraphan Rd<br />

Soi Liap Khlong Phadung Kasem<br />

Khao Lam Rd<br />

Khao Lam Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

68<br />

67<br />

Mahaphuruttharam<br />

Charu Mueang<br />

Sawang Rd<br />

Banthat Thong Rd Banthat Thong Rd<br />

Rama IV Rd.<br />

Si Phraya Rd<br />

Rama I R<br />

Prajadhipok Rd<br />

Lat Ya Road<br />

Charoen Nakhon Rd<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Maha Set Rd<br />

Silom Rd


O67<br />

ตึกแดง การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

(ที่ทําการการรถไฟยศเส)<br />

TUEK DAENG (STATE RAILWAY OF THAILAND<br />

HEADQUARTERS AT YOTSE)<br />

泰 国 国 家 铁 路 局 ( 红 房 子 )<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

500 m<br />

ตึกแม้นนฤมิตร<br />

Maen NaruemitBuilding<br />

300 m<br />

ย่านถนนบำรุงเมือง<br />

Bamrung Muang Road<br />

1.4 km<br />

โรงเรียนสีตบุตรบำรุง<br />

Sitabut Bamrung<br />

School<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

หลวงสุขวัฒน์สุนทร วิศวกรของกรมรถไฟ<br />

ผู้ครอบครอง : การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๗๑-๒๔๗๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

Architect/ Designer : Luang Sukwatsunthon,<br />

an engineer of the Royal<br />

State Railways of Siam<br />

Owner/ Overseer :<br />

State Railway of Thailand<br />

Year of construction : 1928-1931 A.D.<br />

Year Awarded : 2006 A.D.<br />

นับเป็นอาคารตัวอย่างที่หาดูได้<br />

ยาก โดยเฉพาะเรื่องของเทคนิคการ<br />

ก่อสร้างที่แสดงโครงสร้างและการก่อ<br />

อิฐโชว์แนวอย่างเป็นระบบ หมายถึง<br />

มีการออกแบบและฝีมือช่างที่ดีเยี่ยม<br />

สถาปัตยกรรมเป็นแบบโมเดิร์นในยุค<br />

แรกๆ ของไทย ที่ดูเรียบง่าย แข็งแรง<br />

และเหมาะกับประโยชน์ใช้สอย ปัจจุบัน<br />

ใช้เป็นที่ทำการหน่วยงานต่างๆ ของ<br />

การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

Regarding construction method,<br />

Tuek Daeng is a rare example of<br />

early modern Thai architecture.<br />

Layers of bricks precisely laid out<br />

for building walls give impressions<br />

of being functional, simple and vigorous.<br />

The building is currently used<br />

as offices for different departments<br />

of the State Railway of Thailand.<br />

这 栋 红 房 子 建 筑 十 分 别 致 也 特 别 罕 见 , 特 别 是<br />

它 的 建 筑 结 构 和 砖 的 质 地 系 统 地 展 示 了 其 施 工 技 术 和<br />

造 诣 , 以 及 优 秀 的 设 计 和 建 造 工 艺 。 它 是 泰 国 早 期 的<br />

现 代 建 筑 , 既 美 观 又 坚 固 , 并 且 很 实 用 。 目 前 , 这 坐<br />

红 房 子 作 为 泰 国 国 家 铁 路 局 的 办 公 地 仍 在 使 用 。<br />

๑ ถนนรองเมือง แขวงรองเมือง<br />

เขตปทุมวัน 1 Rong Muang Road,<br />

Rong Muang, Pathum Wan โปรด<br />

ติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม<br />

By appointment only ภายนอก<br />

Exterior โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อ<br />

ขออนุญาตเข้าชม By appointment only<br />

15, 47, 49, 85 สถานีหัวลำโพง<br />

๑.๒ กม. Hua Lamphong Station 1.2 km<br />

216<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

217


O68<br />

พระอุโบสถ วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร<br />

UBOSOT (ORDINATION HALL),<br />

WAT DEBSIRINDRAWAS<br />

塔 思 灵<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.5 km<br />

วังวรดิศ<br />

Varadis Palace<br />

350 m<br />

ย่านแยกพลับพลาไชย<br />

Phlap Phla Chai Road<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ออกแบบอนุรักษ์ :<br />

พลอากาศตรีอาวุธ เงินชูกลิ่น<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

วัดเทพศิรินทราวาสราชวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๑๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Conservation architect : Air Vice<br />

Marshal Arwut Ngernchuklin<br />

Owner/ Overseer :<br />

Wat Debsirindrawas<br />

Year of construction : 1876 A.D.<br />

Year Awarded : 2012 A.D.<br />

วัดที่รัชกาลที่ ๕ โปรดเกล้าฯ ให้<br />

สร้างขึ้น โดยมีแผนผังคล้ายกับวัด<br />

โสมนัสวิหารและวัดมกุฏกษัตริยา<br />

ราม พระอุโบสถเป็นอาคารทรงไทย<br />

ขนาด ๗ ห้อง ด้านหน้ามีเฉลียง มี<br />

พาไลโดยรอบอาคาร ก่ออิฐถือปูน ซุ้ม<br />

ประตูและหน้าต่าง เป็นซุ้มทรงมงกุฎ<br />

เพดานในพระอุโบสถสลักรูปเครื่อง<br />

ราชอิสริยาภรณ์ เพื่อเป็นเครื่องแสดง<br />

คุณงามความดีในการปฏิบัติงานและ<br />

บำเหน็จความชอบที่ทรงพระราชทาน<br />

เพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคลต่างๆ<br />

King Chulalongkorn (Rama V)<br />

had this temple built. The temple<br />

plan resembles that of Wat Sommanat<br />

Wihan and Wat Makutkasattriyaram.<br />

The ubosot (ordination<br />

hall) is a traditional Thai brick and<br />

mortar building with a veranda<br />

at the front. Above the doorways<br />

and windows are crown-shaped<br />

ornaments. Thai Royal insignias<br />

are depicted on the ceiling of the<br />

ordination hall.<br />

该 寺 庙 由 拉 玛 五 世 皇 下 令 兴 建 , 设 计 与 宋 玛 纳<br />

寺 和 皇 冠 寺 很 相 像 , 泰 式 的 佛 殿 , 殿 内 为 七 间 格 局 ,<br />

正 面 是 走 廊 , 四 周 由 水 泥 柱 支 撑 着 大 殿 , 殿 门 和 窗 框<br />

顶 部 均 以 皇 冠 浮 雕 装 饰 成 拱 状 , 佛 殿 天 井 装 饰 有 象 征<br />

佛 门 的 图 案 , 以 彰 显 佛 祖 赐 予 功 臣 及 善 行 者 之 荣 耀 。<br />

๑๔๖๔ ถนนกรุงเกษม แขวงวัด<br />

เทพศิรินทร์ เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย<br />

1464 Krung Kasem Road, Wat<br />

Thepsirin, Pom Prap Sattru Phai<br />

ทุกวัน เวลา ๐๖.๐๐ - ๑๘.๓๐ น.<br />

Everyday 06:00 AM – 06:30 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

15, 47, 508 สถานีวัดมังกร ๑ กม.<br />

Wat Mangkon Station 1 km<br />

1.3 km<br />

พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์<br />

Correction Museum<br />

218<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

219


O69<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน)<br />

สาขาเฉลิมนคร<br />

SIAM COMMERCIAL BANK, CHALERMNAKORN<br />

BRANCH<br />

暹 罗 商 业 银 行<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.3 km<br />

พระอุโบสถ วัดเทพศิริน<br />

ทราวาสราชวรวิหาร<br />

Ubosot (Ordination Hall),<br />

Wat Debsirindrawas<br />

600 m<br />

ย่านเยาวราช<br />

Yaowarat Road<br />

600 m<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ออกแบบอนุรักษ์ : บริษัท พี ๔๙ ดีไซน์<br />

วูดเฮด จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง : สำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง : ปลายรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Conservation architect :<br />

P49 Design Woodhead International<br />

Limited<br />

Owner/ Overseer :<br />

Crown Property Bureau<br />

Year of construction : late King<br />

Chulalongkorn (Rama V) reign<br />

Year Awarded : 2007 A.D.<br />

แทบทุกคนที่ผ่านไปตรงแยกถนน<br />

เจริญกรุง - วรจักร จะต้องให้ความ<br />

สนใจกับอาคารนี้แน่ ปัจจุบันเป็นที่<br />

ตั้งของธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด<br />

(มหาชน) แต่ก่อนนั้นเคยเป็นห้างสรรพ<br />

สินค้าชั้นนำในช่วงปลายสมัยรัชกาลที่<br />

๕ คือ ห้าง เอส อี ซี (S.E.C.) อาคาร<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก มุมอาคารมี ๓ ชั้น<br />

ส่วนปีกทั้งสองข้างเป็นอาคาร ๒ ชั้น<br />

หลังคาทรงปั้นหยา เพราะเป็นอาคาร<br />

หัวมุมสี่แยกจึงมีการตกแต่งมุมอาคาร<br />

เป็นรูปโค้งที่สวยงามด้วยรูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมเป็นแบบนีโอคลาสสิค<br />

Anyone passes by the junction<br />

between Charoen Krung and Worachak<br />

Road would notice this iconic<br />

building. Currently Siam Commercial<br />

Bank, it was a leading shopping<br />

mall called S.E.C. in late King<br />

Chulalongkorn reign. Three stories<br />

at the corner and two stories in the<br />

two adjacent wings, the building is a<br />

reinforced-concrete structure<br />

topped with the hip roof.The exterior<br />

at the corner is highly decorative<br />

typical of the Neoclassical style.<br />

几 乎 所 有 经 过 查 隆 功 路 (Charoenkrung Road)<br />

哇 拉 乍 十 字 路 (WorachokRoad) 口 的 人 都 不 由 自 主<br />

地 关 注 这 座 建 筑 , 目 前 是 暹 罗 商 业 银 行 大 楼 。 暹 罗<br />

商 业 银 行 (SCB) 在 拉 玛 五 世 国 王 后 期 曾 经 是 泰 国<br />

的 第 一 家 百 货 公 司 , 即 S.E.C 商 厦 。 大 楼 是 一 栋 钢 筋<br />

混 凝 土 建 筑 , 主 体 楼 三 层 加 两 翼 二 层 的 侧 楼 形 成 拐<br />

角 楼 。 两 边 的 两 翼 侧 楼 均 为 四 坡 屋 顶 , 分 别 处 于 两<br />

个 路 口 内 。 这 座 处 在 两 条 路 交 叉 路 口 的 弧 形 建 筑 美<br />

观 漂 亮 , 新 古 典 主 义 的 建 筑 风 格 尽 显 无 疑 。<br />

๒๖๙ ถนนเจริญกรุง แขวงป้อมปราบ<br />

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย 269 Charoen<br />

Krung Road, Pom Prap, Pom Prap<br />

Sattru Phai วันจันทร์ – ศุกร์<br />

เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๕.๓๐ น. Mon – Fri<br />

08:30 AM – 03:30 PM ภายนอก<br />

และภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry 8,<br />

37, 48, 49, 85 สถานีวังบูรพา ๔๐๐ ม.<br />

Wang Burapha Station 400 m<br />

พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์<br />

Correction Museum<br />

220<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

221


O70<br />

พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์<br />

CORRECTIONS MUSEUM<br />

惩 教 博 物 馆<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

500 m<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด<br />

(มหาชน) สาขาเฉลิมนคร<br />

Siam Commercial<br />

Bank, Chalermnakorn<br />

Branch<br />

400 m<br />

ย่านแยกสำราญราษฎร์<br />

Samran Rat<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

นายโจอาคิม กราสซี<br />

ผู้ครอบครอง : กรมราชทัณฑ์<br />

กระทรวงยุติธรรม<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๓๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๐<br />

Architect/ Designer :<br />

Mr. Joachim Grassi<br />

Owner/ Overseer :<br />

Department of Corrections, Ministry<br />

of Justice<br />

Year of construction : 1889 A.D.<br />

Year Awarded : 1997 A.D.<br />

สถาปัตยกรรมรูปแบบนีโอ เรอ<br />

เนสซองส์ ที่สร้างตามแบบเรือนจำ<br />

Brixton ของประเทศอังกฤษ หลัง<br />

จากเปิดใช้งานเป็นเรือนจำมานาน<br />

กว่า ๑๐๓ ปี ก็ทำการปรับปรุงครั้ง<br />

ใหญ่ ย้ายผู้ต้องขังออกไปแล้วปรับ<br />

เป็นอาคารเรือนจำให้เป็นพิพิธภัณฑ์<br />

จัดแสดงเรื่องราวความเป็นมาของ<br />

กรมราชทัณฑ์และการลงโทษรูปแบบ<br />

ต่างๆ และพื้นที่โดยรอบก็เปิดเป็นสวน<br />

สาธารณะให้บุคคลทั่วไปเข้ามาใช้ได้<br />

โดยตั้งชื่อว่า “สวนรมณียนาถ”<br />

This Neo-Renaissance building<br />

was built following a precedent in<br />

Brixton, United Kingdom. After the<br />

prison had been in operation for 103<br />

years, it has undergone significant<br />

renovationin 1992. Inmates were<br />

moved out, and the building was<br />

turned into a museum displaying<br />

the history of the Department of<br />

Correction and various execution<br />

methods. The surrounding area is<br />

a public park called Romaneenart<br />

Park.<br />

这 是 一 座 新 文 艺 复 兴 风 格 的 建 筑 , 基 于 英 格 兰<br />

布 里 克 斯 顿 监 狱 的 建 造 形 式 , 启 用 至 103 多 年 后 对 建<br />

筑 进 行 了 修 缮 。 因 此 , 这 所 监 狱 的 建 筑 状 况 比 以 前 大<br />

有 改 观 。 政 府 把 犯 人 从 此 监 狱 大 楼 移 往 别 处 , 将 其 作<br />

为 了 展 示 矫 正 和 惩 罚 犯 人 的 历 史 博 物 馆 。 同 时 , 周 边<br />

及 附 近 的 “ 玫 瑰 花 园 ” 也 向 公 众 开 放 参 观 。<br />

๔๓๖ ถนนมหาไชย แขวงสำราญราษฎร์<br />

เขตพระนคร 436 Maha Chai Road,<br />

Samran Rat, Phra Nakhon<br />

วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.<br />

Mon – Fri 09:00 AM – 04:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

5, 37, 85 สถานีวังบูรพา ๒๐๐ ม.<br />

Wang Burapha Station 200 m<br />

650 m<br />

ศาลาเฉลิมกรุง<br />

Sala Chalermkrung<br />

Theatre<br />

222<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

223


O71<br />

บ้านคุณหญิงพรพรรณ ธารานุมาศ<br />

KHUNYING PORNPAN THARANUMAS HOUSE<br />

Pornpan Tharanumas 夫 人 故 居<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

200 m<br />

ศาลรัฐธรรมนูญ<br />

Constitutional Court<br />

300 m<br />

ย่านพาหุรัด<br />

Phahurat Market<br />

500 m<br />

ไปรษณียาคาร<br />

Praisaneeyakarn<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : คุณหญิงพรพรรณ<br />

ธารานุมาศ (วัชราภัย)<br />

ปีที่สร้าง : ตึกจีน ช่วงปลายรัชกาลที่ ๓,<br />

ตึกฝรั่ง รัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Khunying Pornpan Tharanumas<br />

(Vajrabhaya)<br />

Year of construction : Chinese Building<br />

- late King Rama III reign, Western<br />

Building – late King Chulalongkorn<br />

(Rama V) reign<br />

Year Awarded : 1984 A.D.<br />

กลุ่มบ้าน ๓ หลัง วางผังเป็น<br />

รูปตัวยูโอบล้อมจนเกิดเป็นลานส่วน<br />

กลาง ตึกตรงกลางมีลักษณะเป็นตึก<br />

ฝรั่งที่นิยมในสมัยรัชกาลที่ ๕ ซึ่งสร้าง<br />

ขึ้นภายหลังทับตำแหน่งที่เคยเป็นตึก<br />

แบบจีนหลังเดิมที่รื้อทิ้งไป มีหน้าต่าง<br />

เป็นซุ้มโค้ง หลังคามุงกระเบื้องแบบ<br />

จีน ส่วนตึกด้านข้าง ๒ หลังเป็นตึก<br />

เก่าแบบจีนที่สร้างขึ้นมาในรุ่นก่อน<br />

Three buildings arranged in a<br />

U-shaped plan enclosing a lawn in<br />

the centre are built at two different<br />

times. The middle building is a<br />

western-style architecture erected<br />

on the site where a Chinese<br />

style building had previously been<br />

demolished; other characteristics of<br />

the house include arched windows<br />

and Chinese roof tiles. The other<br />

two adjacent buildings are in<br />

Chinese-style, built before the<br />

western building.<br />

这 栋 故 居 为 U 字 形 布 局 , 两 层 三 组 房 屋 组 合 而<br />

成 , 两 间 为 中 式 , 一 间 是 欧 式 , 中 央 是 小 楼 的 庭 院 。<br />

原 三 组 房 屋 均 为 中 式 瓦 屋 顶 的 建 筑 , 大 约 是 在 国 王 拉<br />

玛 三 世 后 期 时 和 国 王 拉 玛 四 世 早 期 所 建 造 , 中 间 部 分<br />

则 是 在 拉 玛 五 世 国 王 时 期 由 于 社 会 争 相 效 仿 的 西 式 建<br />

筑 , 在 原 有 中 式 建 筑 被 拆 后 的 基 地 上 所 建 的 , 其 窗 户<br />

造 型 也 为 西 式 的 拱 状 , 代 替 了 原 中 式 建 筑 格 局 。 这 座<br />

房 子 原 本 是 一 个 名 叫 “Rong Bon Saphan Hua” 的<br />

赌 场 。 汤 敬 康 先 生 与 赌 场 进 行 了 一 次 土 地 交 换 , 并 将<br />

其 作 为 自 己 的 住 所 进 行 了 翻 新 。 之 后 , 此 处 房 产 由 他<br />

的 继 承 人 继 承 至 今 , 现 属 他 的 孙 女 所 拥 有 。<br />

๑๓๕-๑๓๗-๑๓๙ ตรอกยาฉุน แขวง<br />

จักรวรรดิ์ เขตสัมพันธวงศ์ 135-137-139<br />

Trok Ya Chun, Chakkrawat Samphanthawong<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขอ<br />

อนุญาตเข้าชม By appointment only<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

4, 5, 7, 21, 37, 40, 85 สถานีวังบูรพา<br />

๕๐๐ ม. Wang Burapha Station 500 m<br />

224<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

225


O72<br />

ศาลาเฉลิมกรุง<br />

SALA CHALERMKRUNG ROYAL THEATER<br />

曼 谷 皇 家 剧 院<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

450 m<br />

ตึกยาวโรงเรียน<br />

สวนกุหลาบวิทยาลัย<br />

Tuek Yao, Suankularb<br />

Wittayalai School<br />

100 m<br />

ดิ โอลด์ สยาม พลาซ่า<br />

The Old Siam Plaza<br />

450 m<br />

บ้านดี<br />

Baan Dee<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

บริษัท เฉลิมกรุง มณีทัศน์ จำกัด<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๔๗๓ – ๒๔๗๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

Architect/ Designer : HSH Prince<br />

Samaichalerm Kridakorn<br />

Owner/ Overseer :<br />

Chalermkrung Manitas Co., Ltd.<br />

Year of construction : 1930 – 1933 A.D.<br />

Year Awarded : 1994 A.D.<br />

โรงภาพยนตร์ติดแอร์ด้วยระบบ<br />

Chilled Water System แห่งแรกของ<br />

เอเชียซึ่งเป็นระบบที่ทันสมัยมากในยุค<br />

นั้น และสามารถจุผู้ชมได้ถึง ๑,๐๐๐<br />

ที่นั่ง ตัวอาคารสร้างขึ้นเพื่อเป็นส่วน<br />

หนึ่งของการฉลองครบรอบ ๑๕๐ ปี<br />

กรุงเทพมหานคร รูปแบบอาคารเป็น<br />

แบบบาวน์เฮาส์ เน้นความเรียบง่าย<br />

สง่างาม ทรงสี่เหลี่ยมสูงดูทันสมัย<br />

ตกแต่งภายในด้วยการผสมผสาน<br />

ระหว่างตะวันตกกับสไตล์ไทย ต่อมา<br />

ใน พ.ศ. ๒๕๓๕ มีการปรับปรุงครั้ง<br />

ใหญ่เพื่อยกระดับให้เป็นโรงมหรสพ<br />

แห่งชาติ ขยายเวทีพร้อมติดตั ้งระบบ<br />

ไฮโดรลิกปรับที่นั่งเหลือราว ๖๐๐ ที่ใช้<br />

เป็นทั้งโรงภาพยนตร์และโรงละครเวที<br />

Built as part of the 150-year<br />

celebration of <strong>Bangkok</strong>, Sala<br />

Chalermkrung Royal Theater was<br />

the first theatre in Asia that was fully<br />

equipped with the Chilled Water<br />

air-conditioning system. With the<br />

capacity of 1,000 seats, the architecture<br />

follows the Bauhaus principles<br />

of being simple, geometric and<br />

refined. Interestingly, the interior is<br />

a blend of western and Thai style<br />

decoration. In 1992 A.D, in order to<br />

upgrade it into a national entertainment<br />

venue, the theatre was<br />

undergone the major renovation,<br />

during which time the stage was<br />

enlarged, and the hydraulic stage<br />

lift system was installed, resulting in<br />

the reduction of seating capacity to<br />

600. It has since been used for both<br />

film screenings and stage plays.<br />

这 座 剧 院 大 楼 是 庆 祝 曼 谷 建 城 150 周 年 所 兴 建<br />

的 , 它 是 亚 洲 首 家 采 用 冷 水 空 调 系 统 , 也 是 当 时 非<br />

常 现 代 化 的 制 冷 系 统 。 剧 院 的 建 筑 采 用 了 包 豪 斯 风<br />

格 是 设 计 , 强 调 建 筑 整 体 外 形 既 简 单 、 优 雅 , 又 不<br />

失 具 现 代 主 义 风 格 。 剧 院 内 部 设 计 装 修 采 用 的 是 西<br />

洋 及 泰 式 风 格 相 融 合 , 可 同 时 容 纳 千 名 观 众 。 剧 院<br />

在 1992 年 后 半 年 进 行 了 大 规 模 修 缮 , 升 格 为 国 家 级<br />

剧 院 。 舞 台 采 用 先 进 的 液 压 系 统 延 展 舞 台 , 座 椅 也 调<br />

整 为 600 个 左 右 , 成 为 一 个 适 用 于 多 剧 种 舞 台 表 演 的<br />

综 合 性 剧 院 。<br />

๖๖ ถนนเจริญกรุง แขวงวังบูรพาภิรมย์<br />

เขตพระนคร 66 Charoen Krung Road,<br />

Wang Burapha Phirom, Phra Nakhon<br />

ทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๘.๐๐ น.<br />

Everyday 09:00 AM – 06:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

1, 3, 8, 12, 25, 49 สถานีวังบูรพา<br />

๔๕๐ ม. Wang Burapha Station 450 m<br />

226<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

227


O73<br />

ดิ อัษฎางค์<br />

THE ASADANG<br />

阿 萨 当 商 务 楼<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

450 m<br />

พระวิหารวัดราชบพิธฯ<br />

Wihan (shrine hall),<br />

Wat Ratchabophit<br />

250 m<br />

ย่านแยกสี่กั๊กพระยาศรี<br />

Si Kak Phraya Si<br />

550 m<br />

วังสราญรมย์<br />

Saranrom Palace<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ออกแบบอนุรักษ์ : คุณดิเรก - จิตรลดา<br />

เส็งหลวง<br />

ผู้ครอบครอง : สำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

เช่าโดย คุณดิเรก - จิตรลดา เส็งหลวง<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ.๒๔๔๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Renovation architect :<br />

Mr. Direk and Chitlada Senglaung<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Crown Property Bureau, with<br />

Mr. Direk and Chitlada Senglaung as<br />

the tenant.<br />

Year of construction : 1906 A.D.<br />

Year Awarded : 2012 A.D.<br />

ตึกแถวเพื่อการพาณิชย์ที่สร้าง<br />

ขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๕ เพื่อความเป็น<br />

ระเบียบสวยงาม และรองรับการขยาย<br />

ตัวทางเศรษฐกิจการค้าของประเทศ<br />

ซึ่งอาคารในยุคนี้จะมีความสวยงาม<br />

โดดเด่นเฉพาะตัว ด้วยสถาปัตยกรรม<br />

แบบโคโลเนียล โครงสร้างก่ออิฐถือปูน<br />

หลังคาจั่วมุงกระเบื้อง ตัวอาคาร ๒<br />

ชั้น มีมุข ๓ ด้าน ประดับสัญลักษณ์<br />

เทพ Hermes หรือ Mercury เทพ<br />

แห่งการค้าและเจรจาต่อรอง นอก<br />

อาคารตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้น<br />

อย่างสวยงาม ปัจจุบันปรับเป็นบูติค<br />

โฮเตล ขนาด ๗ ห้อง ซึ่งผู้ครอบครอง<br />

ได้ปรับปรุงอาคารโดยรักษารูปแบบ<br />

ดั้งเดิมไว้มากที่สุด<br />

The Asadang is an excellent<br />

example of two-story commercial<br />

shophouses built in the reign of<br />

King Chulalongkorn (Rama V)<br />

as part of the modernisation of<br />

<strong>Bangkok</strong> to encourage the nation’s<br />

economic growth. Characteristics<br />

include the colonial style, brick and<br />

mortar building, and gable roof<br />

clad in tiles. Behind the elaborate<br />

plasterworks façade of the Asadang<br />

lies a seven-room boutique hotel.<br />

Despite the restriction imposed by<br />

the street, the building has three<br />

highly distinctive and original<br />

exteriors. From the road, they are<br />

immediately apparent, with arched<br />

tympanums and Hermes or Mercury<br />

motifs. The owner renovated the<br />

building but has managed to keep<br />

many of its original features.<br />

这 是 拉 玛 五 世 (Rama 5) 统 治 时 期 所 建 造 的 一<br />

栋 两 层 的 商 业 楼 宇 , 外 观 非 常 漂 亮 。 整 体 建 筑 为 砖 结<br />

构 , 片 瓦 铺 成 的 斜 面 屋 顶 , 二 层 有 三 户 窗 上 方 的 拱 形<br />

山 墙 装 饰 有 爱 马 仕 和 水 星 神 浮 雕 , 充 分 彰 显 了 那 个 时<br />

代 的 国 家 经 济 实 力 。 它 不 仅 是 一 栋 极 具 殖 民 色 彩 和 时<br />

代 特 征 的 建 筑 , 也 是 当 时 独 一 无 二 的 。 该 栋 楼 虽 经 多<br />

次 修 缮 , 但 仍 保 留 了 原 有 传 统 的 建 筑 风 格 。<br />

๙๔ - ๙๔/๑ ถนนอัษฎางค์ แขวง<br />

วังบูรพาภิรมย์ เขตพระนคร 94-94/1<br />

Atsadang Road, Wang Burapha<br />

Phirom, Phra Nakhon ทุกวัน<br />

เวลา ๐๗.๐๐ - ๒๔.๐๐ น. Everyday<br />

07:00 AM – midnight ภายนอก<br />

และภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry 2, 12, 25,<br />

33, 48, 60 สถานีสนามไชย ๓๕๐ ม.<br />

Sanamchai Station 350 m<br />

228<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

229


O74<br />

พระวิหาร วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม<br />

ราชวรวิหาร<br />

WIHAN (SHRINE HALL), WAT RATCHAPRADIT<br />

SATHITMAHASIMARAM RATCHAWORAWIHAN<br />

拉 差 普 拉 迪 寺<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

200 m<br />

กรมแผนที่ทหาร<br />

Royal Thai Survey<br />

Department<br />

400 m<br />

ย่านแพร่งนรา<br />

Phraeng Nara<br />

350 m<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : พระยาราช<br />

สงคราม (ทองสุก)<br />

ผู้ครอบครอง : วัดราชประดิษฐสถิตมหา<br />

สีมารามราชวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ.๒๔๐๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

Architect/ Designer : Phraya Ratchasongkhram<br />

(Tongsuk)<br />

Owner/ Overseer :<br />

Wat Ratchapradit Sathitmahasimaram<br />

Ratchaworawihan<br />

Year of construction : 1864 A.D.<br />

Year Awarded : 1989 A.D.<br />

วัดประจำรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุง<br />

รัตนโกสินทร์ ภายในวัดมีสถาปัตย-<br />

กรรมและศิลปกรรมสำคัญอยู่เป็น<br />

จำนวนมาก มีพระวิหารหลวงและพระ<br />

เจดีย์ทรงระฆังเป็นประธานของวัด<br />

พระวิหารหลวงเป็นสถาปัตยกรรม<br />

ไทยยุครัตนโกสินทร์ ขนาด ๗ ห้อง<br />

มีมุขด้านหน้าและด้านหลัง ผนังด้าน<br />

นอกประดับด้วยหินอ่อน หลังคามุง<br />

กระเบื้องเคลือบสี ผนังภายในเป็นภาพ<br />

จิตรกรรมสีฝุ่นที่สวยงาม<br />

Built in the reign of King Mongkut<br />

(Rama IV), Wat Ratchapradit<br />

Sathitmahasimaram Ratchawora<br />

wihan possesses many architectural<br />

heritages and valuable artworks.<br />

The bell-shaped pagoda and the<br />

royal shrine hall (wihan luang), typically<br />

an early Rattanakosin style,<br />

are among the prominent ones.<br />

The royal shrine hall is seven-bay in<br />

length, with extra bays at the front<br />

and rear. Primary construction materials<br />

include marble and glazed<br />

roof tiles. Inside, one will also find<br />

beautiful murals.<br />

这 曾 经 是 泰 国 一 处 拉 塔 哥 欣 (Rattanakosin) 拉<br />

玛 四 代 王 朝 的 皇 家 寺 庙 。 寺 庙 内 汇 聚 了 泰 国 建 筑 、<br />

绘 画 、 雕 刻 和 装 潢 艺 术 的 精 粹 , 数 量 及 技 艺 都 相 当<br />

可 观 。 大 殿 及 塔 式 风 格 的 钟 楼 礼 寺 都 是 哥 欣 时 代 的<br />

建 筑 , 前 后 共 7 幢 。 建 筑 外 墙 均 以 大 理 石 装 饰 , 人 字<br />

形 斜 面 的 瓦 顶 均 用 色 彩 鲜 艳 的 涂 料 粉 饰 ; 大 殿 内 部<br />

墙 面 则 装 裱 有 一 幅 巨 大 而 又 精 美 壮 观 的 壁 画 。<br />

๒ ถนนสราญรมย์ แขวงพระบรม<br />

มหาราชวัง เขตพระนคร 2 Saranrom<br />

Road, Phra Borom Maha Ratchawang,<br />

Phra Nakhon ทุกวัน<br />

๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. Everyday<br />

09:00 AM – 04:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

2, 33, 60 สถานีสนามไชย<br />

๕๐๐ ม. Sanamchai Station 500 m<br />

เดอะ ภูธร<br />

The Bhuthorn<br />

230<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

231


O75<br />

อาคารตึกแถวริมถนนมหาราช บริเวณท่าเตียน<br />

SHOPHOUSES ALONG MAHA RAT ROAD, THA<br />

TIEN<br />

塔 田 (Tha Tien) 区 的 格 兰 街 唐 楼<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

300 m<br />

บ้านจักรพงษ์<br />

Chakrabongse Villas<br />

200 m<br />

ย่านท่าเตียน<br />

Tha Tien<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : พระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br />

พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมต<br />

อมรพันธ์<br />

ผู้ครอบครอง : สำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง : : พ.ศ. ๒๔๕๔ และ พ.ศ.<br />

๒๔๖๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

Architect/ Designer :<br />

Prince Sawasdiprawat<br />

Owner/ Overseer :<br />

Crown Property Bureau<br />

Year of construction :<br />

1911 A.D. And 1925 A.D.<br />

Year Awarded : 2016 A.D.<br />

พื้นที่บริเวณท่าเตียนเคยเป็นย่าน<br />

การค้าสำคัญในทุกยุคสมัยและเคย<br />

เป็นตลาดรวมสินค้าต่างๆ ที่อยู่ใกล้<br />

พระบรมมหาราชวังมากที่สุด ช่วง<br />

แรกของการเป็นตลาดมีการก่อสร้าง<br />

อาคารตึกแถวและห้องแถวไม้ ๒<br />

ชั้น ต่อมาในช่วงหลังก็รื้อสร้างใหม่<br />

ด้วยรูปแบบสมัยใหม่ด้วยโครงสร้าง<br />

คอนกรีตเสริมเหล็ก จนในช่วง พ.ศ.<br />

๒๕๕๘ สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์ ได้ทำการปรับปรุง<br />

ซ่อมแซมอาคารจนสมบูรณ์สวยงาม<br />

อย่างที่เห็นในปัจจุบัน<br />

Tha Tien, the closest market<br />

to the Grand Palace, has always<br />

been a commercial hub. Originally,<br />

the market consisted of two-story<br />

timber shophouses but was replaced<br />

by more modern reinforcedconcrete<br />

shophouses. In 2015, the<br />

Crown Property Bureau renovated<br />

them to its current condition.<br />

塔 田 地 区 街 巷 历 来 是 一 个 主 要 的 商 品 贸 易 区 和<br />

各 种 产 品 的 集 市 , 坐 落 在 大 皇 宫 附 近 。 初 期 的 集 市<br />

建 有 两 层 木 质 结 构 的 联 排 别 墅 式 房 屋 。 近 代 以 来 ,<br />

旧 式 排 房 被 拆 除 并 采 用 现 代 风 格 的 钢 筋 混 凝 土 结 构<br />

重 建 。2015 年 , 皇 冠 地 产 局 将 该 大 楼 完 全 翻 修 至 今 。<br />

ถนนมหาราช แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร Maha Rat Road, Phra<br />

Borom Maha Ratchawang, Phra Nakhon<br />

ทุกวัน เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๘.๐๐ น.<br />

Everyday 09:00 AM – 06:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

44, 47, 53, 82 สถานีสนามไชย<br />

๕๐๐ ม. Sanamchai Station 500 m<br />

900 m<br />

หอศิลป์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

Art Centre, Silpakorn<br />

University<br />

232<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

233


O76<br />

พิพิธภัณฑ์บ้านเอกะนาค<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา<br />

BAN EKKANAK MUSEUM, BANSOMDEJCHAOPRAYA<br />

RAJABHAT UNIVERSITY<br />

纳 迦 皇 家 大 学 专 业 博 物 馆 。<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.1 km<br />

มัสยิดบางหลวง<br />

Bang Luang Mosque<br />

200 m<br />

ย่านถนนอิสรภาพ<br />

Itsaraphap Road<br />

1.5 km<br />

พิพิธภัณฑ์บ้านคุณหลวง<br />

ฤทธิ์ณรงค์รอน<br />

Khun Luang Rit<br />

Narong Ron Museum<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : มหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

บ้านสมเด็จเจ้าพระยา<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ.๒๔๖๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer : Bansomdejchaopraya<br />

Rajabhat University<br />

Year of construction : 1919 A.D.<br />

Year Awarded : 2012 A.D.<br />

บ้านเก่าสองชั ้นแบบครึ่งปูนครึ่ง<br />

ไม้ หลังคาทรงปั้นหยามุงกระเบื้องว่าว<br />

การก่อสร้างได้รับอิทธิพลจากตะวัน<br />

ตกผสมผสานลวดลายฉลุแบบเรือน<br />

ขนมปังขิง ปัจจุบันมีการซ่อมแซม<br />

จนอยู่ในสภาพสมบูรณ์ จัดตั้งเป็น<br />

พิพิธภัณฑ์ศูนย์กรุงธนบุรีศึกษา เพื่อ<br />

เป็นแหล่งรวมความรู้ด้านวัฒนธรรม<br />

ของกรุงธนบุรี ด้วยการเก็บรวบรวม<br />

ศึกษาวิจัย สร้างองค์ความรู้ทาง<br />

วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น<br />

แสดงวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาว<br />

ชุมชนฝั่งธนบุรี<br />

The structure of this two-story<br />

house is half-timber half-concrete.<br />

Main characteristics include hip<br />

roof, diamond-shaped roof tiles<br />

and western-influenced exquisitely<br />

carved panels – typical of the<br />

gingerbread architecture. It has<br />

been renovated and is now used<br />

as a museum on Thonburi Studies.<br />

The museum brings together local<br />

knowledge and research on culture<br />

and communities in Thonburi.<br />

这 是 一 栋 两 层 , 半 砖 木 结 构 的 老 式 小 楼 , 用 红<br />

色 瓦 片 铺 成 的 斜 坡 式 屋 顶 融 合 了 西 方 的 建 筑 风 格 , 整<br />

栋 房 子 是 由 模 板 块 组 合 而 成 。 目 前 , 这 座 古 老 的 房 子<br />

以 被 修 缮 一 新 , 建 成 了 博 物 馆 及 教 育 中 心 , 也 成 为 了<br />

吞 武 里 文 化 的 史 料 馆 。 通 过 收 集 、 研 究 和 整 理 使 当 地<br />

的 文 化 得 以 保 存 , 同 时 也 展 示 了 吞 武 里 社 区 居 民 的 生<br />

活 方 式 。<br />

๑๐๖๑ ซอยอิสรภาพ ๑๕ ถนน<br />

อิสรภาพ แขวงหิรัญรุจี เขตธนบุรี 1061<br />

Soi Itsaraphap 15, Itsaraphap Road,<br />

Hiranruchi, Thonburi วันจันทร์-<br />

ศุกร์ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๓๐ น. โปรด<br />

ติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม<br />

Mon - Fri 09:00 AM – 04:30 PM (Please<br />

arrange a visit in advance)<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

40, 149, 177 สถานีอิสรภาพ<br />

๑.๓ กม. Itsaraphap Station 1.3 km<br />

234<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

235


O77<br />

พิพิธภัณฑ์บ้านคุณหลวงฤทธิ์ณรงค์รอน<br />

KHUN LUANG RIT NARONG RON MUSEUM<br />

鲁 昂 戈 吏 特 故 居 博 物 馆<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.5 km<br />

พิพิธภัณฑ์บ้านเอกะนาค<br />

Ban Ekkanak Museum<br />

1.4 km<br />

ย่านวงเวียนใหญ่<br />

Wongwian Yai<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : สถาปนิกชาวอิตาลี<br />

ผู้ครอบครอง : โรงเรียนฤทธิ์ณรงค์รอน<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ.๒๔๖๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

Architect/ Designer : Italian architect<br />

Owner/ Overseer :<br />

Ritthinarongron School<br />

Year of construction : 1923 A.D.<br />

Year Awarded : 2010 A.D.<br />

อาคารสองชั้นแบบยุโรปที ่นิยม<br />

สร้างกันในยุคสมัยนั้น ปูพื้นด้วยไม้สัก<br />

ทั้งหลัง การวางผังภายในแบ่งอาคาร<br />

เป็น ๓ ส่วนโดยมีโถงกลางรูปสี่เหลี่ยม<br />

ผืนผ้าเป็นตัวแบ่งพื้นที่ของอาคารออก<br />

เป็นด้านซ้ายและขวา ด้านหลังอาคาร<br />

มีบันไดเวียนครึ่งวงกลมอยู่แนบติดกับ<br />

ผนังโค้งเป็นทางขึ้นชั้นสอง ซึ่งบันไดนี้<br />

มีความพิเศษตรงที่ไม่มีเสารับน้ำหนัก<br />

แต่ใช้วิธีถ่ายน้ำหนักไปสู่ผนังโดยตรง<br />

เหนือบันไดมีหน้าต่างและช่องกระจก<br />

สูงให้แสงและลมผ่านได้สะดวก<br />

The museum is a two-story<br />

European building – a favourite<br />

architectural style of its time. Teak<br />

was chosen as the finishing material<br />

for the floors. The building is divided<br />

into three parts: the rectangular<br />

foyer in the middle and the two<br />

adjacent sections to the left and<br />

right. At the back, there is a spiral<br />

staircase leading the visitor to the<br />

second floor. The unique feature<br />

of this staircase is that there is<br />

no column supporting its weight.<br />

Above the stairs lie the windows and<br />

openingsto permit natural light and<br />

ventilation.<br />

博 物 馆 是 座 现 代 的 两 层 欧 式 风 格 建 筑 。 柚 木 地<br />

板 , 内 部 布 局 分 为 三 部 分 , 一 个 矩 形 的 中 央 大 厅 将<br />

建 筑 物 内 部 分 为 左 右 两 部 分 区 域 , 后 面 有 一 个 圆 形 的<br />

螺 旋 形 的 楼 梯 , 可 至 二 楼 。 楼 梯 建 造 独 一 无 二 , 它 没<br />

有 护 栏 , 是 借 助 承 重 墙 依 墙 而 建 的 。 楼 梯 上 方 揭 开 有<br />

天 窗 , 阳 光 通 过 天 窗 的 玻 璃 射 入 室 内 , 光 线 和 通 风 良<br />

好 。<br />

โรงเรียนฤทธิ์ณรงค์รอน ๕๔๔<br />

ซอยเพชรเกษม ๒ แขวงท่าพระ เขต<br />

บางกอกใหญ่ Rithnarongron School,<br />

544 Soi Phetkasem 2, Tha Phra,<br />

<strong>Bangkok</strong> Yai วันจันทร์-ศุกร์<br />

เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๓๐ น. Mon -<br />

Fri 08:30 AM – 04:30 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

7, 84, 175 สถานีท่าพระ ๑.๓ กม.<br />

Tha Phra Station 1.3 km<br />

236<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

237


O78<br />

บ้านศิลปิน คลองบางหลวง<br />

BAAN SILAPIN, KHLONG BANG LUANG<br />

孔 邦 隆 艺 术 之 家<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.5 km<br />

วัดคูหาสวรรควรวิหาร<br />

Wat Kuhasawan<br />

1.2 km<br />

ย่านถนนจรัญสนิทวงศ์<br />

Charan Sanitwong<br />

Road<br />

100 m<br />

ตลาดน้ำคลองบางหลวง<br />

Khlong Bang Luang<br />

floating market<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง : คุณชุมพล อักพันธานนท์<br />

ปีที่สร้าง : ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

Architect/ Designer : Unknown<br />

Owner/ Overseer :<br />

Mr. Chumpol Akpanthanon<br />

Year of construction : Unknown<br />

Year Awarded : 2010 A.D.<br />

เรือนไม้ทรงมะนิลา ๒ ชั้น วางผัง<br />

เป็นรูปตัวแอล (L) ล้อมรอบเจดีย์เก่า<br />

ย่อมุมสิบสอง ตั้งอยู่ในพื้นที่ชุมชน<br />

เก่าแก่ริมน้ำที่มีมาตั้งแต่สมัยกรุง<br />

ศรีอยุธยา ตัวบ้านมีความโปร่งสบาย<br />

ด้วยหน้าต่างบานกระทุ้ง และประตู<br />

บานเสี้ยม เฉลียงด้านหน้าใช้เป็นทาง<br />

เดินและนั่งพักผ่อน ปัจจุบันมีกลุ่ม<br />

ศิลปินซื้อบ้านจากเจ้าของเดิมแล้ว<br />

บูรณะใหม่ ใช้เป็นที่ทำงาน แสดงผล<br />

งานภาพวาดและภาพถ่าย มีร้านกาแฟ<br />

และของที่ระลึก จนกลายเป็นสถานที่<br />

ท่องเที่ยวแบบชุมชนที่ช่วยดึงดูดให้นัก<br />

ท่องเที่ยวได้มาศึกษาความเป็นอยู่และ<br />

วิถีชีวิตของชาวบ้านริมน้ำ<br />

Baan Silapin is a two-story<br />

Manila building located in an old<br />

canal-side community dating<br />

back to the Ayutthaya Kingdom.<br />

The building has an L-shaped floor<br />

plan surrounding an old pagoda.<br />

The house is well-ventilated with<br />

windows and folding doors. The<br />

veranda at the front functions as<br />

a circulation space as well as an<br />

excellent place to relax. Recently, a<br />

group of artists bought the house<br />

from its previous owner, renovated<br />

and turned it into a studio and gallery<br />

for paintings and photography.<br />

There are also a café and a souvenir<br />

shop. The house has now<br />

become a local tourist attraction<br />

for visitors interested in living near<br />

a river.<br />

孔 邦 隆 艺 术 之 家 是 一 处 有 着 百 年 历 史 的 双 层 柚<br />

木 L 形 建 筑 , 地 处 湄 南 ( 昭 披 耶 ) 河 河 畔 西 侧 一 处 老 社<br />

区 中 , 周 边 还 尚 存 有 十 二 座 古 塔 , 历 史 可 追 溯 到 大 城<br />

王 朝 时 期 。 这 座 老 木 屋 内 通 风 、 凉 爽 , 其 门 廊 成 了 游<br />

客 的 走 道 和 休 息 区 , 分 布 有 画 廊 、 咖 啡 馆 和 木 偶 演 出<br />

场 地 。 现 今 , 一 批 批 艺 术 家 前 来 , 从 房 主 手 上 购 下 老<br />

房 子 , 翻 新 后 开 设 自 己 的 艺 术 品 工 作 室 , 展 示 绘 画 或<br />

照 片 , 开 设 咖 啡 馆 或 售 卖 纪 念 品 店 。 这 里 已 经 成 为 老<br />

社 区 的 新 景 点 , 正 在 吸 引 更 多 游 客 前 来 体 验 湄 南 ( 昭 披<br />

耶 ) 河 畔 居 民 的 悠 闲 和 慢 生 活 。<br />

๓๑๕ ซอยเพชรเกษม ๒๘ ถนน<br />

เพชรเกษม แขวงคูหาสวรรค์ เขต<br />

ภาษีเจริญ 315 Khlong Bang Luang,<br />

Khuha Sawan, Phasi Charoen<br />

จันทร์ – อังคาร เวลา ๑๐.๐๐ – ๑๘.๐๐ น.<br />

พุธ – พฤหัสบดี เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๘.๐๐ น.<br />

เสาร์ – อาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๙.๐๐ น.<br />

Mon – Tue 10:00 AM – 06:00 PM,<br />

Wed – Thu 09:00 AM – 06:00 PM,<br />

Sat – Sun 09:00 AM – 07:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

7, 80, 84, 91, 101 สถานีบางไผ่ ๑ กม.<br />

Khlong Bang Phai Station 1 km<br />

สถานีบางหว้า ๑.๖ กม. Bang Wa<br />

Station 1.6 km<br />

238<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

239


เส้นทางสถาปัตยกรรมดีเด่น<br />

ตัวแทนผลงานสถาปนิกไทย<br />

ROUTES FOR BEST<br />

ARCHITECTURE,THE REP-<br />

RESENTATION OF THE BEST<br />

ARCHITECTS OF THAILAND<br />

泰 国 优 秀 建 筑 之 旅 — 具 有 代 表 性 的 建 筑 成 果<br />

นอกจากรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ซึ่งเป็นอาคารที่ทรงคุณค่าควร<br />

แก่การอนุรักษ์ให้คนรุ่นหลังได้เห็นแล้ว ยังมีผลงานรางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น<br />

และ ผลงานที่สมควรแสดงและเผยแพร่ ที่ถูกคัดเลือกจากสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

กระจายตัวอยู่ทั้งในพื้นที่กรุงเทพฯ และต่างจังหวัดอีกหลายแห่ง จนไม่สามารถจัด<br />

เส้นทางให้ไปท่องเที่ยวชมงานได้ บางผลงานยังเป็นบ้านพักอาศัย หรืออยู่ในพื้นที่<br />

ส่วนบุคคลที่ไม่ได้เปิดให้เข้าชม เราจึงขอนำเสนอผลงานสถาปัตยกรรมบางส่วน<br />

ไว้ เสมือนเป็นตัวแทนผลงานของเหล่าสถาปนิกไทยทั้งหมด เพื่อเป็นกำลังใจให้<br />

พี่น้องสถาปนิกได้สร้างงานออกแบบดีๆ มาประดับวงการออกแบบของไทย และ<br />

ต้องขอขอบคุณทุกท่านที่เห็นความสำคัญ ช่วยกันอนุรักษ์และสร้างสรรค์อาคาร<br />

สถาปัตยกรรมในเมืองไทย ให้มีเรื่องราวที่น่าสนใจและเป็นที่น่าจดจำกันต่อไป<br />

Apart from the “Best Architectural Art Conservation Award” which granted<br />

awards to the conservation of the old valuable buildings as architectural<br />

legacy to the later generation, there is a “Best Architecture Award” or an<br />

award for the architectural works that are worth recognizing which were<br />

selected by the Association of Siamese Architects. The award-winning<br />

architectures, sometimes, are a located separately in different locations<br />

around <strong>Bangkok</strong> and other provinces of Thailand. Some of the works are<br />

private residence or situated in the private area without granting public<br />

access. However, here, we have gathered s list of the award-winning architectural<br />

works as the representation of the best works of the architects<br />

all over the country to encourage the younger generation and the others<br />

to create more of the good works. We are very grateful for everyone who<br />

pays attention to the conservation and the creation of the architectures<br />

in Thailand and give them the lives they can continue living.<br />

被 建 筑 协 会 挑 选 出 来 的 这 些 建 筑 , 除 了 得 到 妥 善 的 保 护 , 能 够 让 后 人 继 续 得 以 欣 赏 以 外 , 还 获 得 该 协 会 认 可 的 优<br />

秀 建 筑 奖 励 , 我 们 应 该 将 其 发 表 推 广 , 向 世 人 展 示 。 但 是 由 于 其 中 的 很 多 建 筑 分 散 在 曼 谷 以 及 外 府 , 有 一 些 建 筑<br />

仍 作 为 住 宅 使 用 , 或 者 是 在 私 人 领 域 内 不 向 外 公 开 , 不 便 作 为 旅 游 景 点 供 游 客 观 赏 , 因 此 我 们 把 这 些 优 秀 的 建 筑<br />

成 果 介 绍 给 大 家 , 目 的 是 为 了 鼓 励 建 筑 师 们 勇 于 创 新 , 设 计 出 更 多 更 好 的 建 筑 。 借 此 机 会 , 也 要 感 谢 给 予 关 注 和<br />

支 持 的 所 有 人 , 一 起 为 泰 国 的 建 筑 事 业 贡 献 力 量 , 继 续 保 护 和 创 新 , 使 得 我 们 的 建 筑 行 业 能 够 持 续 的 发 展 下 去 。<br />

240<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

241


Soi<br />

Lan Luang 10<br />

Sams<br />

g Rd.<br />

.<br />

a Rd.<br />

o Rd Somdet Phra Pin Klao Bridge<br />

Na Phra Lan Rd<br />

Maha Rat Rd<br />

Itsaraphap Rd<br />

Rop Krung Canal<br />

Rop Krung Canal<br />

Rop Krung Canal<br />

Rama VIII Rd<br />

Visut Kasat Rd.<br />

Rracha Thipatai Rd.<br />

Soi Thewet 3<br />

Ratchdamnern Nok Rd.<br />

Maha Nak Canal<br />

Phitsanulok Rd.<br />

เส้นทางสถาปัตยกรรมดีเด่น ตัวแทนผลงานสถาปนิกไทย<br />

ROUTES FOR BEST ARCHITECTURE, THE REPRESENTATION<br />

Arun Amarin Rd<br />

Samsen Rd.<br />

OF THE BEST ARCHITECTS OF THAILAND<br />

泰 国 优 秀 建 筑 之 旅 — 具 有 代 表 性 的 建 筑 成 果<br />

Sanam Chai Rd<br />

Ratchadamnoen Nai Rd<br />

Phra Sumen Rd<br />

โรงแรม อมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต<br />

Chakrabongse Rd<br />

79 Amari Don Muang Airport <strong>Bangkok</strong> 84<br />

廊 曼 机 场 阿 玛 尼 酒 店<br />

80<br />

81<br />

Chakphet Rd<br />

Ratchadamnoen Klang Rd<br />

Kalayana Maitri Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Phra Pokklao Rd<br />

Tri Phet Rd<br />

Chakphet Rd<br />

Mahannop Rd.<br />

Din So Rd.<br />

Somdet Chao Phraya Rd<br />

Phra Sumen Rd<br />

อาคารสำนักงานใหญ่ บริษัท ปตท. จำกัด<br />

(มหาชน) Head Office of PTT Public<br />

Company Limited 泰 国 国 家 石 油 公 司 总 公 司<br />

ตึกหุ่นยนต์ สำนักงานใหญ่<br />

ธนาคาร ยูโอบี จำกัด (มหาชน)<br />

Robot Building, UOB Limited<br />

Headquarter<br />

大 华 银 行 曼 谷 总 办 事 处 的 机 器 人 楼<br />

เมืองไทยภัทร คอมเพล็กซ์<br />

82 87<br />

Muang Thai Phatra Complex<br />

泰 国 帕 特 拉 综 合 楼<br />

83<br />

อาคารที่ทำการ<br />

กระทรวงการต่างประเทศ<br />

The Office of The Ministry of<br />

Foreign Affairs 外 交 部 办 事 处<br />

84<br />

Maha Chai Rd.<br />

Chakkrawat Rd.<br />

Tha Din Daeng Rd<br />

85<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

86<br />

Lung Rd.<br />

88<br />

Worachak Rd.<br />

Charoen Krung Rd<br />

Yaowarat Rd<br />

Chao<br />

Chiang Mai Rd<br />

Plaeng Nam Rd<br />

Chakka Phatdiphong Rd.<br />

Lung Rd.<br />

Phanlang Rd.<br />

Nakhon Sawan Rd.<br />

Soi<br />

Lan Luang 4<br />

Soi<br />

Lan Luang 6<br />

Yaowarat Rd<br />

Nakhon Pathom Rd.<br />

Rama V Rd.<br />

Soi<br />

Luk Luang 9<br />

อุทยานเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ<br />

พระศรีนครินทราบรมราชชนนี<br />

Princess Mother<br />

Memorial Park<br />

王 妃 母 亲 纪 念 公 园<br />

Luk Luang Rd.<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Suphamit Rd.<br />

Dumrongrak Rd.<br />

Lan Luang Rd.<br />

สถาบันบัณฑิตศึกษา จุฬาภรณ์<br />

Chulabhorn Graduate School<br />

朱 拉 蓬 研 究 所<br />

เดอะ คอมมอนส์<br />

The Commons<br />

曼 谷 康 蒙 斯 商 场<br />

ป่าในกรุง<br />

Forest in the city<br />

地 铁 森 林<br />

เดอะแจมแฟคทอรี่<br />

The Jam Factory<br />

果 酱 工 厂<br />

Phraya<br />

River<br />

Bamrung Maung Rd.<br />

Maitri Chit Rd<br />

Santiphap<br />

Rama IV Rd.<br />

Mittraphan Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Maitri Chit Rd<br />

Soi Wanit 2<br />

Soi Luk Luang 7<br />

Krung Kasem Rd<br />

Mittraphan Rd<br />

Soi Liap Khlong Phadung Kasem<br />

Khao Lam Rd<br />

Khao Lam Rd<br />

Charoen Krung Rd<br />

Mahaphuruttharam<br />

Soi Phitsanulok 1<br />

Soi 4<br />

Krung Kasem Rd.<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Soi Lan Luang 14<br />

Soi Lan Luang 2<br />

Saen Saep Canal<br />

Charu Mueang<br />

Sawang Rd<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Phetchaburi<br />

Rama<br />

Saen Saep Can<br />

Rama VI Rd.<br />

Banthat Thong Rd Banthat Thong R<br />

R<br />

Charoen Nakhon Rd<br />

Prajadhipok Rd<br />

Lat Ya Road<br />

88<br />

Sirat Expy (Toll Rd.)<br />

Rd<br />

Maha Set Rd<br />

Tak Sin Rd<br />

Rd


Khlong Premprachakon<br />

Soi 20 Mithuna<br />

Khlong Premprachakon<br />

Soi 20 Mithuna<br />

Rd.<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Kamphange Phet 5 Rd.<br />

Rama VI Rd.<br />

Ratchawithi Rd.<br />

Phahon<br />

Ratchawithi Rd.<br />

Srongprapha Rd.<br />

Soi Ratchawithi 4<br />

Don Muang<br />

Choetwu thakat Rd.<br />

Kamphaengphet 6 Rd.<br />

Don Muang<br />

International Airport<br />

Ratchawithi Rd.<br />

Don Muang To<br />

N<br />

2<br />

Sawankhalok Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

83<br />

Rama VI Rd. Rama VI Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Prachachuen Rd.<br />

Vibhavadi Rangsit<br />

80<br />

Phayathai Rd<br />

Utraphimuk Elevated To lway<br />

Sri Ayuthaya Rd.<br />

Chaengwa thana Road<br />

Kamphaengphet 6 Rd.<br />

79<br />

Prachachuen Rd.<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Ratchaprarop Rd<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

Rachadapisek Rd.<br />

Rachadapisek Rd.<br />

Soi Ratchada Phisek 18<br />

Chaturathit Rd<br />

Lak Si<br />

Phahon Yothin Rd.<br />

Soi 20 Mithuna<br />

Din Daeng Rd<br />

Phahon Yothin Rd. 54/1<br />

Srongprapha R<br />

p Canal<br />

Kamphaengphet 5 Rd.<br />

Saen Saep Canal<br />

Rama VI Rd.<br />

Chaloem Phrakiat Rama 9 Soi 62<br />

Kamphaengphet 5 Rd.<br />

Phetchaburi Rd.<br />

Soi Ruam Samakkhi<br />

Si Rat Expressway<br />

Sri Ayudhaya Rd.<br />

Banthat Thong Rd Banthat Thong Rd<br />

Banthad Thong Rd.<br />

Ratchawithi Rd.<br />

Sukhaphiban 2 Rd.<br />

Saen Saep Canal<br />

Rama I Rd.<br />

87<br />

Utraphimuk Elevated To lway<br />

Khlong Ta Phuk<br />

Phayathai Rd.<br />

Khlong Sing To<br />

Sukhaphiban ll<br />

Phayathai Rd<br />

Phayathai Rd<br />

Soi Kingkaeo 25/1<br />

Chaloem Maha Nakhon Expressway<br />

Henri Dunant Rd<br />

Kingkaeo Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

Saen Saep Canal<br />

Rama I Rd<br />

Rachadapisek Rd.<br />

Rachadapisek Rd.<br />

Soi Ratchada Phisek 18<br />

Sutthisan<br />

82<br />

Ratchadamri Rd<br />

Ratchadamri Rd<br />

New Phetchaburi Rd.<br />

Phetchaburi Rd<br />

Si Rat Expressway<br />

Saen Saep Canal<br />

Rama 9 Rd.<br />

Soi 20 Mithuna<br />

Thiamruammit Rd.<br />

Thiamruammit Rd.<br />

Phloen Chit Rd<br />

Witthayu Rd<br />

Thong Lo<br />

85<br />

Chaengwatthana Road<br />

Kamphaengphet 6 Rd.<br />

P<br />

Saen Saep Cana<br />

Rama 4 Rd<br />

Rama IV Rd. Rama IV Rd.<br />

Si Phraya Rd<br />

Soi Sarasin<br />

86<br />

Soi Sukhumwit 49<br />

Soi Thonglor 17<br />

Soi Thonglor 15<br />

Soi Thonglor 1<br />

Soi Sukhumwit 55<br />

Chalerm Maha Nakhon Expy Chalerm Maha Nakhon Expy<br />

Soi Sukhumwit 63<br />

Sap Rd<br />

Surawong Rd<br />

Patpong Rd<br />

Thiamruammit Rd.<br />

Saladaeng Rd<br />

Rama IV Rd<br />

Duang Phithak Rd<br />

Sathon Tai Rd.<br />

Convent Rd<br />

Silom Rd<br />

Sathorn Rd<br />

Thiamruammit Rd.<br />

81<br />

Rama IV Rd


O79<br />

โรงแรม อมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต<br />

AMARI DON MUANG AIRPORT BANGKOK<br />

廊 曼 机 场 阿 玛 尼 酒 店<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

100 m<br />

สนามบินดอนเมือง<br />

Don Muang<br />

international airport<br />

1.0 km<br />

ย่านถนนสรงประภา<br />

Songprapa street area<br />

9.0 km<br />

พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทย<br />

ร่วมสมัย<br />

MOCA <strong>Bangkok</strong><br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : บริษัท คาซ่า จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง : บริษัท ดอนเมือง อินเตอร์<br />

เนชั่นแนล แอร์พอร์ต โฮเต็ล จำกัด<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

Architect/ Designer : CASA Co., Ltd.<br />

Owner/ Overseer :<br />

Don Muang International Airpot<br />

Hotel Co., Ltd.<br />

Year of construction : 1982 A.D.<br />

Year Awarded : 1984 A.D.<br />

โรงแรมทำเลดีที่ตั้งอยู่ตรงข้าม<br />

กับสนามบินดอนเมือง ซึ่งลูกค้าส่วน<br />

ใหญ่จะเป็นนักท่องเที ่ยวต่างชาติ<br />

ที่มาต่อเครื่องหรือพักผ่อนระยะสั้น<br />

ที่ต้องการความสะดวกสบายและอยู่<br />

ใกล้กับสนามบินมากที่สุด ด้วยความ<br />

ที่ต้องให้บริการกับนักท่องเที่ยวจาก<br />

ทั่วโลกเสมือนประตูสู่เมืองไทย จึงถูก<br />

ออกแบบให้มีส่วนบริการต่างๆ ให้ได้<br />

มาตรฐานของโรงแรมชั้นหนึ่ง ด้วย<br />

ข้อจำกัดด้านความสูงอาคารที่อยู่ใกล้<br />

สนามบินจึงออกแบบตัวอาคารสูง ๕<br />

ชั้น ล้อมรอบลานโล่งขนาดใหญ่ซึ่งใช้<br />

เป็นสระว่ายน้ำ สวน และส่วนบริการ<br />

อาหารและเครื่องดื่ม ที่ให้ความเป็น<br />

ส่วนตัวอย่างเต็มที่ ขณะเดียวกันการ<br />

วางผังเชื่อมต่องานบริการต่างๆ รวม<br />

ถึงระบบบริการลูกค้า ก็ถูกออกแบบ<br />

ให้มีความรวดเร็ว ซึ่งนักท่องเที่ยว<br />

จะต้องเดินทางไปถึงห้องผู้โดยสาร<br />

ขาออกด้วยระยะทางและใช้เวลาน้อย<br />

ที่สุดด้วย<br />

A hotel that situated in the<br />

prime location on the opposite side<br />

of the Don Muang International<br />

Airport. Many of the clients are the<br />

foreigners who stop by for their<br />

plane change. It is comfortable the<br />

closest to the airport. With the aim<br />

to service tourists from all around<br />

the world as the open gate to<br />

Thailand, the hotel was designed<br />

at the best quality of the first class<br />

hotel. Under the height restriction<br />

for buildings around the airport, it<br />

was designed to have only 5 floors<br />

with the court that consisted of the<br />

pool, the garden and the catering<br />

service in the middle. At the same<br />

time, the plan for the connection of<br />

the service and the client service<br />

system was designed to be very<br />

responsive to the client’s need because<br />

the clients are tourists who<br />

need travel the shortest distance<br />

and spend the least time to arrive<br />

the departure gate.<br />

该 酒 店 位 于 廊 曼 机 场 正 对 面 , 地 理 位 置 优 越 ,<br />

因 此 大 部 分 顾 客 是 外 国 游 客 , 不 管 是 来 乘 机 还 是 短 期<br />

居 住 , 该 酒 店 都 是 最 方 便 而 且 离 机 场 最 近 的 酒 店 。 为<br />

了 向 全 世 界 的 游 客 提 供 更 好 的 服 务 , 该 酒 店 的 设 计 和<br />

建 造 都 是 按 照 顶 级 酒 店 的 标 准 来 设 计 建 造 的 。 由 于 受<br />

机 场 附 近 建 筑 物 限 高 的 要 求 , 该 酒 店 一 共 仅 有 五 层 ,<br />

宽 敞 的 院 子 则 用 来 作 游 泳 池 、 花 园 和 用 餐 区 , 整 个 设<br />

计 布 局 都 为 顾 客 提 供 一 个 私 人 的 服 务 环 境 。 而 且 游 客<br />

到 航 站 楼 也 只 需 要 很 短 的 时 间 就 能 到 达 。<br />

244<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


๓๓๓ ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงดอนเมือง เขตดอนเมือง 333 Cherdwuttakat, Don Muang, Don Muang<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม Please contact in advance for a visit ภายนอก และภายใน<br />

Exterior and Interior ไม่เสียค่าเข้าชม free entry 25, 59, 187, 510, 523, 538 สถานีดอนเมือง ๕๐ ม.<br />

Don Muang station 50 m<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

245


O80<br />

อาคารสำนักงานใหญ่ บริษัท ปตท. จ ำกัด (มหาชน)<br />

HEAD OFFICE OF PTT PUBLIC COMPANY LIMITED<br />

泰 国 国 家 石 油 公 司 总 公 司<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1 km<br />

สวนจตุจักร<br />

Chatuchak Park<br />

1.9 km<br />

ตลาดนัดจตุจักร<br />

Chatuchak Market<br />

4.1 km<br />

พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทย<br />

ร่วมสมัย<br />

MOCA <strong>Bangkok</strong><br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค จำกัด,<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙ จำกัด<br />

บริษัท ดีไซน์ แอนด์เดเวลอป จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง : สร้างเสร็จ พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

Architect/ Designer : Plan Architect<br />

Co, Ltd., Architects 49 Co., Ltd. and<br />

Design Develop Co., Ltd.<br />

Owner/ Overseer :<br />

PTT Public Company Limited<br />

Year of construction : 1989 AD.<br />

Year Awarded : 1989 AD.<br />

เมื่อองค์กรด้านพลังงานอันดับ<br />

๑ ของไทย จะมีอาคารสำนักงานใหญ่<br />

สักหลัง จึงต้องมีความพิเศษในราย<br />

ละเอียดของการออกแบบที่มากขึ้น<br />

ตัวอาคารสูงแห่งนี้ จึงไม่ได้เป็นแค่สิ่ง<br />

ประดับที่เพิ่มขึ้นบนเส้นขอบฟ้าเมือง<br />

กรุงเท่านั้น แต่เป้าหมายที่จะให้เป็น<br />

สัญลักษณ์ที่สำคัญแห่งหนึ่งในเมือง<br />

กรุงเทพ และโดดเด่นในภาคพื้นเอเชีย<br />

ตะวันออกเฉียงใต้ ถูกถ่ายทอดผ่านรูป<br />

ทรงอาคารที่ยังสามารถสื่อสารกับผู้คน<br />

ถึงสิ่งที่คุ้นเคย มีความกลมกลืนกับ<br />

พื้นที่โดยรอบและเป็นสมบัติส่วนหนึ่ง<br />

ของชุมชน พื้นที่อาคารประกอบด้วย<br />

ส่วนสำนักงาน ห้องประชุม อาคาร<br />

จอดรถ ส่วนอำนวยความสะดวก<br />

ด้านหน้าอาคารวางผังให้หันหน้า<br />

ไปทางทิศเหนือเพื่อต้อนรับมุมมอง<br />

จากเส้นทางสนามบิน ผนังแนวตั้ง<br />

ด้านนอกอาคารติดอักขระไทยไว้เพื่อ<br />

แสดงออกถึงความเป็นตัวตนของ<br />

ความเป็นไทย ระบบโครงสร้างอาคาร<br />

เป็นคอนกรีตเสริมเหล็กที่มีเสาล้อมอยู่<br />

โดยรอบอาคาร<br />

The headquarters of Thailand’s<br />

biggest energy company is<br />

undoubtedly unique in its design.<br />

This remarkable skyscraper does<br />

not only add urban vibes to the<br />

city, but also serves as another<br />

prominent landmark in <strong>Bangkok</strong><br />

or even in Southeast Asia.<br />

Harmoniously blending with<br />

its surroundings, the building<br />

is perceived as intimate and<br />

becomes an asset of community.<br />

The area includes offices, conference<br />

rooms, parking garage, and<br />

various facilities. The front of the<br />

building faces north to be readily<br />

discernible from Directions to the<br />

airport. The vertical wall outside is<br />

embedded with Thai traditional written<br />

characters to represent identity<br />

of the country. The overall structure<br />

is constructed with reinforced concrete<br />

and surrounded by pillars.<br />

当 泰 国 第 一 能 源 企 业 将 要 建 造 几 幢 办 公 大 楼 的<br />

时 候 , 就 需 要 在 更 多 的 设 计 细 节 上 彰 显 特 色 。 因 此<br />

这 幢 十 分 高 的 建 筑 不 仅 仅 是 在 曼 谷 城 市 天 际 线 上 增<br />

添 了 新 的 装 饰 物 , 还 有 一 个 目 标 就 是 使 其 成 为 曼 谷<br />

的 一 个 重 要 标 志 , 并 且 在 东 南 亚 地 区 都 赫 赫 有 名 。<br />

随 着 该 建 筑 被 广 泛 地 使 用 , 这 座 建 筑 成 为 人 们 在 该 地<br />

区 最 熟 悉 的 地 标 性 建 筑 , 也 可 以 看 作 是 留 给 社 会 的 宝<br />

贵 资 产 。 建 筑 区 域 还 包 括 办 公 室 部 分 、 会 议 室 、 停 车<br />

楼 , 综 合 协 调 指 挥 中 心 和 泰 国 发 展 管 理 委 员 会 。 建 筑<br />

正 面 的 规 划 是 面 向 北 方 , 以 便 与 机 场 线 路 成 正 面 迎 接<br />

视 角 。 而 为 了 展 现 泰 国 的 本 土 文 化 , 在 建 筑 物 垂 直 的<br />

外 墙 上 粘 贴 着 泰 国 文 字 。 该 建 筑 的 结 构 体 系 是 四 周 有<br />

柱 子 支 撑 , 然 后 使 用 钢 筋 混 凝 土 进 行 浇 灌 。<br />

246<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


๕๕๕ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงจตุจักร เขตจตุจักร 555 Vibhavadi Rangsit Road, Chatuchak, Chatuchak<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม By appointment only ภายนอกและภายใน Exterior and interior<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม By appointment only 3, 29, 69, 77, 134, 187, 191, 510, 523, 538, 555<br />

สถานีพหลโยธิน ๘๕๐ เมตร Phahon Yothin Station 850 m.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

247


081<br />

ตึกหุ่นยนต์ สำนักงานใหญ่ ธนาคาร ยูโอบี<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

ROBOT BUILDING, UOB LIMITED HEADQUARTER<br />

大 华 银 行 曼 谷 总 办 事 处 的 机 器 人 楼<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

700 m<br />

ภัตตาคารบลูเอเลฟเฟ้นท์<br />

(หอการค้าไทย - จีน)<br />

Blue Elephant restaurant<br />

(Thai-Chinese Chamber<br />

of Commerce)<br />

200 m<br />

ย่านซอยเซนหลุยส์<br />

St. Louis alley area<br />

900 m<br />

บ้าน ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช<br />

Kukrit Pramoj House<br />

248<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : บริษัท สถาปนิก<br />

สุเมธ ชุมสาย จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

ธนาคาร ยูโอบี จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๒๗ - ๒๕๒๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

Architect/ Designer : Sumet Jumsai<br />

Associate Co., Ltd.<br />

Owner/ Overseer : UOB Limited<br />

Year of construction : 1984 - 1986 A.D.<br />

Year Awarded : 1987 A.D.<br />

เมื่อเดินทางผ่านไปบนถนนสาทร<br />

ใต้ คงไม่มีใครที่จะไม่สะดุดตากับ<br />

รูปทรงอาคารแห่งนี้แน่ๆ จากมุม<br />

มองด้านล่างอาจเห็นเป็นเพียงตึกสูง<br />

แบบกล่องสี่เหลี่ยมที่ผนังอาคารชั้น<br />

บนค่อยๆ แคบลดหลั่นกันไป แต่ถ้า<br />

ได้มองภาพรวมจากภาพมุมสูงหรือ<br />

ระยะไกลแล้ว จะเห็นเป็นอาคารรูป<br />

ตัวหุ่นยนต์ได้โดยไม่ต้องจินตนาการ<br />

อะไรเลย เดิมทีเจ้าของโครงการนี้คือ<br />

ธนาคารเอเซีย ซึ่งผู้บริหารในยุคนั้นซึ่ง<br />

ถือเป็นกลุ่มคนรุ่นใหม่ในแวดวงธุรกิจ<br />

ธนาคารที่ต้องการงานออกแบบที่โดด<br />

เด่น สะท้อนภาพถึงระบบธนาคารที่<br />

ทันสมัยด้วยระบบคอมพิวเตอร์ เมื่อ<br />

บวกกับความสนุกของสถาปนิกที่ได้<br />

แรงบันดาลใจจากของเล่นของลูกชาย<br />

และข้อกำหนดของเทศบัญญัติเกี่ยว<br />

กับที่ว่างโดยรอบอาคาร จึงทำให้ได้<br />

ตัวอาคารแบบหุ่นยนต์นี้ขึ้นมาด้วย<br />

ความครบถ้วนทั้งรายละเอียดของ<br />

รูปทรงและพื้นที่ใช้สอยที่สอดคล้อง<br />

กับระบบธนาคาร และอาคารนี้เป็น<br />

หนึ่งในตัวอย่างสุดท้ายของรูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมโมเดิร์นที่ค่อยๆ หาย<br />

ไปในกรุงเทพมหานครนับตั้งแต่ราว<br />

พ.ศ. ๒๕๒๓ เป็นต้นมา<br />

When walking on the Sathorn<br />

Tai street, no one would miss to<br />

notice the unique shape of this<br />

building. From the bottom, it may<br />

seem like a skyscraper with may<br />

boxes in descending orders. However,<br />

when looking from atop or from<br />

distance, you will see the overall of<br />

the robot-shaped building without<br />

having to use your imagination.<br />

The original owner of the project<br />

was the Asia Bank where the then<br />

executives were the new generation<br />

of the business. The Bank needed<br />

an outstanding design for its headquarter<br />

to reflect the modernity of<br />

the bank’s system. When combining<br />

the architect’s idea that inspired<br />

from his son’s toy and the regulation<br />

of the municipal law on the<br />

space around the building, the robot<br />

building was built successfully<br />

with balance between the details of<br />

the shape and the functional spaces<br />

that suit the banking system. This<br />

is one of the last modern-styled<br />

architectures which have been<br />

disappearing from <strong>Bangkok</strong> since<br />

1980 that still stands over time.<br />

当 我 们 从 沙 吞 路 南 段 经 过 的 时 候 , 一 定 没 有 人<br />

能 够 忽 视 这 座 大 楼 的 魅 力 。 如 果 从 楼 下 往 上 看 的 话 仅<br />

仅 是 一 座 普 通 的 方 形 建 筑 , 但 是 , 如 果 从 较 高 或 者 较<br />

远 的 地 方 看 的 话 , 就 能 很 直 观 的 看 到 该 建 筑 的 外 形 就<br />

是 一 个 巨 型 的 机 器 人 。 这 座 大 楼 之 前 是 亚 洲 银 行 在 使<br />

用 , 他 们 的 管 理 者 也 是 比 较 新 潮 的 人 , 认 为 银 行 办 公<br />

楼 的 设 计 也 要 跟 上 时 代 的 发 展 , 符 合 银 行 行 业 信 息 化<br />

的 发 展 , 再 加 上 建 筑 师 从 他 儿 子 的 玩 具 中 得 来 的 灵 感<br />

以 及 市 政 的 相 关 条 例 规 定 , 使 得 这 座 银 行 办 公 大 楼 最<br />

终 被 设 计 为 机 器 人 的 造 型 。 自 从 佛 历 2523 年 起 曼 谷 城<br />

内 的 现 代 建 筑 逐 渐 消 失 , 这 座 大 楼 也 成 为 了 现 代 建 筑<br />

的 典 型 例 子 之 一 。


๑๙๑ ถนนสาทรใต้ แขวงยานนาวา เขตสาทร 191 Sathon Tai Road, Yannawa, Sathon วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา<br />

๐๘.๓๐ – ๑๕.๓๐ น. Mon – Fri 08:30 AM – 03:30 PM ภายนอก Exterior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry 17,<br />

113, 116, 149, 162 สถานีช่องนนทรี หรือสถานีสุรศักดิ์ ๖๕๐ ม. Chong Nonsi Station or Surasak Station 650 m.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

249


082<br />

เมืองไทยภัทร คอมเพล็กซ์<br />

MUANG THAI PHATRA COMPLEX<br />

泰 国 帕 特 拉 综 合 楼<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

2.3 km<br />

ศูนย์วัฒนธรรมแห่ง<br />

ประเทศไทย<br />

Thailand Cultural<br />

Center<br />

350 m<br />

ย่านถนน สุทธิสารวินิจฉัย<br />

Sutthisarn Winichai<br />

road<br />

2.5 km<br />

เมืองไทย รัชดาลัย เธียเตอร์<br />

Muang Thai<br />

Ratchadalai Theatre<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

บริษัท เมืองไทยประกันชีวิต จำกัด<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๓๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

Architect/ Designer :<br />

49 Architecture Co., Ltd.<br />

Owner/ Overseer :<br />

Muang Thai Life Insurance Co., Ltd.<br />

Year of construction : 1988 A.D.<br />

Year Awarded : 1989 A.D.<br />

อีกหนึ ่งอาคารสถาปัตยกรรมที่<br />

ออกแบบให้มีความกลมกลืนสัมพันธ์<br />

กันของประโยชน์ใช้สอยระหว่าง<br />

อาคารใหม่และเก่า เน้นให้เป็นอาคาร<br />

ประหยัดพลังงานด้วยการออกแบบ<br />

ให้มีพื้นที่เส้นรอบรูปหรือระยะช่อง<br />

แสงที่มากพอกับระยะความกว้างของ<br />

ตัวอาคาร ทำให้แสงสว่างธรรมชาติ<br />

กระจายเข้าสู่พื้นที่ภายในได้อย่าง<br />

เต็มที่ และใช้กระจกสะท้อนแสงเพื่อ<br />

ลดปริมาณรังสีความร้อน ส่วนผนัง<br />

อาคารด้านที ่ถูกแสงแดดโดยตรงก็ให้<br />

มีส่วนทึบมากขึ้นเพื่อกันแสงแดดส่อง<br />

เข้าด้านใน ความชัดเจนอีกอย่างของ<br />

อาคารนี้คือ การใช้ธรรมชาติมาช่วย<br />

เสริมคุณค่าทางสถาปัตยกรรม โดย<br />

การเปิดอาคารโล่งสู่ธรรมชาติด้าน<br />

หน้า และมีการประยุกต์สถาปัตยกรรม<br />

ไทยมาใช้ โดยถ่ายทอดมาเป็นการ<br />

ยกพื้นอาคารสูง จัดวางพื้นที่ส่วนกลาง<br />

ให้เป็นลานโล่ง เกิดเป็นพื้นที่กิจกรรม<br />

ที่ดูต่อเนื่องและลื่นไหลเชื่อมโยงกัน<br />

Another the architecture that<br />

was designed for the balance in<br />

functions of the old and the new<br />

buildings. It was designed as a<br />

power-saving building with enough<br />

perimeter space for natural light in<br />

balance with the wideness of the<br />

building which enables plenary<br />

natural light into the building. It uses<br />

reflective glasses to decrease the<br />

heat radiation and darker glasses<br />

on the side of the building that faces<br />

the sunlight directly to prevent<br />

the heat. Another prominent point<br />

of this building is how it applies nature<br />

into architecture by the open<br />

space in front of the building that<br />

embrace the nature. There is also<br />

an application of the Thai styled<br />

architecture by applying the technique<br />

of raising the ground of the<br />

building high with the courtyard as<br />

a communal space for activities.<br />

泰 国 帕 特 拉 综 合 楼 则 是 将 新 旧 建 筑 群 完 美 合 并<br />

为 一 体 , 并 且 设 计 时 通 过 规 划 建 筑 周 长 与 占 地 面 积 的<br />

比 例 , 使 得 自 然 绿 化 景 观 可 以 延 伸 到 室 内 , 通 过 使 用<br />

镜 子 反 射 阳 光 来 减 少 太 阳 辐 射 。 受 到 阳 光 直 射 的 墙 面<br />

也 会 加 固 墙 体 , 以 起 到 防 止 热 量 传 到 室 内 的 作 用 。 该<br />

建 筑 另 一 个 显 著 特 点 就 是 建 筑 前 的 空 地 上 进 行 大 面 积<br />

的 绿 化 , 通 过 使 用 自 然 景 观 提 升 建 筑 整 体 价 值 ; 使 用<br />

泰 国 传 统 建 筑 技 术 来 增 高 建 筑 地 基 ; 并 且 把 中 心 地 区<br />

设 计 为 一 个 大 庭 院 , 成 为 连 接 各 个 建 筑 的 枢 纽 。<br />

๒๕๐ ถนนรัชดาภิเษก แขวงห้วยขวาง<br />

เขตห้วยขวาง 250 Ratchadapisek,<br />

Huay Kwang, Huay Kwang<br />

วันจันทร์ – ศุกร์ เวลา ๐๙.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.<br />

Mon – Fri 09:00 AM – 04:00 PM<br />

ภายนอก Exterior ไม่เสียค่าเข้าชม<br />

Free entry 73, 136, 137, 172, 179, 185<br />

สถานีสุทธิสาร ๒๕๐ ม. Sutthisarn<br />

Station 250 m<br />

250<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

251


O83<br />

อาคารที่ทำการ กระทรวงการต่างประเทศ<br />

THE OFFICE OF THE MINISTRY OF FOREIGN AFFAIRS<br />

外 交 部 办 事 处<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

350 m<br />

ตึกกลม<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

Tuek Klom, Mahidol<br />

University<br />

1.2 km<br />

ย่านแยกพญาไท<br />

Phaya Thai Junction<br />

1.7 km<br />

ราชตฤณมัยสมาคม<br />

Ratchatrinnamai<br />

Society Club<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง : กระทรวงการต่างประเทศ<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๔๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

Architect/ Designer :<br />

49 Architecture Co., Ltd.<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Ministry of Foreign Affairs<br />

Year of construction : 1997 A.D.<br />

Year Awarded : 2002 A.D.<br />

งานสถาปัตยกรรมที่มีความ<br />

ชัดเจนในเรื่องการลดทอนรูปแบบ<br />

ทางสถาปัตยกรรมไทยให้มีความ<br />

ร่วมสมัย แต่ก็ยังแฝงไว้ด้วยความ<br />

เป็นไทย ซึ่งใช้เป็นหัวใจหลักในการ<br />

ออกแบบสถานที่ราชการที่ต้องสะท้อน<br />

ถึงเอกลักษณ์และสัญลักษณ์ระดับชาติ<br />

การวางผังอาคารให้ความสำคัญกับ<br />

พื้นที่โล่ง ลานพิธีการ แล้วใช้หลังคา<br />

จั่วคลุมพื้นที่กว้าง โดยไม่ต้องมีเสา<br />

มารองรับ เพื่อสร้างความแตกต่างไป<br />

จากอาคารราชการแบบเดิมที่เน้นการ<br />

ใช้สอยพื้นที่ภายใน วัสดุตกแต่งและ<br />

ขั้นตอนการทำงานต่างๆ ก็ให้ความ<br />

สำคัญในการทำงานร่วมกันระหว่าง<br />

สถาปนิก และผู้ชำนาญการศิลปะใน<br />

แขนงต่างๆ ตั้งแต่ช่างอาวุโสจาก<br />

กรมศิลปากร ศิลปินที่เชี ่ยวชาญงาน<br />

ลวดลายรดน้ำ และงานลวดลายแกะ<br />

สลักประดับอาคารตามลักษณะแบบ<br />

ไทยดั้งเดิม จนเกิดงานออกแบบที่<br />

มีลักษณะไทยท่ามกลางกระแสนิยม<br />

สถาปัตยกรรมตะวันตกได้อย่างลงตัว<br />

The architectural work that is<br />

prominent in the minimization of<br />

the template of Thai architecture<br />

into modern style that combines<br />

the uniqueness of Thai style within.<br />

The key to the design of Thai governmental<br />

building is to keep the<br />

Thai uniqueness and reflect the<br />

symbol of national culture. The plan<br />

of the building placed importance<br />

on the open area and the ceremonial<br />

court and using the gabled<br />

roof to cover the spaces without<br />

pillars to make it different from the<br />

traditional design of governmental<br />

building which prioritized the functional<br />

spaces inside the building.<br />

The working process of the decoration<br />

was the cooperation between<br />

the architect and the art specialists<br />

such as the senior craftsman from<br />

the Fine Arts Department, an artist<br />

who specialized in Thai traditional<br />

gold patterns work, and a specialist<br />

in the crafted wooden patterns as<br />

a decoration for traditional Thai<br />

architecture. All of them contributed<br />

to the building of this beautiful<br />

Thai styled building in the rising<br />

popularity of the western styled<br />

buildings.<br />

虽 然 在 城 市 建 筑 的 设 计 中 泰 国 元 素 逐 渐 减 少 ,<br />

融 合 了 更 多 的 现 代 元 素 , 但 是 在 建 筑 成 品 中 仍 然 或 多<br />

或 少 的 隐 藏 着 泰 国 文 化 。 因 此 在 政 府 部 门 的 建 筑 设 计<br />

中 , 仍 然 把 泰 国 元 素 作 为 建 筑 的 主 体 , 为 的 是 体 现 国<br />

家 和 民 族 的 象 征 及 其 文 化 。 重 视 空 地 和 布 局 的 设 计 ,<br />

空 旷 的 空 地 上 也 会 用 山 墙 式 屋 顶 围 起 来 , 而 不 是 像 过<br />

去 一 样 仅 仅 使 用 支 撑 杆 , 目 的 就 是 为 了 与 之 前 倾 向 于<br />

室 内 设 计 的 旧 政 府 建 筑 区 分 开 来 。 装 饰 材 料 和 施 工 程<br />

序 等 方 面 , 也 注 重 建 筑 师 与 艺 术 专 家 的 共 同 合 作 , 通<br />

过 泰 国 文 化 艺 术 厅 的 高 级 技 师 、 壁 画 专 家 以 及 擅 长 传<br />

统 泰 式 花 纹 的 工 匠 一 起 共 同 合 作 , 最 终 完 成 了 这 一 座<br />

以 泰 式 传 统 风 格 为 主 、 并 且 融 合 了 西 方 元 素 的 建 筑 。<br />

252<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


๔๔๓ ถนนศรีอยุธยา แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี 443 Sri Ayudhya road, Thoong Phayathai, Ratchatewi<br />

โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม By appointment only ภายนอก Exterior ไม่เสียค่าเข้าชม<br />

Free entry 8, 44, 72, 157, 503 สถานีพญาไท ๑.๒ กม. Phayathai station 1.2 km.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

253


O84<br />

อุทยานเฉลิมพระเกียรติ<br />

สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี<br />

PRINCESS MOTHER MEMORIAL PARK<br />

王 妃 母 亲 纪 念 公 园<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

550 m<br />

มัสยิดเซฟี<br />

Seyfee Mosque<br />

650 m<br />

ตลาดท่าดินแดง<br />

Tha Dindaeng Market<br />

950 m<br />

พระบรมธาตุเจดีย์<br />

วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร<br />

Phraboromathat<br />

Chedi, Wat Prayoonwongsawat<br />

Temple<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :บริษัท นนท์ - ตรึงใจ<br />

สถาปนิกและนักวางผัง จำกัด<br />

(คุณนนท์ บูรณสมภพ, ศาสตราจารย์ ดร.<br />

ตรึงใจ บูรณสมภพ และคุณอดิศักดิ์ ชุ่มศิริ)<br />

ผู้ครอบครอง : มูลนิธิชัยพัฒนา<br />

ปีที่สร้าง : สร้างเสร็จ พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

Architect/ Designer : Non – Truengjai<br />

Architecture and Planning Co., Ltd.<br />

(Mr. Nont Buranasomphob,<br />

Prof. Dr. Truengjai Buranasomphob<br />

and Mr. Adisak Chumsiri)<br />

Owner/ Overseer :<br />

Chaipattana Foundation<br />

Year of construction : 1994 A.D.<br />

Year Awarded : 2008 A.D.<br />

ความร่มรื่นของสวนสาธารณะ<br />

เล็กๆ แห่งนี้ อาจไม่เป็นที่รู้จักของ<br />

คนในเมืองใหญ่ แต่ถือเป็นของดี<br />

อันทรงคุณค่าในย่านคลองสานฝั่ง<br />

ธนบุรีได้เลย กลุ่มอาคารตึกปนไม้ที่<br />

มีทั้งอาคาร ๒ ชั้น และตึกแถวเรือน<br />

บริวารชั้นเดียว ที่สร้างขึ้นตามแบบ<br />

สถาปัตยกรรมในยุคสมัยรัชกาลที่<br />

๕ ตั้งอยู่ในพื้นที่ซึ่งเคยเป็นบ้านของ<br />

อธิบดีกรมการคลังในสมัยนั้น ซึ่ง<br />

อาคารบางหลังก็มีลักษณะประยุกต์<br />

มาจากสถาปัตยกรรมจีนจากสมัย<br />

รัชกาลที่ ๓ และเมื่อ พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

ได้มีการบูรณะปรับปรุงอาคารปรัก<br />

หักพังให้อยู่ในสภาพเดิม ซึ ่งส่วน<br />

ที่เป็นอาคารพิพิธภัณฑ์นั้นได้มีการ<br />

ยกหลังคาให้สูงโล่ง เพื่อเปิดเป็น<br />

โถงโล่งไปตลอดแนว ปรับช่องแสง<br />

บางส่วนให้เปิดรับแสงธรรมชาติได้<br />

เต็มที่ จนเกิดการเชื่อมต่อระหว่าง<br />

พื้นที่ภายในกับธรรมชาติรอบนอกได้<br />

มากขึ้น โดยยังอนุรักษ์ต้นไม้ใหญ่ ซุ้ม<br />

ประตู และบ่อน้ำโบราณไว้ ให้คงอยู่<br />

กับพื้นที่เดิม เพื่อสะท้อนให้เห็นชีวิต<br />

ความเป็นอยู่ของคนไทยในสมัยก่อน<br />

ซึ่งเราสามารถเข้าชมพิพิธภัณฑ์ที่<br />

จัดแสดงพระราชประวัติ และพระ<br />

กรณียกิจในสมเด็จพระศรีนครินทรา<br />

บรมราชชนนี รวมทั้งวิถีความเป็นอยู่<br />

ของชาวบ้านที่เคยอาศัยอยู่ในย่านนี้ด้วย<br />

The greenery of this small park<br />

may not be well-known by the people<br />

in the big city but it is one of the<br />

most valuable places in the Klong<br />

San area on the Thonburi side of<br />

<strong>Bangkok</strong>. The group of the halfwood-half-concrete<br />

buildings included<br />

the 2 story building and the<br />

one story buildings around which<br />

was built in the same style with<br />

King Rama V period architecture.<br />

The buildings situated in the area<br />

which was the house of the Minister<br />

of Commerce back then. Some of<br />

the buildings were applied from the<br />

Chinese-styled architecture in King<br />

Rama III period. In 1994, there was a<br />

renovation of the broken buildings.<br />

The museum building’s roof was lifted<br />

to make it more spacious all the<br />

way. The loopholes were renovated<br />

to receive more natural light and<br />

reconnect the place to the outside<br />

nature. The big old trees, the arch,<br />

and the old pond are still well-conserved<br />

in their original location to<br />

reflect the old way of lifestyle of the<br />

Thai people. You can visit the museum<br />

which exhibits the royal history<br />

and the royal mission of Princess<br />

Mother Srinagarindra and it also<br />

exhibits the history of people living<br />

in this area.<br />

254<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


这 座 隐 藏 的 小 公 园 也 许 并 不 为 大 城 市 的 人 所 熟 知 , 但 是 可 以 说 这 座 公 园 是 吞 武 里 空 汕 区 一 座 极 具 价 值 的 建 筑 。 木 质 建 筑 群 一 共 有 两 层 , 而 排 房 只<br />

有 一 层 。 建 筑 风 格 为 拉 玛 五 世 时 期 的 建 筑 风 格 , 公 园 的 位 置 曾 经 是 拉 玛 五 世 时 期 财 政 部 长 的 住 所 , 因 此 部 分 建 筑 也 具 有 实 用 性 。 佛 历 2533 年 , 对 其 进<br />

行 了 重 建 和 修 复 , 将 废 墟 部 分 恢 复 原 貌 。 而 作 为 博 物 馆 的 部 分 , 则 把 屋 顶 修 建 的 更 高 , 以 便 成 为 一 个 开 放 式 的 建 筑 , 改 善 了 通 光 口 的 设 计 , 有 更 好 的<br />

光 照 , 使 得 室 内 与 室 外 的 自 然 景 观 更 好 的 衔 接 在 一 起 。 通 过 保 护 维 持 古 树 、 拱 门 和 旧 水 塘 的 原 状 , 还 原 了 当 时 泰 国 居 民 的 生 活 方 式 。 因 此 我 们 可 以 通<br />

过 参 观 王 妃 母 亲 纪 念 公 园 , 来 了 解 当 时 居 民 的 生 活 劳 作 方 式 。<br />

๓ ซอยสมเด็จเจ้าพระยา ๑๗ แขวงคลองสาน เขตคลองสาน 3 Soi Somdej Chaophraya 17, Klong San, Klong San<br />

อุทยาน : ทุกวัน เวลา ๐๖.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. อาคารพิพิธภัณฑ์ : ทุกวัน ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา ๐๘.๓๐ -<br />

๑๖.๓๐ น. Everyday 09:00 AM – 06:00 PM ภายนอกและภายใน Exterior and interior ไม่เสียค่าเข้าชม<br />

Free entry 6, 42, 43<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

255


O85<br />

สถาบันบัณฑิตศึกษา จุฬาภรณ์<br />

CHULABHORN GRADUATE SCHOOL<br />

朱 拉 蓬 研 究 所<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.8 km<br />

ศูนย์ลูกเรือและศูนย์ฝึก<br />

ลูกเรือ บริษัท การบินไทย<br />

จํากัด (มหาชน)<br />

Thai Airways Crew<br />

Training Centre<br />

600 m<br />

ย่านถนนแจ้งวัฒนะ<br />

Chaeng Wattana road<br />

4.2 km<br />

พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทย<br />

ร่วมสมัย<br />

MOCA <strong>Bangkok</strong><br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง : สถาบันบัณฑิตศึกษาจุฬาภรณ์<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

Architect/ Designer :<br />

Plan Architect Co., Ltd<br />

Owner/ Overseer :<br />

Chulabhorn Graduate School<br />

Year of construction : 2009 A.D.<br />

Year Awarded : 2010 A.D.<br />

อาคารที่ดูเหมือนจะเรียบง่ายแต่<br />

แฝงด้วยรายละเอียดทางการออกแบบ<br />

ลูกเล่นและเส้นสายขององค์ประกอบ<br />

ทางสถาปัตยกรรมไว้มาก ทั้งการเลือก<br />

ใช้วัสดุ และมิติของรูปด้านอาคารที่ดู<br />

ไม่ธรรมดา เป็นผลงานที่มีเอกลักษณ์<br />

ของบริษัทออกแบบอย่าง บริษัท แปลน<br />

อาคิเต็ค จำกัด พื้นที่อาคารซึ่งใช้เป็น<br />

อาคารเพื่อการศึกษาถูกออกแบบ<br />

บรรยากาศและสิ่งแวดล้อมให้เกิดการ<br />

ใช้พื้นที่ร่วมกันเพื่อสร้างความมีชีวิต<br />

ชีวาและความกระตือรือร้น เพื่อผลัก<br />

ดันให้นักศึกษาเกิดการแลกเปลี่ยน<br />

เรียนรู้ รับรู้ และสร้างสรรค์ การสร้าง<br />

เส้นตรงที่หลากหลายของจัดวางใน<br />

รูปด้านอาคาร สร้างแรงกระตุ้นทาง<br />

สายตาให้กับผู้พบเห็น ในแต่ละระยะ<br />

การเข้าถึงตัวอาคาร เกิดเป็นการเชื่อม<br />

ต่อและแลกเปลี่ยนระหว่าง บรรยากาศ<br />

ของพื้นที่ภายนอกและภายในเข้าด้วยกัน<br />

The building that looks simple<br />

but hides a many of details, tactics,<br />

and lines of architectural compo-<br />

sition within its design. The using<br />

of material and the dimension of<br />

the building’s shape are extraordinary.<br />

It very well has the unique<br />

signature of the Plan Architect Co.,<br />

Ltd. in its design. The atmosphere<br />

of the floors in the lecture building<br />

was designed as a co-using space<br />

for the students to become more<br />

active in the engagement between<br />

each other. The building of different<br />

straight lines in the placement of<br />

the building shape provokes the<br />

eyes of the passerby. Each level<br />

of the access of the building was<br />

designed to be interconnected<br />

between the outside area and the<br />

inside.<br />

这 所 建 筑 看 起 来 很 普 通 但 其 实 有 很 多 细 节 上 的<br />

精 心 设 计 , 整 座 建 筑 的 设 计 和 建 造 都 非 常 讲 究 。 材 料<br />

的 选 择 和 建 筑 的 尺 寸 都 不 普 通 , 彰 显 了 负 责 该 工 程 的<br />

建 筑 公 司 的 设 计 风 格 和 建 筑 特 征 。 该 建 筑 的 用 途 是 作<br />

为 教 育 场 所 , 因 此 整 个 建 筑 的 设 计 非 常 简 洁 , 并 且 各<br />

个 楼 之 间 相 互 贯 通 ; 内 部 的 环 境 也 给 人 营 造 一 种 积 极<br />

而 且 充 满 逻 辑 的 感 觉 , 使 得 这 里 的 大 学 生 可 以 更 加 方<br />

便 的 交 流 、 学 习 和 创 新 ; 建 筑 上 大 量 的 线 条 设 计 , 有<br />

利 于 缓 解 眼 部 疲 劳 ; 每 一 个 入 口 都 是 精 心 设 计 过 的 ,<br />

更 好 的 连 接 建 筑 内 外 的 环 境 。<br />

๕๔ หมู่ ๔ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวง<br />

ตลาดบางเขน เขตหลักสี่ 54 Moo<br />

4 Vibhavadi Rangsit Road, Talard<br />

Bangkhen, Laksi โปรดติดต่อ<br />

ล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม By<br />

appointment only ภายนอก<br />

และภายใน Exterior and interior<br />

ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry 25, 59,<br />

95, 187, 510 สถานีหลักสี่ ๒๐๐ ม.<br />

Laksi 200 m.<br />

256<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

257


O86<br />

เดอะ คอมมอนส์<br />

THE COMMONS<br />

曼 谷 康 蒙 斯 商 场<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.0 km<br />

โชว์รูมรถยนต์ มินิ สาขา<br />

เอกมัย<br />

Mini Coupe Showroom<br />

Ekkamai<br />

50 m<br />

ย่านซอยทองหล่อ<br />

Thonglor area<br />

250 m<br />

เจ อเวนิว ทองหล่อ<br />

J Avenue Thonglor<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : บริษัท<br />

ดีพาร์ทเมนท์ ออฟ อาร์คิเทคเจอร์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง : บริษัท เดอะ คอมมอนส์<br />

จำกัด โดย วิชรี และวรัตต์ วิจิตรวาทการ<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

Architect/ Designer : Department of<br />

Architecture Co., Ltd.<br />

Owner/ Overseer :<br />

The Commons Co., Ltd. by Witcharee<br />

and Warat Wichitwathakan<br />

Year of construction : 2016 A.D.<br />

Year Awarded : 2016 A.D.<br />

งานออกแบบที่ต้องการแก้ปัญหา<br />

แบบองค์รวมของอาคารประเภท<br />

คอมมิวนิตี ้ มอลล์ ที่มักใช้งานพื้นที่<br />

ภายนอกอาคารที่จะใช้งานได้ดีเฉพาะ<br />

ตอนที่แดดไม่ร้อนและฝนไม่ตก ผู้<br />

ออกแบบเลยใช้วิธีสร้างพื้นที่หลักให้<br />

เป็นพื้นที่ทางลาดและบันไดขนาดใหญ่<br />

อยู่ใต้พื้นที่ของชั้น ๓ และ ๔ ซึ่งจะช่วย<br />

กันแดดและฝนให้กับพื้นที่ด้านล่างได้<br />

ดี และพื้นที่ลาดชันนี้ก็แทรกไปด้วย<br />

ทางลาด กลุ่มที่นั่ง และต้นไม้ เกิด<br />

เป็นพื้นที่น่าสนใจที่จะทำให้ผู้คนเข้าไป<br />

เดินเล่น นั่งพักผ่อน และใช้พื้นที่นั้นได้<br />

อย่างสนุก จนการเข้าถึงตัวร้านค้าชั้น<br />

บนนั้นไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป ภาพ<br />

ความวุ่นวายจากการป้ายชื่อและการ<br />

ตกแต่งของแต่ละร้าน ก็เป็นอีกเรื่อง<br />

หนึ่งที่นักออกแบบคำนึงถึง เพื่อให้<br />

ภาพรวมของอาคารมีความชัดเจนเป็น<br />

หนึ่งเดียว จึงได้ห่อหุ้มเป็นผนังโดย<br />

รอบด้วยเหล็กฉีกโปร่งที่พับ และตัด<br />

เปิดเป็นจังหวะเส้นสายที่ลงตัว ขณะ<br />

เดียวกันความเป็นอัตลักษณ์ของร้าน<br />

ค้าก็ยังลอดผ่านความโปร่งของวัสดุ<br />

ออกมาได้จนเกิดการจดจำที่แตกต่าง<br />

กันไป<br />

The design work which tackled<br />

the holistic problem of the community<br />

mall styled buildings which<br />

prioritize the use of outdoor spaces:<br />

the buildings are functional only<br />

when the sunlight is not to hot and<br />

when the rain is not pouring. Thus,<br />

the designer uses the method of<br />

making the main area a ramp with<br />

the big stairways under the area<br />

of the 3rd and the 4th floor which<br />

effectively help protect the ground<br />

from the sunlight and the rain.<br />

The ramping area itself is full of<br />

the flat area with places to sit and<br />

trees which attract the people to<br />

have a walk, sit around, or use the<br />

space of other purposes and make<br />

it easier for them to access the<br />

stores in each floor. The designer<br />

also concerned about the possible<br />

mess from the unique decoration<br />

of each store, thus, the wall around<br />

the building was designed to be<br />

shrouded with the well-placed expanded<br />

metal in order to create<br />

unity in the overall image of the<br />

building. At the same time, the<br />

uniqueness of each store still shines<br />

through the transparency of the material<br />

and make them recognizable.<br />

258<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


社 区 购 物 中 心 整 体 设 计 中 最 需 要 解 决 的 问 题 , 就 是 在 不 下 雨 或 者 阳 光 不 太 强 烈 的 时 候 , 如 何 将 室 外 面 积 进 行 最 大 限 度 的 利 用 。 于 是 建 筑 师 想 到 这<br />

样 的 办 法 , 就 是 将 主 体 设 计 为 斜 坡 形 , 在 三 楼 和 四 楼 的 下 面 修 建 大 型 的 楼 梯 , 可 以 更 好 的 为 下 方 的 区 域 遮 挡 阳 光 和 雨 水 , 斜 坡 楼 层 也 加 入 了 不 同 的 风<br />

格 。 座 椅 休 息 区 和 树 木 区 也 成 为 了 受 人 欢 迎 的 区 域 , 人 们 可 以 去 里 面 散 步 、 坐 着 休 息 以 及 尽 情 的 玩 耍 。 每 一 家 商 铺 招 牌 和 装 修 风 格 的 设 计 , 也 是 建 筑<br />

师 考 虑 到 一 个 重 要 方 面 , 为 了 商 场 的 整 体 性 , 用 金 属 材 料 将 商 场 墙 壁 进 行 了 统 一 装 修 , 甚 至 连 通 风 口 在 关 闭 和 打 开 时 的 状 态 都 是 经 过 设 计 的 。 同 时 ,<br />

商 家 的 独 特 性 也 可 以 从 材 料 中 体 现 出 来 , 给 顾 客 留 下 不 同 的 印 象 。<br />

๓๓๕ ซอยทองหล่อ ๑๗ ถนนสุขุมวิท ๕๕ แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา335 Soi Thonglor 17, Sukhumvit 55 Road,<br />

Klongtun Nuea, Vadhana ทุกวัน เวลา ๘.๐๐ - ๒๔.๐๐ น. Everyday 08:00 AM – 12:00 PM ภายนอกและ<br />

ภายใน Exterior and interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry สถานีทองหล่อ ๑.๖ กม. Thonglor Station 1.6 km.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

259


O87<br />

ป่าในกรุง<br />

FOREST IN THE CITY<br />

地 铁 森 林<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ : บริษัท สถาปนิก<br />

สเปซไทม์ จำกัด, กา-ละ-เท-ศะ, กรรณิการ์<br />

รัตนปรีดากุล, คุณเพียงออ พนัธยากร และ<br />

คุณคงศักดิ์ วิจักขณทูล<br />

ผู้ครอบครอง : สถาบันปลูกป่า บริษัท ปตท.<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๕๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

Architect/ Designer :<br />

Space-Time Architecture Co., Ltd., Kala-te-sa,<br />

Kannika Rattanpreedakul,<br />

Pieangor Puttayakorn, and Khongsak<br />

Wijakkanatul<br />

Owner/ Overseer :<br />

PTT Reforestation Insitute<br />

Year of construction : 2015 A.D.<br />

Year Awarded : 2016 A.D.<br />

เมื่อมนุษย์เข้าใจว่าธรรมชาตินั้น<br />

สำคัญ จึงเกิดเป็นงานสถาปัตยกรรม<br />

ที่อ่อนน้อมต่อธรรมชาติ เกื้อหนุน<br />

ป่าปลูกระบบนิเวศน์ ที่ให้ป่าเป็นเอก<br />

แล้วสิ่งปลูกสร้างเป็นรอง แต่เมื่อสิ่ง<br />

ก่อสร้างก็ต้องมีขนาดใหญ่เพื่อรองรับ<br />

ผู้คนจำนวนหนึ่งที่มาศึกษาเรียนรู้ใน<br />

ศูนย์แห่งนี้ และจะต้องสอดแทรกเพื่อ<br />

พาคนเข้าไปในป่า ผู้ออกแบบจึงต้อง<br />

สร้างสถาปัตยกรรมกับป่า ให้มีจิต<br />

วิญญาณเดียวกัน โดยใช้ผนังดินบด<br />

อัดมาเป็นวัสดุหลักในส่วนของอาคาร<br />

เพื่อสร้างความเป็นธรณีศิลป์ที่อยู่ร่วม<br />

กันธรรมชาติได้อย่างกลมกลืน พื้นที่<br />

สำคัญของอาคารนิทรรศการคือ ช่อง<br />

ทางเดินที่มีผนังดินบดอัดขนาบสอง<br />

ข้าง เป็นเส้นทางเพื่อปรับสภาพจิตใจ<br />

ให้ได้รับพลังสงบจากธรรมชาติก่อน<br />

เข้าถึงพื้นที่ชมเรือนยอดของต้นไม้ใน<br />

ป่าด้วยทางเดินยกระดับโครงสร้าง<br />

เหล็กที่เพรียวบางเข้ากันลำต้นของ<br />

ต้นไม้ แล้วติดตั้งพื้นทางเดินให้รูป<br />

แบบของความไร้ระเบียบ เพื่อให้<br />

เกิดความหลากหลายและสอดคล้อง<br />

กลมกลืนไปกับรูปร่างตามธรรมชาติ<br />

When human realized that nature<br />

is important, then, there is the<br />

birth of nature-humble architecture<br />

and the of support reforestation.<br />

The nature-humble architecture<br />

is the architecture that aims to<br />

emphasize the important of the<br />

forest as the main element and the<br />

man-made buildings are minimized<br />

within. However, in order to respond<br />

to the need for a large enough<br />

building to welcome the amount<br />

of the people who visit the learning<br />

center and the and the purpose to<br />

encourage people to become familiar<br />

with the forest, the designer<br />

has to create the building and the<br />

forest the way they share the same<br />

spirit. By using the compressed<br />

soil wall as the main material for<br />

the building which make it more<br />

natural, the important part of the<br />

exhibition is the walkway with the<br />

compressed soil walls on both of its<br />

sides. It gives the sense of natural<br />

power for visitors and after that<br />

they can access the view point to<br />

see the view of the forest with the<br />

up-lifting metal structured walkway<br />

which correspond with the structure<br />

of the trees. The floor is also<br />

organized into the disorganized<br />

way of nature.<br />

260<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


当 人 们 开 始 意 识 到 自 然 环 境 的 重 要 性 , 建 筑 设 计 也 越 来 越 重 视 绿 化 的 方 面 。 对 于 森 林 生 态 系 统 的 改 善 , 要 以 森 林 本 身 为 主 , 人 工 种 植 为 辅 。 但 是<br />

这 个 工 程 需 要 足 够 宽 敞 的 空 间 , 来 满 足 大 数 量 的 人 群 来 访 的 需 求 , 而 且 需 要 有 通 道 来 带 访 客 进 入 森 林 深 处 。 所 以 设 计 者 需 要 在 森 林 中 进 行 建 筑 设 计 ,<br />

使 得 建 筑 于 森 林 相 互 协 调 , 因 此 土 基 作 为 主 要 的 材 料 , 以 便 这 座 建 筑 可 以 更 和 谐 的 放 在 自 然 环 境 之 中 。 展 览 馆 的 重 要 区 域 就 是 两 侧 用 土 基 建 造 起 来 的<br />

通 道 , 在 这 个 静 谧 的 自 然 环 境 中 可 以 使 人 们 的 心 灵 得 到 净 化 。 中 心 地 区 是 通 过 在 钢 铁 材 质 的 通 道 上 行 走 来 观 赏 森 林 的 冠 层 景 观 , 这 些 通 道 和 树 干 一 样<br />

高 , 并 且 没 有 扶 手 , 为 的 就 是 让 人 们 可 以 与 大 自 然 亲 密 接 触 。<br />

๘๑ ถนนสุขาภิบาล ๒ แขวงดอกไม้ เขตประเวศ 81 Sukaphiban 2 Road, Dokmai, Prawetch วันอังคาร<br />

- อาทิตย์ เวลา ๙.๐๐ - ๑๘.๐๐ น. โปรดติดต่อล่วงหน้าเพื่อขออนุญาตเข้าชม www.pttreforestation.com By<br />

appointment only www.pttreforestation.com ภายนอกและภายใน Exterior and interior ไม่เสียค่าเข้าชม<br />

Free entry รถยนต์ส่วนตัวหรือรถแท็กซี่เท่านั้น only by private car or taxi<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

261


O88<br />

เดอะแจมแฟคทอรี่<br />

THE JAM FACTORY<br />

果 酱 工 厂<br />

สถานที่ใกล้เคียง<br />

Near by<br />

1.2 km<br />

บ้านหวั่งหลี<br />

Wang Li House<br />

200 m<br />

ย่านตลาดคลองสาน<br />

Klong San Market area<br />

1.0 km<br />

ล้ง ๑๙๑๙<br />

Lhong1919<br />

สถาปนิก/ ผู้ออกแบบ :<br />

บริษัท ดวงฤทธิ์ บุนนาค จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง : คุณดวงฤทธิ์ บุนนาค<br />

ปีที่สร้าง : พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล : พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

Architect/ Designer :<br />

Duangrit Bunnag Co., Ltd.<br />

Owner/ Overseer : Duangrit Bunnag<br />

Architect Co., Ltd. (DBALP)<br />

Year of construction : 2013 A.D.<br />

Year Awarded : 2014 A.D.<br />

ด้วยต้องการนำเสนอความเป็น<br />

ไปได้ในการสร้างงานสถาปัตยกรรมที่<br />

ประหยัด สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม<br />

และชุมชนที่เป็นอยู่เดิม ประหยัด<br />

พลังงานและมีรูปลักษณ์อาคารที่น่า<br />

สนใจ ผู้ออกแบบจึงเลือกที่จะปรับปรุง<br />

อาคารกลุ่มอาคารโรงงานเก่าที่ถูกทิ้ง<br />

ร้างในย่านคลองสานมานานกว่า ๓๐<br />

ปี ให้มีชีวิตชีวา เกิดเป็นพื้นที่ใช้สอย<br />

ที่มีคุณค่าขึ้นอีกครั้ง ด้วยการเก็บ<br />

โครงสร้างเดิมไว้แล้วปรับปรุงในส่วน<br />

ที่ชำรุด ปรับเปลี่ยนวัสดุที่ทนทานและ<br />

เหมาะสมมากขึ้น แล้วใช้เป็นสำนักงาน<br />

ร้านอาหาร ร้านกาแฟ ร้านหนังสือ ร้าน<br />

ขายเฟอร์นิเจอร์และของตกแต่ง และ<br />

ห้องแสดงนิทรรศการ ซึ่งพื้นที่ทั้งหมด<br />

ยังอยู่ภายใต้สภาพแวดล้อมเดิมของ<br />

ต้นไม้ใหญ่ที่ให้ความร่มรื่นและให้<br />

ความโดดเด่นกับพื้นที่ได้อย่างดี<br />

With a desire to present the<br />

possibility in the creation of the<br />

architecture that is economy, conforming<br />

with the original atmosphere<br />

of the community area<br />

around the place, power-saving,<br />

and attractive, the designer decided<br />

to renovate the group of almost<br />

30 year old deserted old factories<br />

in Klong San and make them a<br />

lively and valuable functional space<br />

again. The Jam Factory is used as<br />

a shared space of the office, restaurant,<br />

café, bookshop, furniture<br />

showroom, and an exhibition under<br />

the atmosphere of the big tree that<br />

gives it greenery and make the<br />

place outstanding.<br />

果 酱 工 厂 是 一 座 被 合 理 利 用 、 节 省 资 源 劳 力 、<br />

并 且 与 当 地 原 有 的 环 境 和 居 民 区 相 融 合 的 工 程 项 目 。<br />

设 计 师 选 择 了 空 汕 区 这 个 废 弃 了 三 十 多 年 的 旧 工 厂 ,<br />

把 原 来 的 建 筑 群 进 行 了 重 建 装 修 , 使 这 个 地 方 再 次 具<br />

有 了 使 用 价 值 。 将 原 有 的 建 筑 主 体 进 行 保 留 , 选 用 更<br />

加 耐 用 和 适 合 的 材 料 来 对 其 余 部 分 进 行 了 改 造 , 作 为<br />

办 事 处 、 餐 厅 、 咖 啡 馆 、 装 饰 品 店 和 展 览 馆 等 等 。 真<br />

个 建 筑 的 范 围 仍 然 是 像 之 前 一 样 在 大 树 之 下 , 因 此 这<br />

片 区 域 一 如 既 往 的 让 人 感 到 凉 快 和 舒 适 。<br />

๔๑/๑ – ๕ ถนนเจริญนคร แขวง<br />

คลองสาน เขตคลองสาน 41/1 – 5 Chareon<br />

Nakhon Road, Klong San, Klong<br />

San ทุกวัน เวลา ๑๐.๐๐ - ๒๐.๐๐ น.<br />

Every day 10:00 AM – 08:00 PM<br />

ภายนอกและภายใน Exterior and<br />

interior ไม่เสียค่าเข้าชม Free entry<br />

ท่าคลองสาน ๑๐๐ ม. Klong San<br />

Pier 100 m.<br />

262<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

263


อาคารรางวัลอนุรักษ์ ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น<br />

ในกรุงเทพมหานคร ปี ๒๕๒๕ – ๒๕๖๐<br />

BANGKOK ASA ARCHITECTURAL CONSERVATION AWARDS 1982 - 2017<br />

森 林 艺 术 情 结 : 绿 意 树 屋 1982 - 2017<br />

OO1<br />

OO2<br />

OO3<br />

OO4<br />

ตึกสุนันทาลัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงเรียนราชินี<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๒๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

SUNANTHALAI<br />

BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Rajini School<br />

Year of Construction<br />

1880 AD.<br />

Conservation Awarded<br />

1982 AD.<br />

โรงเรียนราชินี<br />

๔๔๔ ถนนมหาราช<br />

แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

Rajini School 444<br />

Maharat Road,<br />

PhraBorom Maha<br />

Ratchawang,<br />

Phra Nakhon<br />

ตำหนักปลายเนิน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br />

เจ้าฟ้ากรมพระยา<br />

นริศรานุวัดติวงศ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ม.ร.ว. เอมจิตร จิตรพงศ์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

PLAI NERN PALACE<br />

AND MUSEUM<br />

Architect/Designer<br />

Prince Krommaphraya<br />

Narisaranuvattivongse<br />

Owner/Proprietor<br />

M.R. Emchit<br />

Chitraphong<br />

Year of Construction<br />

1914 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

๑๑๖๐ ถนนพระราม ๔<br />

แขวงคลองเตย<br />

เขตคลองเตย<br />

1160 Rama IV Road,<br />

Klong Toei, Klong Toei<br />

264<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

สำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

(วังลดาวัลย์)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

THE CROWN<br />

PROPERTY<br />

BUREAU<br />

(WANG LADAWAN)<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama V<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

๑๗๓ ถนนราชสีมา<br />

แขวงดุสิต เขตดุสิต<br />

173 Ratchasima Road,<br />

Dusit, Dusit<br />

ห้องสมุดเนียลสันเฮส์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

และ นายโจวันนี แฟร์เรโร<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สมาคมห้องสมุด<br />

เนียลสันเฮส์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

NEILSON HAYS<br />

LIBRARY<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Mario Tamagno<br />

and Mr. Giovanni<br />

Ferrero<br />

Owner/Proprietor<br />

Society of the Neilson<br />

Hays Library<br />

Year of Construction<br />

1921 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

๑๙๕ ถนนสุรวงศ์<br />

แขวงสี่พระยา<br />

เขตบางรัก<br />

195 Surawong Road,<br />

Si Phraya, Bang Rak


The second period:<br />

1932 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

๑๙๗ ถนนราชวิถี<br />

แขวงดุสิต เขตดุสิต<br />

197 Ratchawithi Road,<br />

Dusit, Dusit<br />

๑๒๘๐,๑๒๘๐/๑<br />

ถนนโยธา แขวงตลาด<br />

น้อย เขตสัมพันธวงศ์<br />

1280-1280/1 Yotha<br />

Road, Talad Noi,<br />

Samphanthawong<br />

๑๓๑ ถนนเพชรบุรี<br />

แขวงทุ่งพญาไท<br />

เขตพญาไท<br />

131 Petchaburi Road,<br />

Phayathai, Phayathai<br />

OO5<br />

อาคารเรียนโรงเรียน<br />

วชิราวุธวิทยาลัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

อาคารรุ่นแรก :<br />

นายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์ และ<br />

พระสมิทธิเลก<br />

(ปลั่ง วิภาระศิลปิน)<br />

อาคารรุ่นที่ ๒ :<br />

พระสาโรช รัตนนิมมานก์<br />

(สาโรช สุขยางค์) และ<br />

หลวงวิศาลศิลปกรรม<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วชิราวุธวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๘ - ๒๔๖๐<br />

และรุ่นที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๗๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

VAJIRAVUDH<br />

COLLAGE<br />

BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

The first period:<br />

Mr.Edward Healey and<br />

Phra Smithi leka<br />

(Plung Wipatasilpin)<br />

The second period:<br />

Phra Sarot Rattana<br />

Nimman (Sarot<br />

Sukkhayong) and<br />

Luang Wisansilapakam<br />

Owner/Proprietor<br />

Vajiravudh College<br />

Year of Construction<br />

1915 - 1917 A.D.<br />

OO6<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

สาขาตลาดน้อย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายอันนิบาล ริก็อตติ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

SIAM<br />

COMMERCIAL<br />

BANK PLC. TALAD<br />

NOI BRANCH<br />

Architect/Designer<br />

Annibale Rigotti<br />

Owner/Proprietor<br />

Siam Commercial<br />

Bank Plc.<br />

Year of Construction<br />

1908 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

OO7<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

สาขาถนนเพชรบุรี<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายสมัย<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๗๒ - ๒๔๗๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

SAIM<br />

COMMERCIAL<br />

BANK PLUBLIC<br />

COMPANY LIMITED<br />

THANON<br />

PETCHABURI<br />

BRANCH<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Samai<br />

Owner/Proprietor<br />

Saim Commercial<br />

Bank Plc.,<br />

Year of Construction<br />

1929 - 1931 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

OO8<br />

โอ พี เพลส<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท สุราทิพย์ จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

O.P. PLACE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Surathip Co.,Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1908 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

๓๐/๑ ซอยเจริญกรุง<br />

๓๘ ถนนเจริญกรุง<br />

แขวงบางรัก เขตบางรัก<br />

30/1 Soi Charoen<br />

Krung 38, Charoen<br />

Krung Road, Bang Rak,<br />

Bang Rak<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

265


123 (formerly No. 155)<br />

Ratchawithi Road,<br />

Wachiraphayaban,<br />

Dusit<br />

OO9<br />

O1O<br />

O11<br />

บ้านปาร์คนายเลิศ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระยาภักดีนรเศรษฐ<br />

(เลิศ เศรษฐบุตร)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณณพาภรณ์ โพธิรัตนังกูร<br />

ปีที่สร้าง<br />

ก่อน พ.ศ. ๒๔๔๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

NAI LERT PARK<br />

HERITAGE HOME<br />

Architect/Designer<br />

Phraya Phakdinoraset<br />

(Lert Setthabut)<br />

Owner/Proprietor<br />

Naphaporn<br />

Bodiratnangkura<br />

Year of Construction<br />

Before 1905 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

๔ ซอยสมคิด ถนน<br />

เพลินจิต แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน<br />

4 Soi Somkid, Phloen<br />

Chit Road, Lumpini,<br />

Pathumwan<br />

บ้านเลขที่ ๑๓๙<br />

ซอยเทียนเซี้ยง<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ทายาทของ<br />

นายเกษม จาติกวณิช<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

HOUSE NO.139,<br />

SOI THIAN SIANG<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mr. Kasem<br />

Chatikawanit’s<br />

descendants<br />

Year of Construction<br />

1910 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

๑๓๙ ซอยเทียนเซี้ยง<br />

(สาทร ๗) ถนนสาทรใต้<br />

แขวงทุ่งมหาเมฆ<br />

เขตสาทร<br />

139 Soi Thian Siang<br />

(Sathon 7),<br />

South Sathon Road,<br />

Thung Maha Mek,<br />

Sathon<br />

ดุสิตสโมสร<br />

(บ้านพระยาประเสริฐ<br />

ศุภกิจ)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายอันนิบาเล ริกอตติ<br />

และนายมาริโอ ตามานโญ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

นิติบุคคลอาคารชุดดุสิต<br />

อเวนิว<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๔๘ - ๒๔๕๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

DUSIT SAMOSORN<br />

(PHRAYA<br />

PRASERTSUPHAKIT<br />

RESIDENCE)<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Annibale Rigotti<br />

and Mr. Mario<br />

Tamagno<br />

Owner/Proprietor<br />

Dusit Avenue Juristic<br />

Condominium<br />

Year of Construction<br />

1905 – 1913 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

๑๒๓ (เดิมเลขที่<br />

๑๕๕) ถนนราชวิถี<br />

แขวงวชิรพยาบาล<br />

เขตดุสิต<br />

O12<br />

บ้านอับดุลราฮิม<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณประชุม อับดุลราฮิม<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๔๕๐ - ๒๔๕๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

ABDULRAHIM<br />

HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Prachhum Abdulrahim<br />

Year of Construction<br />

Circa 1907 - 1908 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

๙๖๐ ถนนพระราม ๔<br />

แขวงสีลม เขตบางรัก<br />

960 Rama IV Road,<br />

Silom, Bang Rak<br />

266<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


315 Ratchawithi Road,<br />

Thung Phaya Thai,<br />

Ratchathewi<br />

O13<br />

O14<br />

O15<br />

พระอุโบสถ<br />

วัดทองนพคุณ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดทองนพคุณ<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณรัชกาลที่ ๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

UBOSOT<br />

(ORDINATION<br />

HALL), WAT THONG<br />

NOPPAKHUN<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Thong<br />

Nophakhun<br />

Year of Construction<br />

Circa King Rama Ill<br />

period<br />

Conservation Awarded<br />

1982 A.D.<br />

วัดทองนพคุณ<br />

๔๖๔๕ ถนน<br />

สมเด็จเจ้าพระยา<br />

แขวงคลองสาน<br />

เขตคลองสาน<br />

Wat Thong<br />

Nophakhun, 4645<br />

Somdejchaopraya<br />

Road, Klong San,<br />

Klong San<br />

กรมแผนที่ทหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายสเตฟาโน คาร์ดู และ<br />

นายไอ.ดี. คาสตร์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กองบัญชาการทหารสูงสุด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๓๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

THE ROYAL<br />

THAI SURVEY<br />

DEPARTMENT<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Stefano Cardu and<br />

Mr. I.D. Castre<br />

Owner/Proprietor<br />

Supreme Command<br />

Headquarters<br />

Year of Construction<br />

1891 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

ถนนกัลยาณไมตรี<br />

แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

Kalayanamaiti Road,<br />

Phra Borom Maha<br />

Ratchawang,<br />

Phra Nakhon<br />

กลุ่มพระราชวัง<br />

มณเฑียรสถาน<br />

พระราชวังพญาไท<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระที่นั่งเทวราชสภารมย์ :<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ศูนย์อำนวยการแพทย์<br />

พระมงกุฎเกล้า<br />

กรมแพทย์ทหารบก<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๖๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

PHAYA THAI<br />

PALACE<br />

Architect/Designer<br />

Thewanatchsaperom<br />

Hall : Mr. Mario<br />

Tamagno<br />

Owner/Proprietor<br />

Pramongkutklao<br />

Medical Center,<br />

Royal Thai Army<br />

Medical Department<br />

Year of Construction<br />

1910 - 1922 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

๓๑๕ ถนนราชวิถี<br />

แขวงทุ่งพญาไท<br />

เขตราชเทวี<br />

O16<br />

วังวรดิศ<br />

(พิพิธภัณฑ์วังวรดิศ)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายคาร์ล เดอริง<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ม.ล. ปนัดดา ดิศกุล<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๕๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

WANG VARADIS<br />

(WANG VARADIS<br />

MUSEUM)<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Karl Dohring<br />

Owner/Proprietor<br />

M.L. Panadda Diskul<br />

Year of Construction<br />

1910 - 1911 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

๒๐๔<br />

ถนนหลานหลวง<br />

แขวงคลองมหานาค<br />

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย<br />

204 Larn Luang Road,<br />

Klong Mahanak, Pom<br />

Prap Sattru Phai<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

267


Royal Turf Club of<br />

Thailand, 183<br />

Phitsanulok Road,<br />

Chitlada, Dusit<br />

O17<br />

O18<br />

O19<br />

สถานเอกอัครราชทูต<br />

อังกฤษ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายวิลเลียม อัลเฟรด<br />

เร วูด และกระทรวง<br />

โยธาธิการ ประเทศ<br />

อังกฤษ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถานเอกอัครราชทูต<br />

อังกฤษ<br />

ปีที่สร้าง<br />

ก่อน พ.ศ. ๒๔๖๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

THE BRITISH<br />

EMBASSY<br />

Architect/Designer<br />

Mr. William Alfred Rae<br />

Wood and the British<br />

Ministry of Works, UK<br />

Owner/Proprietor<br />

The British Embassy<br />

Year of Construction<br />

Before 1926 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

๑๔ ถนนวิทยุ<br />

แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน<br />

14 Witthayu Road,<br />

Lumpini, Pathum Wan<br />

โรงเรียนมัธยม<br />

วัดเบญจมบพิตร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงเรียนมัธยมวัด<br />

เบญจมบพิตร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๔๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

WAT<br />

BENJAMABOPIT<br />

SCHOOL<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mathayom Wat<br />

Benjamabopit School<br />

Year of Construction<br />

1902 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

๖๙ ถนนศรีอยุธยา<br />

แขวงดุสิต เขตดุสิต<br />

69 Si Ayutthaya Road,<br />

Dusit, Dusit<br />

268<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

อาคารอเนกประสงค์<br />

ราชตฤณมัยสมาคม<br />

แห่งประเทศไทย<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ราชตฤณมัยสมาคม<br />

แห่งประเทศไทย<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

MULTI-PURPOSE<br />

AUDITORIUM,<br />

ROYAL TURF CLUB<br />

OF THAILAND<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Royal Turf Club of<br />

Thailand under the<br />

Royal Patronage of HM<br />

the King<br />

Year of Construction<br />

1916 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

ราชตฤณมัยสมาคม<br />

๑๘๓ ถนนพิษณุโลก<br />

แขวง สวนจิตรลดา<br />

เขตดุสิต<br />

O2O<br />

ตึกแถวหัวมุมท่าช้าง<br />

(ธนาคารธนชาติ<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

สาขาท่าพระจันทร์เดิม)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณกลางรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

CORNER<br />

SHOPHOUSES AT<br />

CHANG PIER<br />

(FORMERLY<br />

THANACHART<br />

BANK PUBLIC<br />

COMPANY LIMITED,<br />

THA PRACHAN<br />

BRANCH)<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama V<br />

Conservation Awarded<br />

1994 A.D.


๑๙๖- ๑๙๘ ถนน<br />

มหาราช แขวงพระบรม<br />

มหาราชวัง เขตพระนคร<br />

196 - 198 Maharat<br />

Road, Phraborom<br />

Maha Ratchawang,<br />

Phra Nakhon<br />

Oriental Pier, Soi<br />

Charoenkrung 40<br />

Bang Rak, Bang Rak<br />

๑๓๕-๑๓๗-๑๓๙<br />

ตรอกยาฉุน<br />

แขวงจักรวรรดิ์<br />

เขตสัมพันธวงศ์<br />

135 – 137 – 139<br />

Trok Ya Chun,<br />

Chakkrawat,<br />

Samphanthawong<br />

O23<br />

O21<br />

สำนักงานบริษัท<br />

อีสต์เอเชียติก<br />

(ประเทศไทย) จำกัด<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายอัลนิบาเล รีก๊อตติ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท สุราทิพย์ จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณ พ.ศ. ๒๔๔๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

OFFICE OF<br />

THE EAST ASIATIC<br />

(THAILAND)<br />

COMPANY LIMITED<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Annibale Rigotti<br />

Owner/Proprietor<br />

Surathip Co.,Ltd.<br />

Year of Construction<br />

Circa 1900 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

ท่าเรือโอเรียนเต็ล<br />

ซอยเจริญกรุง ๔๐<br />

แขวงบางรัก เขตบางรัก<br />

O22<br />

สีลมวิลเลจ เทรด<br />

เซ็นเตอร์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ทายาทของ<br />

นางประภัสสร อักษรมัต<br />

ปีที่สร้าง<br />

ปลายรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

SILOM VILLAGE<br />

TRADE CENTER<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mrs. Prapatsorn<br />

Aksornramat’s<br />

descendants<br />

Year of Construction<br />

Rate King Rama V<br />

period<br />

Conservation Awarded<br />

2002 A.D.<br />

๒๘๖/๑ ถนนสีลม<br />

แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก<br />

286/1 Silom Road,<br />

Suriyawong, Bang Rak<br />

บ้านคุณหญิง<br />

พรพรรณ ธารานุมาศ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณหญิงพรพรรณ<br />

ธารานุมาศ (วัชราภัย)<br />

ปีที่สร้าง<br />

ตึกจีน ช่วงปลายรัชกาล<br />

ที่ ๓ - รัชกาลที่ ๔,<br />

ตึกฝรั่ง รัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

KHUNYING<br />

PORNPAN<br />

THARANUMAS<br />

HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Khunying Pornpan<br />

Tharanumas<br />

(Vajrabhaya)<br />

Year of Construction<br />

Chinese houses : late<br />

King Rama III early<br />

King Rama IV period<br />

European house : King<br />

Rama V period<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

O24<br />

บ้านหวั่งหลี<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

นายชลันต์ หวั่งหลี<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๒๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

WANG LEE HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mr.Chalant Wang Li<br />

Year of Construction<br />

1881 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

สุดถนนเชียงใหม่<br />

ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา<br />

แขวงคลองสาน<br />

เขตคลองสาน<br />

End of Chiang Mai<br />

Road, Khlong San,<br />

Khlong San<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

269


O25<br />

O26<br />

O27<br />

O28<br />

ทำเนียบ<br />

เอกอัครราชทูต<br />

โปรตุเกส<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายช่างจากประเทศ<br />

โปรตุเกส<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถานเอกอัครราชทูต<br />

โปรตุเกส ประจำ<br />

ประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๐๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

RESIDENCE OF<br />

THE PORTUGUESE<br />

AMBASSADOR<br />

Architect/Designer<br />

Potuguese Designer<br />

Owner/Proprietor<br />

Putuguese Embassy<br />

Year of Construction<br />

1860 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

๒๖ ซอยกัปตันบุช<br />

ถนนเจริญกรุง ๓๐<br />

แขวงบางรัก เขตบางรัก<br />

26 Soi Captain Bush,<br />

Charoen Krung 30<br />

Road, Bang Rak,<br />

Bang Rak<br />

ทำเนียบ<br />

เอกอัครราชทูต<br />

ฝรั่งเศส<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถานเอกอัครราชทูต<br />

ฝรั่งเศส<br />

ปีที่สร้าง<br />

ช่วงรัชกาลที่ ๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

RESIDENCE OF<br />

THE FRENCH<br />

AMBASSADOR<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

French Ambassador’s<br />

Residence<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama IV<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

๓๕ ซอย เจริญกรุง<br />

๓๖ แขวงบางรัก เขต<br />

บางรัก<br />

35 Soi Charoenkrung<br />

36, Bang Rak,<br />

Bang Rak<br />

ทำเนียบ<br />

เอกอัครราชทูต<br />

สหรัฐอเมริกา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นาย โฮราทิโอ วิคเตอร์ เบลี<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถานเอกอัครราชทูต<br />

สหรัฐอเมริกาประจำ<br />

ประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

RESIDENCE OF<br />

THE AMERICAN<br />

AMBASSADOR<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Horatio Victor Baily<br />

Owner/Proprietor<br />

American Embassy<br />

Year of Construction<br />

1914 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1984 A.D.<br />

๙๕ ถนนวิทยุ แขวง<br />

ลุมพินี เขตปทุมวัน<br />

95 Witthayu Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

กองบัญชาการ<br />

กองทัพบก<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กองทัพบก<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

THE ROYAL<br />

THAI ARMY<br />

HEADQUARTERS<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Royal Thai Army<br />

Headquarters<br />

Year of Construction<br />

1909 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1987 A.D.<br />

๑๑๑<br />

ถนนราชดำเนินนอก<br />

แขวงบางขุนพรหม<br />

เขตพระนคร<br />

111 Ratchadamnoen<br />

Nok Road, Bang Khun<br />

Phrom, Phra Nakhon<br />

270<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


Somdet Chaopraya<br />

Institute of Psychiatry<br />

112 Somdet Chaopraya<br />

Road, Klong San,<br />

Klong San<br />

O29<br />

O3O<br />

O32<br />

ตึกมหาจุฬาลงกรณ์<br />

(ตึกอักษรศาสตร์)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

MAHA<br />

CHULALONGKORN<br />

BUILDING<br />

(FACULTY OF ARTS<br />

BUILDING)<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Edward Healey<br />

Owner/Proprietor<br />

Chulalongkorn<br />

University<br />

Year of Construction<br />

1914 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1987 A.D.<br />

จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย ถนน<br />

พญาไท แขวงวังใหม่<br />

เขตปทุมวัน<br />

Chulalongkorn<br />

University, Phayathai<br />

Road, Wangmai,<br />

Pathumwan<br />

พิพิธภัณฑ์สถาบัน<br />

จิตเวชศาสตร์<br />

สมเด็จเจ้าพระยา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถาบันจิตเวชศาสตร์<br />

สมเด็จเจ้าพระยา<br />

ปีที่สร้าง<br />

ปลายรัชกาลที่ ๔<br />

ต้นรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

SOMDEJ<br />

CHAOPRAYA<br />

INSTITUTE OF<br />

PSYCHIATRY<br />

MUSEUM<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Somdet Chaopraya<br />

Institute of Psychiatry<br />

Year of Construction<br />

Late King Rama IV<br />

Early King Rama V<br />

period<br />

Conservation Awarded<br />

1987 A.D.<br />

สถาบันจิตเวชศาสตร์<br />

สมเด็จเจ้าพระยา ๑๑๒<br />

ถนนสมเด็จเจ้าพระยา<br />

แขวง คลองสาน<br />

เขตคลองสาน<br />

O31<br />

สถานเสาวภา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สภากาชาดไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๔๖๓ - ๒๔๖๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

QUEEN SAOVABHA<br />

MEMORIAL<br />

INSTITUTE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Thai Red Cross<br />

Society<br />

Year of Construction<br />

Circa 1920 – 1922 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1987 A.D.<br />

๑๘๗๑ ถนน<br />

พระรามที่ ๔ แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน<br />

1871 Rama IV Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

บ้านจักรพงษ์<br />

(วังจักรพงษ์)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบปรับปรุง :<br />

นายแอร์โกเล มันเฟรดี<br />

และนายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ม.ร.ว.นริศรา จักรพงษ์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๒ – ๒๔๕๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

CHKRABONGSE<br />

PALACE<br />

Architect/Designer<br />

Extension design:<br />

Mr.Ercole Manfredi,<br />

Mr.Edward Healey<br />

Owner/Proprietor<br />

M.R. Narisara<br />

Chakrabongse<br />

Year of Construction<br />

1909 – 1910 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1987 A.D.<br />

ถนนมหาราช<br />

แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

Maha Rat Road,<br />

Phraborom Maha<br />

Ratchawang,<br />

Phra Nakhon<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

271


O33<br />

O34<br />

O35<br />

O36<br />

ทำเนียบ<br />

เอกอัครราชทูต<br />

เนเธอร์แลนด์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถานเอกอัครราชทูต<br />

เนเธอร์แลนด์<br />

ปีที่สร้าง<br />

ช่วง พ.ศ. ๒๔๓๘-๒๔๔๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

RESIDENCE OF<br />

THE DUTCH<br />

AMBASSADOR<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Dutch Embassy<br />

Year of Construction<br />

Circa 1895-1900 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1987 A.D.<br />

๑๐๖ ถนนวิทยุ<br />

แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน<br />

106 Witthayu Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

โบสถ์วัดแม่พระ<br />

ลูกประคำ (กาลหว่าร์)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณพ่อแดซาส์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โบสถ์วัดแม่พระลูกประคำ<br />

(กาลหว่าร์) เนเธอร์แลนด์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๓๔ – ๒๔๔๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

THE HOLY RASARY<br />

CHURCH (KALAWAR)<br />

Architect/Designer<br />

Father Desalles<br />

Owner/Proprietor<br />

Church of Holy Rosary<br />

(Galvar)<br />

Year of Construction<br />

1891 – 1897 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1987 A.D.<br />

๑๓๑๘ ถนนเจริญกรุง<br />

แขวงตลาดน้อย<br />

เขตสัมพันธวงศ์<br />

1318 Charoenkrung<br />

Road, Talad Noi,<br />

Samphanthawong<br />

หอพระไตรปิฎก<br />

วัดระฆังโฆสิตาราม<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดระฆังโฆสิตาราม<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่ ๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

HO PHRA<br />

TRAIPIDOK<br />

(SCRIPTURE HALL),<br />

WAT RAKANG-<br />

KOSITARAM<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Rakhangkositaram<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama I<br />

Conservation Awarded<br />

1987 A.D.<br />

วัดระฆังโฆสิตาราม<br />

๒๕๗/๑ ถนนอรุณ<br />

อมรินทร์ แขวงศิริราช<br />

เขตบางกอกน้อย<br />

Wat<br />

Rakhangkositaram,<br />

250/1 Arun Amarion<br />

Road, Siriraj,<br />

<strong>Bangkok</strong> Noi<br />

วังปารุสกวัน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายมาริโอ ตามานโญ,<br />

นายจี. ซัลวาโตเร,<br />

นายสก็อตต์ และ<br />

นายเปโรเลวี<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักข่าวกรองแห่งชาติ<br />

และสำนักงานตำรวจ<br />

แห่งชาติ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๔๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒ และ<br />

พ.ศ. ๒๕๓๖<br />

PARUSKAWAN<br />

PALACE<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Mario Tamagno,<br />

Mr. G. Salvatore,<br />

Mr. Scott<br />

and Mr. Beyrolevi<br />

Owner/Proprietor<br />

National Intelligence<br />

Agency and the Royal<br />

Thai police<br />

Year of Construction<br />

1903 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1989 A.D. and 1993 A.D.<br />

บริเวณสี่แยกถนน<br />

ศรีอยุธยาตัดกับถนน<br />

ราชดำเนิน แขวงดุสิต<br />

เขตดุสิต<br />

272<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


At junction of<br />

Si Ayutthaya and<br />

Ratchadamnoen Road,<br />

Dusit ,Dusit<br />

Conservation Awarded<br />

1989 A.D.<br />

ทำเนียบรัฐบาล ๑<br />

ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต<br />

เขตดุสิต<br />

Government House, 1<br />

Pissanulok Road, Dusit,<br />

Dusit<br />

๔ ถนนเจ้าฟ้า<br />

แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

4 Chaofa Road,<br />

PhraBorom Maha<br />

Ratchawang, Phra<br />

Nakhon<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

วิทยาเขตวังท่าพระ<br />

ถนนหน้าพระลาน<br />

แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

Silpakorn University,<br />

Wang Tha Phra<br />

Campus, Na Phra Lan<br />

Road, Phraborom<br />

Maha Ratchawang,<br />

Phra Nakhon<br />

O37<br />

ตึกไทยคู่ฟ้า<br />

ทำเนียบรัฐบาล<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

และนายอันนิบาเล ริกอตติ<br />

ปรับปรุงต่อเติม :<br />

ศาสตราจารย์ ศิลป พีระศรี<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานเลขาธิการนายก<br />

รัฐมนตรี<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

THAI-KHU-FAH<br />

BUILDING, ROYAL<br />

THAI GOVERN-<br />

MENT HOUSE OF-<br />

FICE<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Mario Tamagno,<br />

Mr.Anniblae Rigotti,<br />

Extension of the Building<br />

: Prof. Silpa Bhirasri<br />

(Corrado Feroci)<br />

Owner/Proprietor<br />

The Secretariat of the<br />

Prime Minister<br />

Year of Construction<br />

1926 A.D.<br />

O38<br />

พิพิธภัณฑสถาน<br />

แห่งชาติ หอศิลป<br />

(โรงกระสาปน์สิทธิการ)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายคาร์โล อัลเลกรี<br />

วิศวกรชาวอิตาลี<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรมศิลปากร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๔๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

THE NATIONAL<br />

GALLERY (THE<br />

ROYAL MINT)<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Carlo Allegri, Italian<br />

Engineering<br />

Owner/Proprietor<br />

The Fine Arts<br />

Department<br />

Year of Construction<br />

1902 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1989 A.D.<br />

O39<br />

หอศิลป์ มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระตำหนักกลาง :<br />

นายโจอาคิม กราสซี<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

ปีที่สร้าง<br />

ท้องพระโรง สร้างใน<br />

รัชกาลที่ ๑, พระตำหนัก<br />

กลาง สร้างในรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

SILPAKORN<br />

UNIVERSITY ART<br />

GALLERY<br />

Architect/Designer<br />

Phra Tamnak Klang :<br />

Mr. Joachim Grassi<br />

Owner/Proprietor<br />

Silpakorn University<br />

Year of Construction<br />

Thong Phra Rong :<br />

Reign of King Rama I<br />

Phra Tamnak Klang :<br />

Reign of King Rama V<br />

Conservation Awarded<br />

1989 A.D.<br />

O4O<br />

พระวิหาร<br />

วัดราชประดิษฐสถิต<br />

มหาสีมาราม<br />

ราชวรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระยาราชสงคราม (ทองสุก)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดราชประดิษฐสถิตมหา<br />

สีมารามราชวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๐๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

GRAND VIHARA,<br />

WAT<br />

RATCHAPRADIT<br />

SATHITMAHA<br />

SIMARAM<br />

RATCHAWORA<br />

WIHAN<br />

Architect/Designer<br />

Phraya<br />

Ratchasongkhram<br />

(Thongsuk)<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

273


Owner/Proprietor<br />

Wat Ratchapradit<br />

Sathitmahasimaram<br />

Ratchaworawihan<br />

Year of Construction<br />

1864 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1989 A.D.<br />

๒ ถนนสราญรมย์<br />

แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

2 Saranrom Road,<br />

Phraborom Maha<br />

Ratchawang,<br />

Phra Nakhon<br />

Architect/Designer<br />

Tamnak Yai<br />

(Main Pavilion):<br />

Mr.Mario Tamagno<br />

Tamnak Somdej:<br />

Mr.Karl Dohring<br />

Owner/Proprietor<br />

Bank of Thailand<br />

Year of Construction<br />

1901 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1993 A.D.<br />

ธนาคารแห่ง<br />

ประเทศไทย<br />

สี่แยกบางขุนพรหม<br />

๒๗๓ ถนนสามเสน<br />

แขวงวัดสามพระยา<br />

เขตพระนคร<br />

Bank of Thailand,<br />

SURIYANUWAT<br />

BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Mario Tamagno<br />

Owner/Proprietor<br />

National Economic and<br />

Social Development<br />

Board<br />

Year of Construction<br />

1906 - 1908 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1993 A.D.<br />

๙๖๒ ถนนกรุงเกษม<br />

แขวงวัดโสมนัส<br />

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย<br />

962 Krungkasem Road,<br />

Wat Sommanat, Pom<br />

Prap Sattru Phai<br />

THRONE HALL,<br />

SUAN KULARB<br />

RESIDENTIAL<br />

HALL<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Mario Tamagno<br />

Owner/Proprietor<br />

Proprietor Princess<br />

Soamsawali Phra<br />

Worarachathinaddamat<br />

Year of Construction<br />

1912 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1994 A.D.<br />

๑๔ ถนนอู่ทองนอก<br />

แขวงดุสิต เขตดุสิต<br />

14 U Thong Nok Road,<br />

Dusit, Dusit<br />

Bang Khun Phrom<br />

Junction 273 Samsen<br />

Road, Wat Sam<br />

Phraya, Phra Nakhon<br />

O41<br />

วังบางขุนพรหม<br />

(พิพิธภัณฑ์เงินตรา)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ตำหนักใหญ่:<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ตำหนักสมเด็จ:<br />

นายคาร์ล เดอริง<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๔๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๖<br />

BANG KHUNPHROM<br />

PALACE (BANK OF<br />

THAILAND MUSEUM)<br />

O42<br />

อาคารสุริยานุวัตร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานคณะกรรมการ<br />

พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม<br />

แห่งชาติ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๔๙ - ๒๔๕๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๖<br />

O43<br />

ท้องพระโรง<br />

วังสวนกุหลาบ<br />

กองการออมทรัพย์<br />

กรมสวัสดิการทหารบก<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

พระเจ้าวรวงศ์เธอ<br />

พระองค์เจ้าโสมสวลี<br />

พระวรราชาทินัดดามาตุ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

O44<br />

กองบัญชากองทัพเรือ<br />

(พระราชวังเดิม<br />

กรุงธนบุรี)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กองทัพเรือ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๓๑๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

ROYAL THAI NAVY<br />

HEADQUARTERS<br />

(PHRA RACHA<br />

WANG DERM OR<br />

274<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


THE PALACE OF<br />

THONBURI<br />

KINGDOM)<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Royal Thai Navy<br />

Year of Construction<br />

1768 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1994 A.D.<br />

กองทัพเรือ<br />

พระราชวังเดิม<br />

ถนนวังเดิม แขวงวัดอรุณ<br />

เขตบางกอกใหญ่<br />

Royal Thai Navy, Wang<br />

Doem Road, Wat Arun,<br />

<strong>Bangkok</strong> Yai<br />

Owner/Proprietor<br />

Chumbhot – Pantip<br />

Foundation<br />

Year of Construction<br />

1952 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1994 A.D.<br />

๓๕๒ – ๓๕๔<br />

ถนนศรีอยุธยา<br />

แขวงถนนพญาไท<br />

เขตราชเทวี<br />

352–354 Sri Ayutthaya<br />

Road, Phaya Thai,<br />

Ratchathewi<br />

CULTURE OFFICE,<br />

SUAN DUSIT<br />

RAJABHAT<br />

UNIVERSITY)<br />

Architect/Designer<br />

Chaophraya Yommaraj<br />

(Pan Sukhum)<br />

Owner/Proprietor<br />

Suan Dusit Rajabhat<br />

University<br />

Year of Construction<br />

Circa 1911 - 1913 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1994 A.D.<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

สวนดุสิต ๒๙๕<br />

ถนนราชสีมา แขวงดุสิต<br />

เขตดุสิต<br />

Suan Dusit Rajabhat<br />

University, 295<br />

Ratchasima Road,<br />

Dusit, Dusit<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

THE CHINA HOUSE,<br />

MANDARIN<br />

ORIENTAL HOTEL<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mandarin Oriental Hotel<br />

( rented from the<br />

Crown Property Bureau )<br />

Year of Construction<br />

1923 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1994 A.D.<br />

๔๘ ซอยเจริญกรุง ๔๐<br />

(บูรพา) ถนนเจริญกรุง<br />

แขวงบางรัก เขตบางรัก<br />

48 Soi Charoen Krung<br />

40, Charoen Krung<br />

Road, Bang Rak,<br />

Bang Rak<br />

O46<br />

O45<br />

วังสวนผักกาด<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มูลนิธิจุมภฏ – พันธุ์ทิพย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๙๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

SUANPAKKAD<br />

PALACE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

ตำหนักเยาวภา<br />

(สำนักศิลปวัฒนธรรม<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

สวนดุสิต)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

เจ้าพระยายมราช (ปั้น สุขุม)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถาบันราชภัฏสวนดุสิต<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๔ - ๒๔๕๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

TAMNAK<br />

YAOWAPHA<br />

(THE ARTS AND<br />

O47<br />

เดอะไชน่าเฮ้าส์<br />

โรงแรมแมนดาริน<br />

โอเรียนเต็ล<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงแรมแมนดาริน<br />

โอเรียนเต็ล (เช่าจาก<br />

สำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๖<br />

O48<br />

ศาลาเฉลิมกรุง<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ม.จ.สมัยเฉลิม กฤดากร<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มูลนิธิศาลาเฉลิมกรุง<br />

โดยสำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๗๓ – ๒๔๗๖<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

275


ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

SALACHALOEM-<br />

KRUNG ROYAL<br />

THEATRE<br />

Architect/Designer<br />

M.C. Samaichaloem<br />

Kridakara<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau by Sala<br />

Chalermkrung<br />

Foundation<br />

Year of Construction<br />

1930 – 1933 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1994 A.D.<br />

๖๖ ถนนเจริญกรุง<br />

แขวงวังบูรพาภิรมย์<br />

เขตพระนคร<br />

66 Charoen Krung Road,<br />

Wang Buraphaphirom,<br />

Phra Nakhon<br />

O49<br />

สปา ๑๙๓๐<br />

(บ้านตุ๊กตา)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบปรับปรุง :<br />

ศ. ม.จ. โวฒยากร วรวรรณ<br />

ม.ร.ว. ชาญวุฒิ วรวรรณ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท สปา ๑๙๓๐ จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๗๓ - ๒๔๗๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

SPA 1930<br />

(DOLL HOUSE)<br />

Architect/Designer<br />

renovation design:<br />

Prof. M.C. Vodhyakarn<br />

Varavarn<br />

M.R. Charnvudhi Varavarn<br />

Owner/Proprietor<br />

Spa 1930 Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1930-1931 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1994 A.D.<br />

๔๒ ซอยต้นสน ถนน<br />

เพลินจิต แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน<br />

42 Soi Ton Son, Phloen<br />

Chit Road, Lumpini,<br />

Pathumwan<br />

276<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

O5O<br />

ทำเนียบ<br />

เอกอัครราชทูต<br />

เบลเยี่ยม<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถานเอกอัครราชทูต<br />

เบลเยี่ยม<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

RESIDENCE OF<br />

THE BELGIAN<br />

AMBASSADOR<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Mario Tamagno<br />

Owner/Proprietor<br />

The Belgian<br />

Ambassador’s<br />

Year of Construction<br />

1917 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1994 A.D.<br />

๔๔ ซอยพิพัฒน์ ถนน<br />

สาทรเหนือ แขวงสีลม<br />

เขตบางรัก<br />

44 Soi Pipat Sathon<br />

Nuea Road, Si Lom,<br />

Bang Rak<br />

O51<br />

อาสนวิหารอัสสัมชัญ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มิสซังโรมันคาทอลิคกรุงเทพ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

ASSUMPTION<br />

CATHEDRAL<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

<strong>Bangkok</strong> Roman<br />

Catholic Mission<br />

Year of Construction<br />

1909 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1994 A.D.<br />

๒๓ ซอยโอเรียนเต็ล<br />

ถนนเจริญกรุง<br />

แขวงบางรัก เขตบางรัก<br />

23 Soi Oriental<br />

(Charoen Krung 40)<br />

Charoen Krung Road,<br />

Bang Rak, Bang Rak<br />

O52<br />

วรรณศิลป์สโมสร<br />

วัดเทพธิดาราม<br />

(กุฏิสุนทรภู่)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดเทพธิดาราม<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๓๗๙ – ๒๓๘๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

WANNASILP<br />

SAMOSORN, WAT<br />

THEPTHIDARAM<br />

(SUNTHORN PHU’S<br />

KUTI)<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Thepthidaram<br />

Year of Construction<br />

1836 – 1839 A.D.


Conservation Awarded<br />

1994 A.D.<br />

เขตสังฆาวาส (คณะ๗)<br />

วัดเทพธิดาราม<br />

ถนนมหาไชย<br />

แขวงสำราญราษฎร์<br />

เขตพระนคร<br />

Sangkhawas Zone,<br />

7 th Group,<br />

Wat Thepthidaram,<br />

Mahachai Road,<br />

Samranrat,<br />

Phra Nakhon<br />

O53<br />

บ้านจิม ทอมป์สัน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ศ. บุญยง นิโครธานนท์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มูลนิธิ เจมส์ เอช ดับเบิลยู<br />

ทอมป์สัน<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๐๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

JIM THOMPSON<br />

HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Prof. Boonyong<br />

Nikrodhananda<br />

Owner/Proprietor<br />

James H.W. Thompson<br />

Year of Construction<br />

1959 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1996 A.D.<br />

๖ ซอยเกษมสันต์ ๒<br />

ถนนพระราม๑<br />

แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน<br />

6 Soi Kasemsant 2,<br />

Rama I Road,<br />

Wangmai, Pathumwan<br />

O54<br />

บ้านดี<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

นายทรงสิทธิ์ จารุปาณ<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณปลายรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

BAAN DEE HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mr. Songsith Charuparn<br />

Year of Construction<br />

Late King Rama V<br />

period<br />

Conservation Awarded<br />

1996 A.D.<br />

๑๒๓ ถนนเฟื่องนคร<br />

ตรงข้ามวัดราชบพิธสถิต<br />

มหาสีมาราม แขวงวัด<br />

ราชบพิตร เขตพระนคร<br />

123 Fueang Nakhon<br />

Road, opposite to<br />

Wat Ratchabophit<br />

Sathitmahasimaram,<br />

Wat Ratchabophit,<br />

Phra Nakhon<br />

O55<br />

ตำหนักเพ็ชร<br />

วัดบวรนิเวศวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดบวรนิเวศวิหาร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

PHRA TAMNAK<br />

PHET<br />

(ROYAL DIAMOND<br />

RESIDENCE),<br />

WAT BOWONNIWET<br />

WIHAN<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Bowonniwetwihan<br />

Year of Construction<br />

1913 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1996 A.D.<br />

วัดบวรนิเวศวิหาร<br />

ถนนพระสุเมรุ<br />

แขวงบวรนิเวศ<br />

เขตพระนคร<br />

Wat Bowonniwetwihan,<br />

Phra Sumen Road,<br />

Bowon Niwet,<br />

Phra Nakhon<br />

O56<br />

กรมตรวจบัญชี<br />

สหกรณ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กระทรวงเกษตรและ<br />

สหกรณ์<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณสมัยรัชกาลที่ ๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๐<br />

COOPERATIVE<br />

AUDITING<br />

DEPARTMENT<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Ministry of Agriculture<br />

and Cooperative<br />

Year of Construction<br />

Circa reign of King<br />

Rama VI<br />

Conservation Awarded<br />

1997 A.D.<br />

๑๒ ถนนกรุงเกษม<br />

แขวงวัดสามพระยา<br />

เขตพระนคร<br />

12 Krungkasem Road,<br />

Wat Sam Phraya, Phra<br />

Nakhon<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

277


O57<br />

O58<br />

O59<br />

O6O<br />

พระตำหนักเมขลารูจี<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ศูนย์อำนวยการแพทย์<br />

พระมงกุฎเกล้า<br />

กรมแพทย์ทหารบก<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๒ - ๒๔๖๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๐<br />

PHRA TAMNAK<br />

MEKHALA RUCHI<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Mario Tamagno<br />

Owner/Proprietor<br />

Phramongkutklao<br />

Medical Center,<br />

Royal Thai Army<br />

Medical Department<br />

Year of Construction<br />

1919 - 1920 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1997 A.D.<br />

พระราชวังพญาไท<br />

๓๑๕ ถนน ราชวิถี แขวง<br />

ทุ่งพญาไท เขตราชเทวี<br />

Phayathai Palace, 315<br />

Ratchawithi Road,<br />

Thung Phaya Thai,<br />

Ratchathewi<br />

ที่ทำการ<br />

กระทรวงกลาโหม<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายโจอาคิม กราสซี<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กระทรวงกลาโหม<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๒๕ – ๒๔๒๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๐<br />

THE MINISTRY OF<br />

DEFENCE HEAD<br />

OFFICE<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Joachim Grassi<br />

Owner/Proprietor<br />

The Ministry of Defence<br />

Year of Construction<br />

1882 – 1884 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1997 A.D.<br />

ถนนสนามไชย แขวง<br />

พระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

Sanamchai Road,<br />

Phraborom Maha<br />

Ratchawang, Phra<br />

Nakhon<br />

พิพิธภัณฑ์ราชทัณฑ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายโจอาคิม กราสซี<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรมราชทัณฑ์ กระทรวง<br />

มหาดไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๓๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๐<br />

CORRECTIONS<br />

MUSEUM<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Joachim Grassi<br />

Owner/Proprietor<br />

Thai Department of<br />

Corrections, Ministry of<br />

Interior<br />

Year of Construction<br />

1889 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1997 A.D.<br />

๔๓๖ ถนนมหาไชย<br />

แขวงสำราญราษฎร์<br />

เขตพระนคร<br />

436 Mahachai Road,<br />

Samranrat,<br />

Phra Nakhon<br />

เรือนภะรตราชา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๐-๒๔๗๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๐<br />

RUAN PHAROT<br />

RACHA<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Chulalongkorn<br />

University<br />

Year of Construction<br />

1917-1930 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1997 A.D.<br />

จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

(ฝั่งสำนักงานอธิการบดี)<br />

๒๕๔ ถนนพญาไท<br />

แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน<br />

Chulalongkorn<br />

University, 254<br />

Phayathai Road,<br />

Wangmai, Pathumwan<br />

278<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O61<br />

O62<br />

O63<br />

O64<br />

ตำหนัก<br />

พระองค์เจ้าหญิง<br />

อัพภัณตรีปชา<br />

(หอสมุดพรรค<br />

ชาติไทย)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๔๗๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๒<br />

VILLA OF HER<br />

ROYAL HIGHNESS<br />

PRINCESS<br />

ABBHANTRIPAJA<br />

(CURRENTLY THAI<br />

NATION PARTY’S<br />

LIBRARY)<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

1897 - 1927 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1999 A.D.<br />

๑ ถนนพิชัย<br />

แขวงดุสิต เขตดุสิต<br />

1 Phichai Road, Dusit,<br />

บ้านพระอาทิตย์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ผู้จัดการ จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๙ – ๒๔๗๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๒<br />

PHRA ARTHIT<br />

HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Manager Plc.<br />

Year of Construction<br />

1926 – 1927 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1999 A.D.<br />

๑๐๒/๑<br />

ถนนพระอาทิตย์<br />

แขวงชนะสงคราม<br />

เขตพระนคร<br />

102/1 Phra Arthit Road,<br />

Chana Songkhram,<br />

Phra Nakhon<br />

โบสถ์วัดซางตาครู้ส<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณพ่อ<br />

กูเลียลโม กิ๊น ดาครู้ส<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดซางตาครู้ส<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๖ - ๒๔๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๒<br />

SANTA CRUZ<br />

CHURCH<br />

Architect/Designer<br />

Father Gulielmo Kihn<br />

Da Cruz<br />

Owner/Proprietor<br />

Santa Cruz Church<br />

Year of Construction<br />

1913 - 1916 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

1999 A.D.<br />

๑๑๒ ซอยกุฎีจีน<br />

ถนนเทศบาล ๑<br />

แขวงวัดกัลยาณ์<br />

เขตธนบุรี<br />

112 Soi Kudi Chin,<br />

Thesaban I Road,<br />

Wat Kanlaya, Thonburi<br />

ตึกยาว โรงเรียนสวน<br />

กุหลาบวิทยาลัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงเรียนสวนกุหลาบ<br />

วิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๓<br />

TEUK YAO<br />

(LONG BUILDING),<br />

SUANKULARB<br />

WITTHYALAI<br />

SCHOOL<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Suankularb Witthyalai<br />

School<br />

Year of Construction<br />

1910 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2000 A.D.<br />

๘๘ ถนนตรีเพชร<br />

แขวงวังบูรพาภิรมย์<br />

เขตพระนคร<br />

88 Tri Pet Road,<br />

Wang Buraphaphirom,<br />

Phra Nakhon<br />

Dusit<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

279


O65<br />

O66<br />

O67<br />

O68<br />

ห้างทองตั้งโต๊ะกัง<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๓<br />

TANG TOH KANG<br />

GOLD SHOP<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

1921 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2000 A.D.<br />

๓๔๕ ซอยวาณิช ๑<br />

ถนนมังกร แขวงจักรวรรดิ์<br />

เขตสัมพันธวงศ์<br />

345 Soi Vanit I,<br />

Mangkon Road,<br />

Chakkrawat,<br />

Samphanthawong<br />

สยามสมาคม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สยามสมาคม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์พระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๗๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

A GROUP OF<br />

BUILDINGS AT THE<br />

SIAM SOCIETY<br />

UNDER ROYAL<br />

PATRONAGE<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Edward Healey<br />

Owner/Proprietor<br />

The Siam Society under<br />

Patronage Royal<br />

Year of Construction<br />

1932 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2001 A.D.<br />

๑๓๑ ซอยสุขุมวิท ๒๑<br />

ถนนอโศกมนตรี แขวง<br />

คลองเตยเหนือ เขตวัฒนา<br />

131 Sukhumvit 21 (Asok)<br />

Road, Khlong Toei<br />

Nuea, Vadhana<br />

บ้านเจ้าพระยา<br />

สมุหกลาโหม<br />

(ศาลรัฐธรรมนูญ)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ศาลรัฐธรรมนูญ<br />

ปีที่สร้าง<br />

ช่วงรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

RESIDENCE OF<br />

CHAOPHRAYA<br />

SAMUHA KALAHOM<br />

(CONSTITUTIONAL<br />

COURT)<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Constitutional<br />

Court<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama V<br />

Conservation Awarded<br />

2001 A.D.<br />

๓๒๖ ถนนจักรเพชร<br />

แขวงวังบูรพาภิรมย์<br />

เขตพระนคร<br />

326 Chakpet Road,<br />

Wang Buraphaphirom,<br />

Phra Nakhon<br />

ภัตตาคารบลู<br />

เอเลฟเฟ่นท์<br />

(หอการค้าไทย-จีน)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ภัตตาคารบลูเอเลฟเฟ่นท์<br />

(เช่าจากหอการค้าไทย-จีน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

BLUE ELEPHANT<br />

RESTAURANT<br />

(THAI-CHINESE<br />

CHAMBER OF<br />

COMMERCE)<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Blue Elephant<br />

Restaurant<br />

(Thai-Chinese Chamber<br />

of Commerce)<br />

Year of Construction<br />

1915 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2001 A.D.<br />

๒๓๓ ถนนสาทรใต้<br />

แขวงยานนาวา เขตสาทร<br />

233 Sathon Tai Road,<br />

Yannawa, Sathon<br />

280<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O69<br />

O7O<br />

O71<br />

O72<br />

ตำหนักริมน้ำ<br />

ธนาคาร<br />

แห่งประเทศไทย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายเอมิลิโอ โจวานนี<br />

กลอลโล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

TAMNAK RIMNAM<br />

(RIVERSIDE<br />

PAVILION), BANK<br />

OF THAILAND<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Emilio Giovanni<br />

Gollo<br />

Owner/Proprietor<br />

Bank of Thailand<br />

Year of Construction<br />

1914 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2001 A.D.<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

๒๗๓ ถนนสามเสน<br />

แขวงวัดสามพระยา<br />

เขตพระนคร<br />

Bank of Thailand,<br />

273 Samsen Road,<br />

Wat Sam Phraya,<br />

Phra Nakhon<br />

ร้านแมคโดนัลด์<br />

สาขาราชดำเนิน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ม.ล.ปุ้ม มาลากุล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท แมคไทย จำกัด<br />

(เช่าจากสำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๘๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

MCDONALD’S<br />

RATCHADAMNOEN<br />

BRANCH<br />

Architect/Designer<br />

M.L. Pum Malakul<br />

Owner/Proprietor<br />

Mc Thai Co.,Ltd. (rented<br />

from the Crown<br />

Property Bureau)<br />

Year of Construction<br />

1943 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2001 A.D.<br />

๗๗/๑<br />

ถนนราชดำเนินกลาง<br />

แขวงบวรนิเวศ<br />

เขตพระนคร<br />

77/1 Ratcahdamnoen<br />

Klang Road,<br />

Bowonniwet,<br />

Phra Nakhon<br />

บ้าน ม.ร.ว คึกฤทธิ์<br />

ปราโมช<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบวางผังเรือน :<br />

ม.ร.ว คึกฤทธิ์ ปราโมช<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ม.ล. รองฤทธิ์ ปราโมช<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๐๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

M.R. KUKRIT<br />

PRAMOJ HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

M.R. Kukrit Pramoj<br />

Layout design<br />

Owner/Proprietor<br />

M.L. Rongrit Pramoj<br />

Year of Construction<br />

1960 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2001 A.D.<br />

๑๙ ซอยพระพินิจ<br />

ถนนสาทรใต้ แขวง<br />

ยานนาวา เขตสาทร<br />

19 Soi Phra Phinit,<br />

Sathon Tai Road,<br />

Yannawa, Sathon<br />

โบสถ์และสำนักแม่ชี<br />

อุรสุลิน โรงเรียน<br />

มาแตร์เดอีวิทยา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงเรียนมาแตร์เดอีวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

ก่อน พ.ศ. ๒๔๖๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

URSULIN CHURCH<br />

AND CONVENT,<br />

MATER DEI<br />

SCHOOL<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mater Dei School<br />

Year of Construction<br />

Before 1926 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2001 A.D.<br />

โรงเรียนมาแตร์เดอี<br />

วิทยาลัย ๕๓๔ ถนน<br />

เพลินจิต แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน<br />

Mater Dei School,<br />

534 Phloen Chit Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

281


O73<br />

O74<br />

O75<br />

O76<br />

กลุ่มตึกแถวถนน<br />

พระอาทิตย์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่ ๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

ROW HOUSES ON<br />

PHRA ARTHIT<br />

ROAD<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

Circa reign of King<br />

Rama VI<br />

Conservation Awarded<br />

2001 A.D.<br />

ถนนพระอาทิตย์ แขวง<br />

ชนะสงคราม เขตพระนคร<br />

Phra Arthit Road,<br />

Chanasongkhram,<br />

Phra Nakhon<br />

บ้านพระยาอมเรศร์<br />

สมบัติ (สำนักงานเขต<br />

พระนคร)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

PHRAYA<br />

AMARETSOMBAT<br />

HOUSE<br />

(PHRA NAKHON<br />

DISTRICT OFFICE)<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

<strong>Bangkok</strong> Metropolis<br />

Year of Construction<br />

1914 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2002 A.D.<br />

๗๘ ซอยสามเสน ๓<br />

ถนนสามเสน แขวงวัด<br />

สามพระยา เขตพระนคร<br />

78 Soi Samsen 3,<br />

Samsen Road,<br />

Wat Sam Phraya,<br />

Phra Nakhon<br />

บ้านพิษณุโลก<br />

(บ้านบรรทมสินธุ์)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

และนายอันนิบาเล ริกอตติ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

PHITSANULOK<br />

HOUSE<br />

(BANTHOMSIN<br />

HOUSE)<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Mario Tamagno,<br />

Mr.Annibale Rigotti<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

1923 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2002 A.D.<br />

๔๒๖-๔๒๘ ถนน<br />

พิษณุโลก แขวงสี่แยก<br />

มหานาค เขตดุสิต<br />

426 - 428, Phitsanulok<br />

Road, Si Yaek<br />

Mahanak, Dusit<br />

บ้านมนังคศิลา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักเลขาธิการนายก<br />

รัฐมนตรี สำนักนายก<br />

รัฐมนตรี<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่ ๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

MANANGKHASILA<br />

HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Edward Healey<br />

Owner/Proprietor<br />

The Secretariat of<br />

the Prime Minister,<br />

Office of the Prime<br />

Minister<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama VI<br />

Conservation Awarded<br />

2002 A.D.<br />

๕๑๔ ถนนหลานหลวง<br />

แขวงสี่แยกมหานาค<br />

เขตดุสิต<br />

514 Lan Luang Road,<br />

Si Yaek Mahanak,<br />

Dusit<br />

282<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

๒๕๔ ถนนพญาไท<br />

แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน<br />

Chulalongkorn<br />

University, 254<br />

Phayathai Road,<br />

Wangmai, Pathumwan<br />

O77<br />

O78<br />

O79<br />

โรงเรียนเผยอิง<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สมาคมแต้จิ๋วแห่ง<br />

ประเทศไทย และคณะ<br />

กรรมการโรงเรียนเผยอิง<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

PEI-ING SCHOOL<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Proprietor the Teo Chiw<br />

Society of Thailand and<br />

Pei-ing School<br />

Committee<br />

Year of Construction<br />

1916 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2002 A.D.<br />

๘๓๑ ถนนทรงวาด<br />

แขวงจักรวรรดิ์<br />

เขตสัมพันธวงศ์<br />

831 Songwad Road,<br />

Chakrawat,<br />

Samphanthawong<br />

สถานีรถไฟหัวลำโพง<br />

(สถานีรถไฟกรุงเทพ)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

และนายอัลเฟรโด ริกาซซี<br />

ผู้ครอบครอง<br />

การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

HUA LAMPHONG<br />

RAILWAY STATION<br />

(BANGKOK<br />

RAILWAY STATION)<br />

Architect/Designer<br />

Mr. mario Tamagno<br />

Mr. Alfredo Rigazzi<br />

Owner/Proprietor<br />

State Railway of<br />

Thailand<br />

Year of Construction<br />

1910 - 1916 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2002 A.D.<br />

ถนนพระรามที่ ๔<br />

แขวงรองเมือง<br />

เขตปทุมวัน<br />

Rama IV Road, Rong<br />

Mueang, Pathumwan<br />

หอประชุมจุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระพรหมพิจิตร<br />

(อู๋ ลาภานนท์) และ<br />

พระสาโรชรัตนนิมมานก์<br />

(สาโรช สุขยงค์)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๘๑-๒๔๘๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

CHULALONGKORN<br />

UNIVERSITY<br />

AUDITORIUM<br />

Architect/Designer<br />

Phra Phrompichit (U<br />

Laphanont) and<br />

Phra Sarot Rattana<br />

Nimman (Sarot Sukkyang)<br />

Owner/Proprietor<br />

Chulalongkorn<br />

University<br />

Year of Construction<br />

1938-1939 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2002 A.D.<br />

O8O<br />

อาคารเรือนกระจก<br />

สวนสัตว์ดุสิต<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระยาบริหารราชมานพ<br />

(ศร ศรเกตุ)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

องค์การสวนสัตว์<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่ ๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

GLASS HOUSE,<br />

DUSIT ZOO<br />

Architect/Designer<br />

Phraya<br />

Borihanratchamanop<br />

(Sorn Sonket)<br />

Owner/Proprietor<br />

The Zoological Park<br />

Organization<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama VII<br />

Conservation Awarded<br />

2002 A.D.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

283


สวนสัตว์ดุสิต ๗๑<br />

ถนนพระรามที่ ๕<br />

แขวงดุสิต เขตดุสิต<br />

Dusit Zoo, 71 Rama V<br />

Road, Dusit, Dusit<br />

๔๘ ซอยเจริญกรุง ๔๐<br />

(ตรอกโอเรียนเต็ล)<br />

ถนนเจริญกรุง<br />

แขวง บางรัก เขตบางรัก<br />

48 Soi Charoen Krung<br />

40, Charoen Krung<br />

Road, Bang Rak,<br />

Bang Rak<br />

๕๘ ซอยเจริญกรุง<br />

(ซอยโรงแรมแชงกรีลา)<br />

๔๒/๑ ถนนเจริญกรุง<br />

แขวงบางรัก เขตบางรัก<br />

58 Soi Charoen Krung<br />

42/1 Charoen Krung<br />

Road, Bang Rak,<br />

Bang Rak<br />

Conservation<br />

Designer:<br />

Nond – Trungjai<br />

Architects, Planners<br />

Co., Ltd. By Phaisan<br />

Punsinburanakul and<br />

Pongkwan Sukwattana<br />

Lassus<br />

Owner/Proprietor<br />

Bank of Thailand<br />

Year of Construction<br />

1917 – 1918 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2004 A.D.<br />

O81<br />

โรงแรมแมนดาริน<br />

โอเรียนเต็ล<br />

(โรงแรม โอเรียนเต็ล)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายสเตฟาโน คาร์ดู<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท โรงแรมโอเรียนเต็ล<br />

(ประเทศไทย) จำกัด<br />

มหาชน<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๒๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

MANDARIN<br />

ORIENTAL HOTEL<br />

(THE ORIGINAL<br />

HOTEL)<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Stefano Cardu<br />

Owner/Proprietor<br />

The Oriental Hotel<br />

(Thailand) Plc.<br />

Year of Construction<br />

1885 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2002 A.D.<br />

O82<br />

วัดสวนพลู<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดสวนพลู<br />

ปีที่สร้าง<br />

ก่อน พ.ศ. ๒๔๗๗<br />

ปัจจุบันอาคารส่วนใหญ่<br />

ถูกรื้อถอนแล้ว<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

WAT SUAN PHLU<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Suan Phlu<br />

Year of Construction<br />

Before 1934 A.D.<br />

Now most of the buildings<br />

were demolished.<br />

Conservation Awarded<br />

2002 A.D.<br />

O83<br />

อาคารหมายเลข ๔<br />

ธนาคารแห่ง<br />

ประเทศไทย<br />

(ตึกหม่อมลม้าย)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายเอมิลโย โจวันนี อูเจน<br />

โย กอลโล และนายโมเรสกี<br />

ออกแบบอนุรักษ์: บริษัท<br />

นนท์ – ตรึงใจ สถาปนิก<br />

และนักวางผัง จำกัด โดย<br />

ไพศาล พูลสินบูรณะกุล<br />

ปองขวัญ สุขวัฒนา ลาซูส<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

BUILDING NO.4,<br />

BANK OF<br />

THAILAND (MOM<br />

LAMAI BUILDING)<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Emilio Giovanni<br />

Eugenio Gollo and<br />

Mr. Moreschi<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

สี่แยกบางขุนพรหม<br />

๒๗๓ ถนนสามเสน<br />

แขวงวัดสามพระยา<br />

เขตพระนคร<br />

Bank of Thailand,<br />

Bang Khun Phrom<br />

Junction 273 Samsen<br />

Road, Wat Sam<br />

Phraya, Phra Nakhon<br />

O84<br />

บ้านสุริยาศัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

ปลายรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

284<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


SURIYASAI HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Thai Beverage (Public)<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

Late in the reign of<br />

King Rama V<br />

Conservation Awarded<br />

2004 A.D.<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama V<br />

Conservation Awarded<br />

2004 A.D.<br />

๒๑ ถนนอัษฎางค์<br />

แขวงวังบูรพาภิรมย์<br />

เขตพระนคร<br />

21 Asadang Road,<br />

Wang Buraphaphirom,<br />

Phra Nakhon<br />

วัดไทร<br />

๑๑ ถนนเอกชัย<br />

แขวงบางขุนเทียน<br />

เขตจอมทอง<br />

Wat Sai, 11 Ekachai<br />

Road, Bang Khun<br />

Thian, Chomthong<br />

37 Soi Charoen<br />

Nakhon 59, Charoen<br />

Nakhon Road,<br />

Bukkhalo, Thonburi<br />

๑๗๔ ถนนสุรวงศ์<br />

แขวงสี่พระยา เขตบางรัก<br />

174 Surawong Road,<br />

Sipraya, Bang Rak<br />

O88<br />

O85<br />

บ้านอิศรเสนา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

นายพารณ, ร้อยโทนุรักษ์<br />

และนายพิพัฒนพงศ์<br />

อิศรเสนา ณ อยุธยา<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

ISSARASENA<br />

HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mr.Pharon, Lieutenant<br />

Nurak and Mr.Phiphatphong<br />

Issarasena<br />

Na Ayutthaya<br />

O86<br />

ตำหนักพระเจ้าเสือ<br />

(ตำหนักทอง) วัดไทร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดไทร<br />

ปีที่สร้าง<br />

สมัยอยุธยา<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

TAMNAK PHRA<br />

CHAO SUEA OR<br />

KING SANPHET<br />

VIII (TAMNAK<br />

THONG), WAT SAI<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Sai<br />

Year of Construction<br />

Ayutthaya period<br />

Conservation Awarded<br />

2004 A.D.<br />

O87<br />

คริสตจักรที่ ๑ สำเหร่<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คริสตจักรที่ ๑ สำเหร่<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

THE 1 ST<br />

PRESBYTERIAN<br />

CHURCH, SAMRAY<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The 1 st Presbyterian<br />

Church<br />

Year of Construction<br />

1910 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2004 A.D.<br />

๓๗ ซอยเจริญนคร ๕๙<br />

ถนนเจริญนคร<br />

แขวงบุคคโล เขตธนบุรี<br />

ตำหนักใหญ่<br />

วังเทวะเวสม์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายเอ็ดเวิร์ด ฮีลีย์<br />

ออกแบบอนุรักษ์:<br />

กรมศิลปากร โดย จี้เท้ง<br />

ปิยะกาญจน์ และ กิตติพันธ์<br />

พานสุวรรณ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

TAMNAK YAI<br />

(MAIN MAINSION),<br />

THEWAWET PALACE<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Edward Healy<br />

Conservation Designer:<br />

Fine Art Department<br />

by Jeetheng Piyakarn<br />

& Kittipan Phansuwan<br />

Owner/Proprietor<br />

Bank of Thailand<br />

Year of Construction<br />

1916 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2005 A.D.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

285


ธนาคาร<br />

แห่งประเทศไทย<br />

สี่แยกบางขุนพรหม<br />

๒๗๓ ถนนสามเสน<br />

แขวงวัดสามพระยา<br />

เขตพระนคร<br />

Bank of Thailand,<br />

Bang Khun Phrom<br />

Junction 273 Samsen<br />

Road, Wat Sam Phraya,<br />

Phranakorn<br />

Conservation Awarded<br />

2005 A.D.<br />

ทำเนียบรัฐบาล ๑<br />

ถนนพิษณุโลก แขวงดุสิต<br />

เขตดุสิต<br />

Government House, 1<br />

Pissanulok Road, Dusit,<br />

Dusit<br />

Year of Construction<br />

1935 – 1936 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2005 A.D.<br />

๒ ถนนพระจันทร์<br />

แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

Thammasat University,<br />

2, Phra Chan Road,<br />

Phraborom Maha<br />

Ratchawang, Phra<br />

Nakhon<br />

Year of Construction<br />

Circa 1909 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2005 A.D.<br />

๑๙๙ ถนนข้าวสาร<br />

แขวงตลาดยอด<br />

เขตพระนคร<br />

199 Khao San Road,<br />

Talat Yot, Phra Nakhon<br />

O89<br />

ตึกนารีสโมสร<br />

และตึกแสงอาทิตย์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักนายกรัฐมนตรี<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่ ๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

NARISAMOSON<br />

BUILDING AND<br />

SAENG ATHIT<br />

BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Office of the Prime<br />

Minister<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama VI<br />

286<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

O9O<br />

อาคารโดม<br />

มหาวิทยาลัย<br />

ธรรมศาสตร์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายจิตรเสน (หมิว) อภัยวงศ์<br />

ออกแบบอนุรักษ์:<br />

รศ. วีระ อินพันทัง<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๗๘ – ๒๔๗๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

DOME BUILDING<br />

THAMMASAT<br />

UNIVERSITY<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Chitrasen (Miu)<br />

Abhaiwongse<br />

Conservation<br />

Designer: Assoc. Prof.<br />

Veera Inpantang<br />

Owner/Proprietor<br />

Thammasat University<br />

O91<br />

ไกรจิตติ<br />

อาร์ตแกลเลอรี่<br />

(บ้านไกรจิตติ)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

สถาปนิกอิตาเลียน<br />

สมัยรัชกาลที่ ๕<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ศ. สรรเสริญ ไกรจิตติ<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณ พ.ศ. ๒๔๕๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

KRAICHITTI ART<br />

GALLERY<br />

(KRAICHITTI<br />

HOUSE)<br />

Architect/Designer<br />

Italian architects in the<br />

reign of King Rama V<br />

Owner/Proprietor<br />

Prof. Sansoen Kraichitti<br />

O92<br />

ตึกแดง การรถไฟ<br />

แห่งประเทศไทย<br />

(ที่ทำการรถไฟยศเส)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

หลวงสุขวัฒน์สุนทร<br />

วิศวกรของกรมรถไฟ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๗๑ - ๒๔๗๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

TEUK DAENG<br />

(RED BUILDING)<br />

(OFFICE OF THE<br />

STATE RAILWAY OF<br />

THAILAND, YOTSE<br />

Architect/Designer<br />

Luang Sukwatsunthon,<br />

An architect of<br />

Department of the Royal<br />

State Railways of Siam<br />

Owner/Proprietor<br />

State Railway of<br />

Thailand


Year of Construction<br />

1928 - 1931 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2006 A.D.<br />

๑ ถนนรองเมือง แขวง<br />

รองเมือง เขตปทุมวัน<br />

1 Rong Mueang Road,<br />

Rong Mueang,<br />

Pathumwan<br />

O93<br />

Owner/Proprietor<br />

Department of<br />

Alternative Energy<br />

Development and<br />

Efficiency, Ministry of<br />

Energy<br />

Year of Construction<br />

1897 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2006 A.D.<br />

ถนนพระราม ๑<br />

(ริมสะพานกษัตริย์ศึกต่อ<br />

สะพานยศเส) แขวง<br />

รองเมือง เขตปทุมวัน<br />

Rama I Road<br />

(at the corner of<br />

Kasatsuek Bridge and<br />

Yotse Bridge),<br />

Rong Mueang,<br />

Pathumwan<br />

Owner/Proprietor<br />

State Railway of<br />

Thailand<br />

Year of Construction<br />

1907 - 1910 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2006 A.D.<br />

ถนนนิคมมักกะสัน<br />

แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี<br />

Nikhom Makkasan<br />

Road, Makkasan,<br />

Ratchathewi<br />

(FORMER OFFICE<br />

OF THE MINISTRY<br />

OF COMMERCE)<br />

Architect/Designer<br />

Mr.Mario Tamagno<br />

Conservation Designer:<br />

Kudakahn Co., Ltd. &<br />

Stonehenge Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

National Discovery<br />

Museum Institute<br />

Year of Construction<br />

Circa 1921 – 1922 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2006 A.D.<br />

ถนนสนามไชย แขวง<br />

พระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

Sanamchai Road,<br />

Phraborom Maha<br />

บ้านนนที<br />

(บ้านพิบูลธรรม)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ตึกกลาง :<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ตึก ๓ ชั้น :<br />

นายแอร์โกเล มันเฟรดี<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรมพัฒนาพลังงาน<br />

ทดแทนและอนุรักษ์<br />

พลังงาน กระทรวง<br />

พลังงาน<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๔๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

NONTHEE HOUSE<br />

(PIBULTHAM<br />

HOUSE)<br />

Architect/Designer<br />

Central Building:<br />

Unknown<br />

Three-storey Building:<br />

Mr. Ercole Manfredi<br />

O94<br />

โรงงานรถไฟมักกะสัน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

สันนิษฐานว่าออกแบบโดย<br />

วิศวกรชาวอิตาลี<br />

ผู้ครอบครอง<br />

การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๐-๒๔๕๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

MAKKASAN TRAIN<br />

WAREHOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Italian engineer<br />

O95<br />

สถาบันพิพิธภัณฑ์<br />

การเรียนรู้แห่งชาติ<br />

(อาคารกระทรวง<br />

พาณิชย์เดิม)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายมาริโอ ตามานโญ<br />

ออกแบบอนุรักษ์:<br />

บริษัท กุฎาคาร จำกัด<br />

และ บริษัท สโตนเฮ้นจ์<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถาบันพิพิธภัณฑ์<br />

การเรียนรู้แห่งชาติ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๔ – ๒๔๖๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

NATIONAL<br />

DISCOVERY<br />

MUSEUM<br />

INSTITUTE<br />

Ratchawang,<br />

Phra Nakhon<br />

O96<br />

หอประชุม<br />

ราชแพทยาลัยและ<br />

ศาลาท่าน้ำ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

หอประชุมราชแพทยาลัย:<br />

ศ.ม.จ. โวฒยากร วรวรรณ<br />

ศาลาท่าน้ำ :<br />

หลวงวิศาลศิลปกรรม<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงพยาบาลศิริราช<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

287


ปีที่สร้าง<br />

หอประชุมราชแพทยาลัย<br />

พ.ศ. ๒๔๙๕<br />

ศาลาท่าน้ำ พ.ศ. ๒๔๖๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

RAJAPAETHAYALAI,<br />

RIVERSIDE<br />

PAVILION SIRIRAJ<br />

HOSPITAL<br />

Architect/Designer<br />

Rajapaethayalai: Prof.<br />

M.C. Vodhyakarn Varavarn<br />

Riverside Pavilion:<br />

Luang Wisansilpakam<br />

Owner/Proprietor<br />

Siriraj Hospital<br />

Year of Construction<br />

Ratchaphaettayalai:<br />

1952 A.D.<br />

Riverside Pavilion:<br />

1923 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2006 A.D.<br />

โรงพยาบาลศิริราช<br />

ถนนพรานนก แขวงศิริราช<br />

เขตบางกอกน้อย<br />

Siriraj Hospital Phan<br />

Nok Road, Siriraj,<br />

<strong>Bangkok</strong> Noi<br />

O97<br />

บริติชคลับ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริติชคลับ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

BRITISH CLUB<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

British Club<br />

Year of Construction<br />

1910 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2006 A.D.<br />

๑๘๙ ถนนสุรวงศ์<br />

แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก<br />

189 Surawong Road,<br />

Suriyawong, Bang Rak<br />

288<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

O98<br />

ตึกถาวรวัตถุ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br />

เจ้าฟ้ากรมพระยา<br />

นริศรานุวัดติวงศ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรมศิลปากร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๓๘ – ๒๔๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

THAWORAWATTHU<br />

BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

H.R.H. Prince<br />

Krommaphraya<br />

Narisaranuvativongse<br />

Owner/Proprietor<br />

The Fine Arts<br />

Department<br />

Year of Construction<br />

1895 – 1916 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

ถนนหน้าพระธาตุ<br />

แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

Na Phra That Road,<br />

Phraborom Maha<br />

Ratchawang,<br />

Phra Nakhon<br />

O99<br />

ตึกแม้นนฤมิตร -<br />

แม้นศึกษาสถาน<br />

โรงเรียนเทพศิรินทร์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br />

เจ้าฟ้ากรมพระยา<br />

นริศรานุวัดติวงศ์<br />

ออกแบบอนุรักษ์ :<br />

นายเพี้ยน สมบัติเปี่ยม<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงเรียนเทพศิรินทร์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๔๔ - ๒๔๔๕<br />

ปรับปรุง พ.ศ. ๒๔๙๑ -<br />

๒๔๙๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

MAEN NARUEMIT<br />

BUILDING,<br />

DEBSIRIN SCHOOL<br />

Architect/Designer<br />

H.R.H. Prince<br />

Krommaphraya<br />

Narisaranuvativongse<br />

Reconstruction:<br />

Mr.Phian Sombatpiam<br />

Owner/Proprietor<br />

Debsirin School<br />

Year of Construction<br />

1901 - 1902 A.D.<br />

Reconstruction<br />

1948 - 1949 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

โรงเรียนเทพศิรินทร์<br />

๑๔๖๔ ถนนกรุงเกษม<br />

แขวงวัดเทพศิรินทร์<br />

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย<br />

Debsirin School, 1464<br />

Krung Kasem Road,<br />

Wat Debsirin, Pom<br />

Prap Sattru Phai<br />

1OO<br />

วังสมเด็จกรม<br />

พระสวัสดิวัฒนวิศิษฏ์<br />

(ยูนิเซฟ)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบอนุรักษ์:<br />

กรมศิลปากร โดย<br />

กิจจา อยู่โพธิ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์


ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

PALACE OF<br />

PRINCE SVASTI<br />

VATANAVISISHTHA<br />

(UNICEF THAILAND<br />

HEADQUARTERS),<br />

PHRA ATHIT ROAD<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer:<br />

Fine Arts Department<br />

by Kijja Youpho<br />

Owner/Proprietor<br />

The Bureau of the<br />

Crown Property<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama V<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

๑๙ ถนนพระอาทิตย์<br />

แขวงชนะสงคราม<br />

เขตพระนคร<br />

19 Phra Arthit Road,<br />

Chana Songkhram,<br />

Phra Nakhon.<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กระทรวงสาธารณสุข<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๘๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

53RD PUBLIC<br />

HEALTH SERVICE<br />

CENTRE, THUNG<br />

SONG HONG<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Ministry of Public<br />

Health<br />

Year of Construction<br />

1938 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

หมู่บ้านการเคหะ<br />

ชุมชนทุ่งสองห้อง หมู่ ๒<br />

ถนนวิภาวดีรังสิต<br />

แขวงทุ่งสองห้อง<br />

เขตหลักสี่<br />

Muban<br />

Khankhehachumchon<br />

Thung Song Hong,<br />

Mu 2 Vibhavadi Rangsit<br />

Road, Thung Song Hong,<br />

Lak Si<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๙๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

LUMPINI PARK<br />

DISCOVERY<br />

LEARNING LIBRARY<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

<strong>Bangkok</strong> Metropolitant<br />

Administration<br />

Year of Construction<br />

1955 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

สวนลุมพินี ถนน<br />

ราชดำริ แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน<br />

Lumpini Park,<br />

Ratchadamri Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

ออกแบบอนุรักษ์:<br />

รณฤทธิ์ ธนโกเศศ และ<br />

หัทยา สิริพัฒนากุล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มหาวิทยาลัย<br />

ศรีนครินทรวิโรฒ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๙๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

PRASARNMIT<br />

BUILDING,<br />

SRINAKHARIN-<br />

WIROT<br />

UNIVERSITY<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Phian Sombatpiam<br />

Conservation Designer:<br />

Ronnarit Thanakoset &<br />

Hatthaya Siriphatthanakun<br />

Owner/Proprietor<br />

Srinakharinwirot<br />

University Prasarnmit<br />

Campus<br />

Year of Construction<br />

1950 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

มหาวิทยาลัย<br />

ศรีนครินทรวิโรฒ<br />

ประสานมิตร<br />

๑๑๔ ซอยสุขุมวิท ๒๓<br />

แขวงคลองเตยเหนือ<br />

เขตวัฒนา<br />

Srinakharinwirot<br />

ศูนย์บริการ<br />

สาธารณสุข ๕๓<br />

ทุ่งสองห้อง<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

1O1<br />

ห้องสมุด<br />

เพื่อการเรียนรู้<br />

สวนลุมพินี<br />

1O2<br />

1O3<br />

อาคารประสานมิตร<br />

มหาวิทยาลัย<br />

ศรีนครินทรวิโรฒ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายเพี้ยน สมบัติเปี่ยม<br />

University Prasarnmit<br />

Campus<br />

114 Soi Sukhumvit 23,<br />

Khlong Toei Nuea,<br />

Vadhana<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

289


269 Charoen<br />

Krung-Worachak<br />

Road, Pom Prap,<br />

Pom Prap Sattru Phai<br />

1O4<br />

1O5<br />

1O7<br />

อาคารเรียน<br />

โรงเรียนอัสสัมชัญ<br />

คอนแวนต์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงเรียนอัสสัมชัญ<br />

คอนแวนต์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๔๗-๒๔๔๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

STUDY HALL,<br />

ASSUMPTION<br />

CONVENT SCHOOL<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Assumption Convent<br />

School<br />

Year of Construction<br />

1904-1905 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

๒๕ ซอยเจริญกรุง<br />

๔๐ ถนนเจริญกรุง<br />

แขวงบางรัก เขตบางรัก<br />

25 Soi Charoen Krung<br />

40, Charoen Krung<br />

Road, Bang Rak,<br />

Bang Rak<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

สาขาเฉลิมนคร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบอนุรักษ์:<br />

บริษัท พี ๔๙<br />

ดีไซน์วูดเฮด จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

ปลายรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

SIAM COMMERCIAL<br />

BANK PLC. CHALOEM<br />

NAKHON BRANCH<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer:<br />

P49 Design woodhead<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

Late in the reign of<br />

King Rama V<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

๒๖๙ ถนนเจริญกรุง -<br />

วรจักร แขวงป้อมปราบ<br />

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย<br />

1O6<br />

บ้านเลขที่ ๑๙<br />

ถนนสาทรใต้<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณจิตต์ – คุณอรวรรณ<br />

จัยวัฒน์<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณ พ.ศ. ๒๔๘๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

HOUSE NO. 19,<br />

SOUTH SATHON<br />

ROAD<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Chit – Orawan Chaiwat<br />

Year of Construction<br />

1941 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

๑๙ ถนนสาทรใต้<br />

แขวงทุ่งมหาเมฆ<br />

เขตสาทร<br />

19 Sathon Tai Road,<br />

Thung Maha Mek,<br />

Sathon<br />

โบสถ์น้อย<br />

โรงเรียนเซนต์โยเซฟ<br />

คอนเวนต์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายอัลเฟรโด ริกาซซี่<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงเรียนเซนต์โยเซฟ<br />

คอนเวนต์<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณ พ.ศ. ๒๔๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

CHAPEL, SAINT<br />

JOSEPH CONVENT<br />

SCHOOL<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Alfredo Rigazzi<br />

Owner/Proprietor<br />

Saint Joseph Convent<br />

School<br />

Year of Construction<br />

1907 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

๗ ถนนคอนแวนต์<br />

แขวงสีลม เขตบางรัก<br />

7 Convent Road, Silom,<br />

Bang Rak<br />

290<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


1O8<br />

พุทธาวาส<br />

วัดราชบพิธสถิตมหา<br />

สีมารามราชวรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้า<br />

ประดิษฐ์วรการ,<br />

พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรม<br />

หลวงสรรพสาตรศุภกิจ,<br />

เจ้าพระยาธรรมาธิกรณาธิบดี<br />

(หม่อมราชวงศ์ปุ้มมาลากุล)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดราชบพิธสถิตมหาสีมา<br />

รามราชวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๑๒ – ๒๔๑๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

BHUDDAVAS AREA,<br />

WAT<br />

RATCHABOPHIT<br />

SATHITMAHA-<br />

SIMARAM<br />

RATCHAWORAWIHAN<br />

Architect/Designer<br />

H.H. Prince<br />

Praditworakan,<br />

H.H. Prince<br />

Krommaluang<br />

Sapphasat Supphakit,<br />

Chao Phraya<br />

Thammathi<br />

koranathibadi<br />

(M.R. Pum Malakun)<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Ratchabophit<br />

Sathitmahasimaram<br />

Ratchaworawihan<br />

Year of Construction<br />

1869 – 1870 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

ถนนราชบพิธ<br />

แขวงวัดราชบพิธ<br />

เขตพระนคร<br />

Ratchabophit Road,<br />

Wat Ratchabophit,<br />

Phra Nakhon<br />

1O9<br />

โลหะปราสาท<br />

วัดราชนัดดาราม<br />

วรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดราชนัดดารามวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๓๙๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

LOHA PRASAT, WAT<br />

RATCHANADDARAM<br />

WORAWIHAN<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Ratchanaddaram<br />

Worawihan<br />

Year of Construction<br />

1851 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2007 A.D.<br />

๒ ถนนมหาไชย<br />

แขวงสำราญราษฎร์<br />

เขตพระนคร<br />

2 Mahachai Road,<br />

Samranrat, Phra Nakhon<br />

11O<br />

วังวาริชเวสม์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระสาโรช รัตนนิมมานก์<br />

(สาโรช สุขยางค์)<br />

ออกแบบอนุรักษ์:<br />

ดร. ยุวรัตน์ เหมะศิลปิน<br />

และ ฐิติวุฒิ ชัยสวัสดิ์อารี<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท แมชชิ่ง สตูดิโอ<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๗๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

WARICHWES<br />

PALACE<br />

Architect/Designer<br />

Phra Sarot Rattana<br />

Nimman<br />

(Sarot Sukyang)<br />

Conservation Designer:<br />

Yuwarat Hemasilpin<br />

Ph.D. & Thitiwoot<br />

Chaisawataree<br />

Owner/Proprietor<br />

Matching Studio Public<br />

Company Limited<br />

Year of Construction<br />

1933 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2008 A.D.<br />

ซอยสุโขทัย ๖<br />

ถนนสุโขทัย แขวงดุสิต<br />

เขตดุสิต<br />

Soi Sukhothai 6,<br />

Sukhothai Road, Dusit,<br />

Dusit<br />

111<br />

อาคาร ๑๐๐ ปี<br />

โรงเรียนซางตาครู้ส<br />

คอนแวนท์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คณะภคิณี เซนต์ปอล<br />

เดอ ชาร์ตร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

PAULINIAN<br />

BRAIN-BASED<br />

LEARNING CENTER<br />

THE 100 YEARS<br />

MEMORIAL<br />

BUILDING OF SANTA<br />

CRUZ CONVENT<br />

SCHOOL<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

291


Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Phakinee St. Paul de<br />

Chatthra<br />

Year of Construction<br />

1918 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2008 A.D.<br />

๑๔๖ ถนนเทศบาล ๑<br />

แขวงวัดกัลยาณ์<br />

เขตธนบุรี<br />

146 Thesaban I Road,<br />

Wat Kanlaya, Thonburi<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

1947 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2008 A.D.<br />

๘๒-๙๘<br />

ถนนพระอาทิตย์<br />

แขวงวัดชนะสงคราม<br />

เขตพระนคร<br />

82-98 Phra Arthit Road,<br />

Wat Chana Songkhram,<br />

Phra Nakhon<br />

Owner/Proprietor<br />

<strong>Bangkok</strong> Metropolis<br />

Year of Construction<br />

Before 1937 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2008 A.D.<br />

๒๗๓ ซอยเจริญกรุง<br />

๔๓ ถนนเจริญกรุง<br />

แขวงสี่พระยา เขตบางรัก<br />

273 Soi Charoen Krung<br />

43, Charoen Krung<br />

Road Si Phraya,<br />

Bang Rak<br />

FOUNDATION)<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Luang Pradit Phiroh<br />

(Sorn Silapabanleng)<br />

Foundation<br />

Year of Construction<br />

1934 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2008 A.D.<br />

๔๗ ถนนเศรษฐศิริ<br />

แขวงสามเสนใน<br />

เขตพญาไท<br />

47 Satthasiri Road,<br />

SamSen Nai,<br />

Phayathai<br />

อาคารเก้าห้อง<br />

ถนนพระอาทิตย์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๙๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

112<br />

A NINE ROW<br />

BUILDING ON<br />

PHRA ARTHIT ROAD<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

113<br />

พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

เขตบางรัก (บ้านถนน<br />

เจริญกรุง ๔๓)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

ปีที่สร้าง<br />

ก่อน พ.ศ. ๒๔๘๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

LOCAL BANGKOK<br />

MUSEUM,<br />

BANGRAK<br />

(A HOUSE ON<br />

CHAROEN KRUNG<br />

43)<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

114<br />

เรือนบรรเลง<br />

(มูลนิธิ<br />

หลวงประดิษฐไพเราะ<br />

(ศร ศิลปบรรเลง)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มูลนิธิหลวงประดิษฐ์ไพเราะ<br />

(ศร ศิลปบรรเลง)<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

RUAN BANLENG OR<br />

THAI TRADITION<br />

MUSIC HOUSE<br />

(LUANG PRADIT<br />

PHIROH (SORN<br />

SILAPABANLENG)<br />

115<br />

พระวิหาร<br />

วัดมกุฏกษัตริยาราม<br />

ราชวรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบบูรณะ:<br />

กรมศิลปากร โดย<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดมกุฏกษัตริยาราม<br />

ราชวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง<br />

แล้วเสร็จ พ.ศ. ๒๔๑๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

292<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


GRAND VIHARA<br />

WAT MAKUT-<br />

KASATTRIYARAM<br />

RATCHAWORAWIHAN<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer :<br />

Fine Arts Department<br />

by Dr. Vasu<br />

Poshyanandana<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Makutkasattriyaram<br />

Ratchaworawihan<br />

Year of Construction<br />

Completed in 1868 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2008 A.D.<br />

วัดมกุฏกษัตริยาราม<br />

ราชวรวิหาร ๓๓๐<br />

ถนนประชาธิปไตย<br />

แขวงบางขุนพรหม<br />

เขตพระนคร<br />

Wat Makutkasattriyaram<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่ ๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

KIAN UN KENG<br />

SHRINE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mr. Bud –<br />

Mr. Phisittathapon<br />

Simasatien<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama III<br />

Conservation Awarded<br />

2008 A.D.<br />

ถนนเทศบาลสาย ๑<br />

แขวงวัดกัลยาณ์เขตธนบุรี<br />

Thesaban Sai I Road,<br />

Wat Kanlaya, Thonburi<br />

COURT OF JUSTICE<br />

Architect/Designer<br />

Phra<br />

Sarocharattanimmaan<br />

(Saroch Sukkayang)<br />

Owner/Proprietor<br />

Ministry of Justice<br />

Year of Construction<br />

1939 A.D. Most of the<br />

buildiongs were<br />

demolished in 2012<br />

Conservation Awarded<br />

2009 A.D.<br />

๖ ถนนราชดำเนินใน<br />

แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

6 Ratchadamnoen Nai<br />

Road, Phra Borom<br />

Maha Ratchawang,<br />

Pra Nakorn<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Baan Dinso Hostel<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

Built during the reign<br />

of King Rama V<br />

Conservation Awarded<br />

2009 A.D.<br />

๑๑๓ ตรอกศิลป์<br />

ถนนดินสอ แขวง<br />

บวรนิเวศ เขตพระนคร<br />

113 Trok Silp, Dinso<br />

Road, Bavorniwet,<br />

Pranakorn<br />

Ratchaworawihan<br />

330 Prachathippatai<br />

Road,Bang Khun<br />

Phrom, Phra Nakhon<br />

119<br />

116<br />

ศาลเจ้าเกียนอันเกง<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

นายบุศย์ – นายพิสิฏฐพล<br />

สิมะสเถียร<br />

117<br />

กลุ่มอาคารศาล<br />

ยุติธรรม<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระสาโรชรัตนนิมมานก์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ศาลยุติธรรม<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๘๒-๒๔๘๖<br />

อาคารส่วนใหญ่ถูกรื้อใน<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

118<br />

บ้านดินสอบูติค<br />

โฮสเทล<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ห้างหุ้นส่วนจำกัด<br />

บ้านดินสอบูติคโฮสเทล<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณรัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

BAAN DINSO<br />

BOUTIQUE HOTEL<br />

วังสมเด็จ<br />

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br />

กรมพระยา ชัยนาท<br />

นเรนทร (วังวิทยุ)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายชาลส์ เบเกอเเล็ง<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ทายาทราชสกุลรังสิต<br />

ปีที่สร้าง<br />

ก่อสร้างเสร็จ พ.ศ. ๒๔๖๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

PALACE OF HRH<br />

PRINCE RANGSIT<br />

PRAYURASAKDI<br />

(PRINCE OF CHAI<br />

NAT) OR WITTHAYU<br />

PALACE<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

293


Architect/Designer<br />

Charles Berger Lang<br />

Owner/Proprietor<br />

Rangsit royal family’s<br />

descendants<br />

Year of Construction<br />

1925 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2009 A.D.<br />

ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน<br />

Witthayu Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

Viriyadamrong and<br />

Mr. Kittiphan<br />

Phansuwan<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Bot Samsen<br />

Year of Construction<br />

1708 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2009 A.D.<br />

๖๕๘ ถนนสามเสน<br />

แขวงดุสิต เขตดุสิต<br />

658 Samsen Road,<br />

Dusit, Dusit<br />

Conservation Awarded<br />

2010 A.D.<br />

โรงเรียนฤทธิ์ณรงค์รอน<br />

๕๔๔ ซอยเพชรเกษม ๒<br />

แขวงท่าพระ<br />

เขตบางกอกใหญ่<br />

Rithnarongron school,<br />

544 Soi Phetkasem 2,<br />

Tha Pra, <strong>Bangkok</strong> Yai<br />

๒๗๒ ถนน<br />

พระรามที่ ๖<br />

แขวงทุ่งพญาไท<br />

เขตราชเทวี<br />

272 Rama VI Road,<br />

Thung Phaya Thai,<br />

Ratchathewi<br />

123<br />

12O<br />

พุทธาวาส<br />

วัดโบสถ์สามเสน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบบูรณะ :<br />

กรมศิลปากร โดย<br />

นายสุรยุทธ วิริยะดำรงค์<br />

นายกิตติพันธ์ พานสุวรรณ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดโบสถ์สามเสน<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๒๕๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

BHUDDAVAS AREA,<br />

WAT BOT SAMSEN<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer:<br />

Fine Arts Department,<br />

Ministry of Culture by<br />

Mr. Surayut<br />

294<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

121<br />

พิพิธภัณฑ์<br />

บ้านคุณหลวง<br />

ฤทธิ์ณรงค์รอน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

สถาปนิกชาวอิตาเลียน<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงเรียนฤทธิ์ณรงค์รอน<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

BAAN KHUNLUANG<br />

RITHNARONGRON<br />

MUSEUM<br />

Architect/Designer<br />

Italian architect<br />

Owner/Proprietor<br />

Rithnarongron School<br />

Year of Construction<br />

1923 A.D.<br />

122<br />

ตึกกลม<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณอมร ศรีวงศ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๐๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

TUEK KLOM<br />

(ROUND BUILDING)<br />

MAHIDOL<br />

UNIVERSITY<br />

Architect/Designer<br />

Amon Sriwong<br />

Owner/Proprietor<br />

Mahidol University<br />

Year of Construction<br />

1965 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2010 A.D.<br />

สมาคมนิสิตเก่า<br />

จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

เจน สกลธนารักษ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สมาคมนิสิตเก่า<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๑๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

CHULALONGKORN<br />

UNIVERSITY<br />

ALUMNI<br />

ASSOCIATION<br />

UNDER THE<br />

PATRONNAGE OF<br />

HIS MAJESTY<br />

THE KING<br />

Architect/Designer<br />

Jane Sakonthanarak<br />

Owner/Proprietor<br />

Chulalongkorn<br />

University Alumni<br />

Association under


the Patronage of<br />

H.M. the King<br />

Year of Construction<br />

1967 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2010 A.D.<br />

๑๘/๑ ถนนเจริญ<br />

ราษฎร์ แขวงยานนาวา<br />

เขตสาทร<br />

18/1 Charoen Rat Road,<br />

Yannawa, Sathon<br />

96 – 98 Phraeng<br />

Bhuthorn Road, San<br />

Chaopho Suea, Phra<br />

Nakhon<br />

315 Soi Phetkasem 28,<br />

Phetkasem Road, Kuha<br />

Sawan, Phasi Charoen<br />

ถนนพญาไท<br />

แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน<br />

Phayathai Road,<br />

Wangmai, Pathumwan<br />

124<br />

บ้านพระนนท์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบอนุรักษ์:<br />

อดุลย์ แก้วดี,<br />

บริษัท กอปรฝัน จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณทสมา คอทสไมส์<br />

(บริษัท หลานพระนนท์<br />

จำกัด)<br />

ปีที่สร้าง<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

BAAN PRA NOND<br />

BED & BREAKFAST<br />

Architect/Designer<br />

Jane Sakonthanarak<br />

Owner/Proprietor<br />

Tasma Cotsmire (Larn<br />

Pra Nond Co., Ltd.)<br />

Year of Construction<br />

Unknown<br />

Conservation Awarded<br />

2010 A.D.<br />

125<br />

เดอะภูธร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบอนุรักษ์ :<br />

คุณดิเรก และคุณจิตลดา<br />

เส็งหลวง<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณดิเรก และคุณจิตลดา<br />

เส็งหลวง<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่ ๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

THE BHUTHORN<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer:<br />

Direk and Chitlada<br />

Senglaung<br />

Owner/Proprietor<br />

Direk and Chitlada<br />

Senglaung<br />

Year of Construction<br />

King Rama V period<br />

Conservation Awarded<br />

2010 A.D.<br />

๙๖ – ๙๘<br />

ถนนแพร่งภูธร<br />

แขวงศาลเจ้าพ่อเสือ<br />

เขตพระนคร<br />

126<br />

บ้านศิลปิน<br />

คลองบางหลวง<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

นายชุมพล อักพันธานนท์<br />

ปีที่สร้าง<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

BAAN SILPIN<br />

(THE ARTIST<br />

HOUSE), KLONG<br />

BANG LUANG<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mr. Chumpol<br />

Akapanthanon<br />

Year of Construction<br />

Unknown<br />

Conservation Awarded<br />

2010 A.D.<br />

๓๑๕ ซอยเพชรเกษม<br />

๒๘ ถนนเพชรเกษม<br />

แขวงคูหาสวรรค์<br />

เขตภาษีเจริญ<br />

127<br />

พระบรมธาตุเจดีย์<br />

วัดประยุรวงศาวาส<br />

วรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดประยุรวงศาวาสวร<br />

วิหาร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๓๗๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

PHRA BOROMTHAT<br />

MAHA CHEDI<br />

(THE GREAT<br />

PAGODA)<br />

WAT PRAYURA<br />

WONGSAWAS<br />

WARAVIHARN<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat<br />

Prayurawongsawas<br />

Waraviharn<br />

Year of Construction<br />

1828 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2010 A.D.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

295


๒๔ ถนนประชาธิปก<br />

แขวงวัดกัลยาณ์<br />

เขตธนบุรี<br />

24 Prachathipok Road,<br />

Wat Kanlaya, Thonburi<br />

129<br />

13O<br />

131<br />

อนุสาวรีย์พิทักษ์<br />

รัฐธรรมนูญ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

หลวงนฤมิตรเลขการ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรมทางหลวง<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๗๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๔<br />

MONUMENT OF<br />

CONSTITUTION<br />

PROTECTION<br />

Architect/Designer<br />

Luang Narumitr<br />

Lekhakan<br />

Owner/Proprietor<br />

Department of<br />

Highways<br />

128<br />

Year of Construction<br />

1936 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2011 A.D.<br />

ถนนพหลโยธิน<br />

(ใกล้วงเวียนหลักสี่ )<br />

แขวงอนุสาวรีย์<br />

เขตบางเขน<br />

Phaholyothin Road<br />

( Near Lak Si Circle ),<br />

Anusawari, Bang Khen<br />

อาคารศิลป<br />

วัฒนธรรม<br />

จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระสาโรจ รัตนนิมมานก์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๘๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๔<br />

BUILDING OF ARTS<br />

AND CULTURE,<br />

CHULALONGKORN<br />

UNIVERSITY<br />

Architect/Designer<br />

Phra Saroj<br />

Rattananimman<br />

Owner/Proprietor<br />

Chulalongkorn<br />

University<br />

Year of Construction<br />

1937 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2011 A.D.<br />

จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

ถนนพญาไท แขวงวังใหม่<br />

เขตปทุมวัน<br />

Chulalongkorn<br />

University, Phayathai<br />

Raod, Wang Mai,<br />

Pathumwan<br />

296<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

โรงเรียนช่างพิมพ์<br />

วัดสังเวช<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

อาคารโรงงาน :<br />

พระสาโรชรัตนนิมมานก์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรมธนารักษ์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๗๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๔<br />

FORMER WAT<br />

SUNGWEJ<br />

PRINTING SCHOOL<br />

Architect/Designer<br />

Factory building : Phra<br />

Saroj Rattananimman<br />

Owner/Proprietor<br />

Department of the<br />

Treasury.<br />

Year of Construction<br />

1932 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2011 A.D.<br />

ถนนพระสุเมรุ<br />

แขวงชนะสงคราม<br />

เขตพระนคร<br />

Phrasumen Road,<br />

Chana Songkram,<br />

Phra Nakhon<br />

โรงภาพยนตร์<br />

เฉลิมธานี<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๔<br />

CHALERM THANI<br />

THEATER<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

1918 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2011 A.D.<br />

ตลาดนางเลิ้ง<br />

ถนนนครสวรรค์<br />

แขวงวัดโสมนัส<br />

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย<br />

Nang Loeng Market,<br />

Nakhon Sawan Road,<br />

Wat Sommanut, Pom<br />

Prap Sattru Phai


132<br />

อาคารพระยาพาลาซโซ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบอนุรักษ์ :<br />

ผศ. วิชัย พิทักษ์วรรัตน์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัทพระยา พาลาซโซ่<br />

จำกัด เช่าจากมูลนิธิ<br />

อิสลามกรุงเทพวิทยาทาน<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๔<br />

PHRAYA PALAZZO<br />

BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer:<br />

Asst. Prof. Wichai<br />

Pitukworarat<br />

Owner/Proprietor<br />

Krung Thep Wittaya<br />

Tan Islamic<br />

Foundation Rented<br />

by Phraya Palazzo<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1923 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2011 A.D.<br />

๗๕๗/๑ ซอย<br />

สมเด็จพระปิ่นเกล้า ๒<br />

ถนนสมเด็จพระปิ่นเกล้า<br />

แขวงบางยี่ขัน<br />

เขตบางพลัด<br />

757/1 Soi Somdet Phra<br />

Pin Klao 2, Somdet<br />

Phra Pin Klao Road,<br />

Bang Yi Khan,<br />

Bang Phlat<br />

133<br />

อาคารอริยาศรมวิลล่า<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ศ.ม.จ. โวฒยากร<br />

วรวรรณ และ<br />

อาจารย์จรัล สมชะนะ<br />

ออกแบบอนุรักษ์<br />

ภูมิสถาปนิกและวางผัง :<br />

นางปริย เชนะกุล,<br />

สถาปนิก :<br />

นายสุทิต วังรุ่งอรุณ,<br />

มัณฑนากร :<br />

บริษัท ไอเอฟอาร์ โดย<br />

คุณเดวิด ลีส์<br />

และคุณลดาวัลย์ ลีละยูวะ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

นายจุลวัฒน์ เชนะกุล<br />

นางนิศา เชนะกุล<br />

และนางปริย เชนะกุล<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๘๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๔<br />

ARIYASOMVILLA<br />

Architect/Designer<br />

Prof. M.C. Vodhyakarn<br />

Varavarn & Jarun<br />

Somchana<br />

Conservation Designer:<br />

Pariya Chenakul<br />

(Restoration of<br />

landscape architect<br />

and planning) Suthit<br />

Wangrungarun<br />

(Architect) IFR by David<br />

Lees and Ladawan<br />

Leelayuwa (Interior<br />

Designer)<br />

Owner/Proprietor<br />

Julawat Chenakul,<br />

Nisa Chenakul and<br />

Pariya Chenakul<br />

Year of Construction<br />

1942 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2011 A.D.<br />

๖๗ ซอยสุขุมวิท ๑<br />

(รื่นฤดี) ถนนสุขุมวิท<br />

แขวงคลองเตยเหนือ<br />

เขตวัฒนา<br />

67 Soi Sukhumvit 1<br />

(Ruenrudi), Sukhumvit<br />

Road, Khlong Toei Nuea,<br />

Vadhana<br />

มัสยิดบางหลวง<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มัสยิดบางหลวง<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่ ๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๔<br />

134<br />

BANG LUANG<br />

MOSQUE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Bang Luang Mosque<br />

Year of Construction<br />

King Rama III<br />

Conservation Awarded<br />

2011 A.D.<br />

๘๐๒ ซอยมัสยิดบาง<br />

หลวง ถนนอรุณอมรินทร์<br />

แขวงวัดกัลยาณ์<br />

เขตธนบุรี<br />

802 Soi Mussayid Bang<br />

Luang, Arun Amarin<br />

Road, Wat Kanlaya,<br />

Thonburi<br />

135<br />

กลุ่มอาคารใน<br />

วัดบวรนิเวศวิหาร<br />

(โครงการบูรณ<br />

ปฏิสังขรณ์ พ.ศ.<br />

๒๕๔๙ – ๒๕๕๓)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ดำเนินการบูรณะ :<br />

ห้างหุ้นส่วนจำกัด แชฟ้า,<br />

บริษัท ดำรงค์ก่อสร้างวิศว<br />

จำกัด, บริษัท ส.บุญมีฤทธิ์<br />

วิศวกรรม จำกัด และ<br />

บริษัท ศิวกรการช่าง จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดบวรนิเวศวิหาร<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

297


ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่ ๓ – รัชกาลที่ ๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๔<br />

GROUP OF<br />

BUILDINGS IN WAT<br />

BOWONNIWET<br />

WIHAN<br />

(RESTORATION<br />

PROJECT<br />

2006 – 2010)<br />

Architect/Designer<br />

Conservation :<br />

Chae Fa Ltd., Part.,<br />

Damrong Construction,<br />

Co., Ltd., S.Boonmeerit<br />

Engineering Co.,Ltd.<br />

and Siwakorn<br />

Karnchang Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Bowonniwetwihan<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama III –<br />

King Rama VIII<br />

Conservation Awarded<br />

2011 A.D.<br />

วัดบวรนิเวศวิหาร<br />

๒๔๘ ถนนพระสุเมรุ<br />

แขวงวัดบวรนิเวศ<br />

เขตพระนคร<br />

Wat Bowonniwetwihan,<br />

248 Phrasumen Road,<br />

Bawonniwet,<br />

Phra Nakhon<br />

136<br />

พระอุโบสถและ<br />

หมู่กุฏิสงฆ์<br />

วัดไตรมิตรวิทยาราม<br />

วรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระอุโบสถ : หลวงวิศาล<br />

ศิลปกรรม (เชื้อ ปัทมจินดา)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดไตรมิตรวิทยารามวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง<br />

สันนิษฐานว่าเป็นสมัย<br />

รัชกาลที่๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๔<br />

UBOSOT<br />

(ORDINATION<br />

HALL) AND<br />

THE MONK’S<br />

QUARTER IN<br />

WAT TRAIMIT<br />

WITTHAYARAM<br />

WORAWIHAN<br />

Architect/Designer<br />

Ubosot (ordination hall) :<br />

Luang Wisansilapakam<br />

(Chua Pattamajinda)<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Traimit<br />

Witthayaramworawihan<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama III<br />

Conservation Awarded<br />

2011 A.D.<br />

๖๖๑ ถนนเจริญกรุง<br />

แขวงตลาดน้อย<br />

เขตสัมพันธวงศ์<br />

661 Charoenkrung<br />

Road, Talat Noi,<br />

Samphanthawong<br />

137<br />

อาคารศูนย์ศิลป<br />

วัฒนธรรม<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

บ้านสมเด็จเจ้าพระยา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระสาโรชรัตนนิมมานก์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

บ้านสมเด็จเจ้าพระยา<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ.๒๔๖๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

THE OFFICE OF<br />

ART AND CULTURE,<br />

BANSOMDEJ-<br />

CHAOPRAYA<br />

RAJABHAT<br />

UNIVERSITY<br />

Architect/Designer<br />

Phra Sarot Rattana<br />

Nimman<br />

Owner/Proprietor<br />

Bansomdejchaopraya<br />

Rajabhat University<br />

Year of Construction<br />

1919 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2012 A.D.<br />

๑๐๖๑<br />

ซอยอิสรภาพ ๑๕<br />

ถนนอิสรภาพ<br />

แขวงหิรัญรุจี เขตธนบุรี<br />

1061 Soi Itsaraphap 15,<br />

Itsaraphap Road,<br />

Hiranruchi, Thonburi<br />

138<br />

พิพิธภัณฑ์<br />

บ้านเอกะนาค<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

บ้านสมเด็จเจ้าพระยา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

บ้านสมเด็จเจ้าพระยา<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ.๒๔๖๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

THE OFFICE OF<br />

BAAN EKKANAK<br />

MUSEUM<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Bansomdejchaopraya<br />

Rajabhat University<br />

Year of Construction<br />

1919 A.D.<br />

298<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


Conservation Awarded<br />

2012 A.D.<br />

๑๐๖๑<br />

ซอยอิสรภาพ ๑๕<br />

ถนนอิสรภาพ<br />

แขวงหิรัญรุจี เขตธนบุรี<br />

1061 Soi Itsaraphap 15,<br />

Itsaraphap Road,<br />

Hiranruchi, Thonburi<br />

๒ – ๓๐ ถนนหน้าพระลาน<br />

แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

2 - 30 Na Phra Lan<br />

Road, Phra Borom<br />

Maha Ratchawang,<br />

Phra Nakhon<br />

Conservation Awarded<br />

2012 A.D.<br />

๙๔ - ๙๔/๑<br />

ถนนอัษฎางค์<br />

แขวงวังบูรพาภิรมย์<br />

เขตพระนคร<br />

94-94/1 Atsadang<br />

Road, Wang Burapha,<br />

Phra Nakhon<br />

๑๘๔<br />

ซอยสยามสแควร์ ๑<br />

ถนนพระราม ๑<br />

แขวงปทุมวัน<br />

เขตปทุมวัน<br />

184 Soi Siam Square 1,<br />

Rama I Road,<br />

Pathumwan,<br />

Pathumwan<br />

14O<br />

139<br />

ตึกแถวหน้าพระลาน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบอนุรักษ์ :<br />

บริษัท กุฎาคาร จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

NA PHRA LAN ROW<br />

BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer:<br />

Kudakarn Co. Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

1909 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2012 A.D.<br />

ดิอัษฎางค์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบอนุรักษ์ :<br />

คุณดิเรก – คุณจิตรลดา<br />

เส็งหลวง<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณดิเรก – คุณจิตรลดา<br />

เส็งหลวง (เช่าจาก<br />

สำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์)<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณ พ.ศ.๒๔๔๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

THE ATSADANG<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer:<br />

Direk & Chitlada<br />

Sengluang<br />

Owner/Proprietor<br />

Direk & Chitlada Sengluang<br />

(Rented from<br />

The Crown Property<br />

Bureau)<br />

Year of Construction<br />

1906 A.D.<br />

141<br />

โรงภาพยนตร์สกาล่า<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบอนุรักษ์ :<br />

พันเอก จิระ ศิลปะกนก<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท สยามมหรสพ<br />

จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ.๒๕๑๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

SCALA THEATER<br />

Architect/Designer<br />

Col. Jira Silapakanok<br />

Owner/Proprietor<br />

Siam Mahora Sop<br />

Com. Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1969 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2012 A.D.<br />

142<br />

หอพระไตรปิฎก<br />

วัดเทพธิดาราม<br />

วรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบบูรณะ :<br />

อาสาสมัครในโครงการ<br />

อาษาอาสาสถาปัตยกรรม<br />

ไทย สมาคมสถาปนิก<br />

สยามฯ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดเทพธิดารามวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พระบาทสมเด็จ<br />

พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

ทรงสถาปนาวัดขึ้นใน<br />

พ.ศ. ๒๓๔๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

HO PHRA<br />

TRAIPIDOK<br />

(SCRIPTURE HALL),<br />

WAT<br />

THEPTHIDARAM<br />

WORAWIHAN<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

299


Architect/Designer<br />

Conservation Designer :<br />

Architecture<br />

Conservation<br />

Committee on<br />

Traditional<br />

Thai Architecture,<br />

The Association of<br />

Siamese Architects<br />

under the Royal<br />

Patronage<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Thepthidaram<br />

Year of Construction<br />

King Rama III<br />

established the temple<br />

in 1836<br />

Conservation Awarded<br />

2012 A.D.<br />

๗๐ ถนนสนามไชย<br />

แขวงสำราญราษฎร์<br />

เขตพระนคร<br />

70 Sanam Chai Road,<br />

Samranrat,<br />

Phra Nakhon<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๑๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

UBOSOT<br />

(ORDINATION HALL),<br />

WAT DEBSIRIN-<br />

DRAWAS<br />

RAJAWORAVIHARA<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer<br />

: Air Vice Marshal<br />

Arwut Ngernchooklin<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Debsirindrawas<br />

Rajaworavihara<br />

Year of Construction<br />

1876 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2012 A.D.<br />

วัดเทพศิรินทราวาส<br />

ราชวรวิหาร ๑๔๖๔<br />

ถนนกรุงเกษม<br />

แขวงวัดเทพศิรินทร์<br />

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย<br />

Wat Debsirintharawas<br />

Rajaworavihara, 1464<br />

Krung Kasem Road,<br />

Wat Debsirin, Pom Prap<br />

Sattru Phai<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มัสยิดต้นสน<br />

ปีที่สร้าง<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ปรับปรุงเป็นอาคารรับ<br />

เสด็จ ประมาณ<br />

พ.ศ. ๒๔๘๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

PAVILION OF<br />

TONSON MOSQUE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Tonson Mosque<br />

Year of Construction<br />

Renovated for the king<br />

visit around 1946 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2012 A.D.<br />

๔๔๗ ซอยวัดหงส์<br />

รัตนาราม ถนนอรุณ<br />

อมรินทร์แขวงวัดอรุณ<br />

เขตบางกอกใหญ่<br />

447 Soi Wat Hong,<br />

Rattanaram Arun Amarin<br />

Road, Wat Arun,<br />

<strong>Bangkok</strong> Yai<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

KLEOW MOO<br />

LOADING CENTER<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Siam Cement Public<br />

Company Limited<br />

Year of Construction<br />

1915 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2013 A.D.<br />

บริษัทปูนซิเมนต์ไทย<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

๑ ถนนปูนซิเมนต์ไทย<br />

แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ<br />

Siam Cement Public<br />

Company Limited, 1<br />

Siam Cement Road,<br />

Bangsue, Bangsue<br />

143<br />

พระอุโบสถ<br />

วัดเทพศิรินทราวาส<br />

ราชวรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบบูรณะ :<br />

พลอากาศตรี อาวุธ<br />

เงินชูกลิ่น<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดเทพศิรินทราวาส<br />

ราชวรวิหาร<br />

อาคารรับเสด็จ<br />

มัสยิดต้นสน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

300<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

144<br />

อาคารเกลียวหมู<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัทปูนซีเมนต์ไทย<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

145<br />

146<br />

พุทธาวาส<br />

วัดปทุมวนารามวรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบบูรณะ :<br />

ศาลาคู่หน้าพระอุโบสถ,<br />

ศาลาเฉลิมพระเกียรติ :<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

พระอุโบสถ, พระวิหาร :<br />

บ.บูรณาไท


พระเจดีย์ประธาน, งาน<br />

ปรับปรุงภูมิสถาปัตยกรรม :<br />

กรมศิลปากร<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๐๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

BHUDDAVAS AREA,<br />

WAT PATHUM<br />

WANARAM<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer :<br />

The two pavilion in<br />

front of The Ubosot<br />

(ordination hall),<br />

Chalerm Pra Kiet Pavillion<br />

: Chulalongkorn<br />

University<br />

Ubosot (ordination<br />

hall), Phra Vahara :<br />

Burana Thai Company<br />

The Main Chedi,<br />

the improvement of<br />

the landscape<br />

architecture :<br />

The Fine Arts<br />

Department<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Pathum Wanaram<br />

Rajaworawihan<br />

Year of Construction<br />

1857 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2013 A.D.<br />

๙๖๙ ถนนพระราม๑<br />

แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน<br />

969 Rama 1 Road,<br />

Pathumwan, Pathumwan<br />

147<br />

เทวสถานโบสถ์<br />

พราหมณ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบบูรณะ :<br />

พลอากาศตรี<br />

อาวุธ เงินชูกลิ่น<br />

ผู้ครอบครอง<br />

พระมหาราชครูพิธีศรีวิสุทธิ<br />

คุณวิบูลย์เวทย์บรมหงส์<br />

พรหมพงศ์ พฤฒาจาริย์<br />

(พราหมณ์ ชวิน รังสิ<br />

พราหมณกุล)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ.๒๓๒๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

DEVASATHAN<br />

BRAHMIN SHRINES<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer :<br />

Air Vice Marshal<br />

Arwut Ngernchooklin<br />

Owner/Proprietor<br />

Phra Maha Raja Guru<br />

Bidhi Sri Visudhigun<br />

Viboonvej<br />

Borommahong<br />

Brahamhong,<br />

the senior Brahmin<br />

(Brahmin Chawin<br />

Ransibrahmanakul)<br />

Year of Construction<br />

1784 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2013 A.D.<br />

๒๖๘ ถนนบ้านดินสอ<br />

แขวงเสาชิงช้า<br />

เขตพระนคร<br />

268 Ban Dinsor Road,<br />

Sao Ching Cha, Phra<br />

Nakhon<br />

148<br />

อาคารทำเนียบท่าช้าง<br />

ถนนพระอาทิตย์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ม.จ. สมัยเฉลิม กฤดากร<br />

ดำเนินการอนุรักษ์ :<br />

สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

ประมาณ พ.ศ.๒๔๗๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ.๒๕๕๗<br />

THAMNIAP THA<br />

CHANG (THA<br />

CHANG OFFICE)<br />

Architect/Designer<br />

M.C. Samaichalerm<br />

Kridakorn<br />

Conservation project<br />

by The Crown Property<br />

Bureau<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

1927 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2014 A.D.<br />

๑๙ ถนนพระอาทิตย์<br />

แขวงชนะสงคราม<br />

เขตพระนคร<br />

19 Phra Athit Road,<br />

Chana Songkhram,<br />

Phra Nakhon<br />

149<br />

เรือนพระยา<br />

ศรีธรรมาธิราช<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระยาศรีธรรมาธิราช<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

ปลายรัชกาลที่๕ และต้น<br />

รัชกาลที่๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ.๒๕๕๗<br />

PHRAYA SRI<br />

THAMMATHIRAT’S<br />

RESIDENCE<br />

Architect/Designer<br />

Phraya Sri<br />

Thammathirat<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

301


Year of Construction<br />

During the late period of<br />

King Chulalongkorn,<br />

Rama V reign and early<br />

period of King<br />

Vachiravudh, Rama VI<br />

Conservation Awarded<br />

2014 A.D.<br />

๘๗ ถนนจรัสเมือง<br />

แขวงรองเมือง<br />

เขตปทุมวัน<br />

87 Charat Muang Road,<br />

Rong Muang, Pathumwan<br />

15O<br />

พิพิธภัณฑ์<br />

แห่งการเรียนรู้<br />

การประปาไทย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ที่สูบน้ำ พ.ศ. ๒๔๕๗ และ<br />

อาคารที่ขังน้ำบริสุทธิ์ :<br />

บริษัท ยี.กลูเซอร์<br />

ประเทศอิตาลี<br />

โรงเกรอะน้ำ ถังพักน้ำ และ<br />

โรงกรองน้ำ ๑ : บริษัท<br />

ยูไนเต็ด อินยีเนีย<br />

ประเทศอังกฤษ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

การประปานครหลวง<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๒ – ๒๔๗๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ.๒๕๕๗<br />

THAI WATERWORKS<br />

MUSEUM<br />

Architect/Designer<br />

The Water Pumping<br />

Station and The Pure<br />

Water Station: G. Kluzer<br />

Company, Italy The<br />

Septic Tank Station<br />

The Settling House and<br />

The Filtering House 1:<br />

United Engineer<br />

Company, Great Britain<br />

Owner/Proprietor<br />

Metropolitan Waterworks<br />

Authority<br />

Year of Construction<br />

1909 - 1930 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2014 A.D.<br />

๒๒๐ ถนนพระราม ๖<br />

แขวงสามเสนใน<br />

เขตพญาไท<br />

220 Rama IV Road, Sam<br />

Sen Nai, Phayathai<br />

151<br />

อาคารพิพิธภัณฑ์<br />

อู่เรือหลวง<br />

เฉลิมพระเกียรติ ๘๔<br />

พรรษา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรมอู่ทหารเรือ<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ.๒๕๕๗<br />

THE ROYAL<br />

THAI DOCKYARD<br />

MUSEUM<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Naval Dockyard<br />

Department<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama V<br />

Conservation Awarded<br />

2014 A.D.<br />

๒ ถนนอรุณอมรินทร์<br />

แขวงศิริราช<br />

เขตบางกอกน้อย<br />

2 Arun-amarin Road,<br />

Siriraj, <strong>Bangkok</strong> Noi<br />

152<br />

บำรุงชาติสาสนายาไทย<br />

(บ้านหมอหวาน)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบอนุรักษ์ :<br />

พ.ศ. ๒๕๔๖ – ๒๕๔๘<br />

นายบุญเสริม เปรมธาดา,<br />

พ.ศ. ๒๕๔๘ – ปัจจุบัน<br />

นายเอกรินทร์ สุขสว่าง<br />

ผู้ครอบครอง<br />

นางสาวออระ วรโภค และ<br />

นางออม ญาโณทัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ.๒๕๕๗<br />

BUMRUNGCHAT<br />

SASSANA YATHAI<br />

(BAAN MO WAAN<br />

OR MO WAAN<br />

HOUSE)<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer:<br />

2003 – 2005<br />

Mr. Bunserm Premthada<br />

2005 – present<br />

Mr.Ekarin Suksawang<br />

Owner/Proprietor<br />

Ms. Aura Worapoke<br />

and Mrs. Aom Yanothai<br />

Year of Construction<br />

1924 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2014 A.D.<br />

๙ ซอยเทศา<br />

ถนนบำรุงเมือง แขวงวัด<br />

ราชบพิธ เขตพระนคร<br />

9 Soi Thesa, Bamrungmuang<br />

Road,<br />

Wat Ratchabopit,<br />

Phra Nakhon<br />

153<br />

บ้านศรีบูรพา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

นางชนิด สายประดิษฐ์<br />

302<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


ปีที่สร้าง<br />

ประมาณ พ.ศ. ๒๔๗๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ.๒๕๕๗<br />

BAAN SRI BURAPHA<br />

(SRI BURAPHA<br />

HOUSE)<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mrs. Chanit Saipradit<br />

Year of Construction<br />

Circa 1935 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2014 A.D.<br />

๓๕ ซอยพระนาง<br />

ถนนพญาไท เขตพญาไท<br />

35 Soi Pranang,<br />

Phayathai Road,<br />

Payathai<br />

SEYFEE MOSQUE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Seyfee Mosque<br />

Year of Construction<br />

1910 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2014 A.D.<br />

๒๕๒๗/๑<br />

ซอยสมเด็จเจ้าพระยา ๕<br />

ถนนสมเด็จเจ้าพระยา<br />

แขวงสมเด็จเจ้าพระยา<br />

เขตคลองสาน<br />

2527/1 Soi Somdet Chao<br />

Phraya 5, Somdet Chao<br />

Phraya Road , Somdet<br />

Chao Phraya , Klong San<br />

BHUDDAVAS AREA,<br />

WAT<br />

BENCHAMABOPHIT<br />

DUSITVANARAM<br />

Architect/Designer<br />

Ubosot (ordination hall)<br />

and cloister (Gallery) :<br />

H.R.H. Prince<br />

Krommaphraya Narisaranuvativongse<br />

(Prince<br />

Chitcharoen who<br />

originated the House of<br />

Chittraphong)<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Benchamabophit<br />

Dusitwanaram<br />

Year of Construction<br />

1902 – 1912 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2014 A.D.<br />

๖๙ ถนนนครปฐม<br />

แขวงดุสิต เขดุสิต<br />

69 Nakorn Pathom<br />

UBOSOT<br />

(ORDINATION<br />

HALL), WAT KHRUEA<br />

WAN WORAWIHAN<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Khruea Wan<br />

Worawihan<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama III<br />

Conservation Awarded<br />

2014 A.D.<br />

๓๖ ถนนอรุญอมรินทร์<br />

แขวงวัดอรุณ<br />

เขตบางกอกใหญ่<br />

36 Arun Amarin Road,<br />

Wat Arun, <strong>Bangkok</strong> Yai<br />

Road, Dusit, Dusit<br />

155<br />

157<br />

มัสยิดเซฟี<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มัสยิดเซฟี<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ.๒๕๕๗<br />

154<br />

พุทธาวาส<br />

วัดเบญจมบพิตร<br />

ดุสิตวนาราม<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระอุโบสถ และพระระเบียง<br />

(วิหารคด) : สมเด็จพระเจ้า<br />

บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรม<br />

พระยานริศรานุวัดติวงศ์<br />

(พระองค์เจ้าจิตรเจริญ<br />

ต้นราชสกุล จิตรพงศ์)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๔๕ – ๒๔๕๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ.๒๕๕๗<br />

156<br />

พระอุโบสถ<br />

วัดเครือวัลย์วรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดเครือวัลย์วรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ.๒๕๕๗<br />

พิพิธภัณฑ์<br />

เรือนหมอพร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลพระนคร<br />

วิทยาเขตพณิชยการพระนคร<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๘<br />

RUAN MO PHON<br />

MUSEUM<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

303


Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Rajamangala University<br />

of Technology Phra<br />

Nakhon<br />

Year of Construction<br />

Reign of King Rama V<br />

Conservation Awarded<br />

2015 A.D.<br />

มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคล<br />

พระนคร วิทยาเขต<br />

พณิชยการพระนคร ๘๖<br />

ถนนพิษณุโลก<br />

แขวงสวนจิตรลดา<br />

เขตดุสิต<br />

Rajamangala University<br />

of Technology<br />

Phra Nakhon<br />

86 Pitsanulok Road,<br />

Suan Chitralada, Dusit<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๘<br />

PLUK PREDEE<br />

HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer :<br />

Dr. Yuwarat Hemasilapin<br />

Dr. Wathanyu Na<br />

Thalang and Nakorn<br />

Srivicharn<br />

Owner/Proprietor<br />

Chulasamaya and<br />

Sootabutra Family<br />

Year of Construction<br />

1921 – 1927 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2015 A.D.<br />

๑๔/๒๑๙<br />

ซอยแจ้งวัฒนะ ๑๔<br />

ถนนแจ้งวัฒนะ แขวง<br />

ทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่<br />

14/219 Soi<br />

Chaengwattana 14<br />

Chaengwattana Road,<br />

Thung Song Hong,<br />

Lak Si<br />

ปีที่สร้าง<br />

รัชกาลที่๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๘<br />

BHUDDAVAS AREA,<br />

WAT<br />

BOROMMANIVAS<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Borommanivas<br />

Year of Construction<br />

During the reign of King<br />

Rama IV<br />

Conservation Awarded<br />

2015 A.D.<br />

๒ ถนนพระราม ๑<br />

แขวงรองเมือง<br />

เขตปทุมวัน<br />

2 Rama 1 Road, Rong<br />

Muang, Pathumwan<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

SAI SUDDHA<br />

NOBHADOL<br />

BUILDLING<br />

MUSEUM,<br />

SUAN SUNANDHA<br />

RAJABHAT<br />

UNIVERSITY<br />

Architect/Designer<br />

Mr. A. Rigazzi,<br />

Italian architect<br />

Conservation Designer :<br />

Manasikarn Panisawat<br />

Owner/Proprietor<br />

Suan Sunandha<br />

Rajabhat University<br />

Year of Construction<br />

1911 – 1919 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2016 A.D.<br />

สำนักศิลปะและ<br />

วัฒนธรรม มหาวิทยาลัย<br />

ราชภัฏสวนสุนันทา ๑<br />

ถนนอู่ทองนอก<br />

แขวงดุสิต เขตดุสิต<br />

The Arts and Culture<br />

Office, Suan Sunandha<br />

Rajabhat University, 1<br />

U Thong Nok Road,<br />

Dusit, Dusit<br />

158<br />

16O<br />

บ้านปลุกปรีดี<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบอนุรักษ์:<br />

ดร. ยุวรัตน์เหมะศิลปิน,<br />

ดร.วทัญญู ณ ถลาง และ<br />

นายนคร ศรีวิจารณ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ครอบครัว จุลสมัย<br />

และสูตะบุตร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๔ – ๒๔๗๐<br />

304<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

159<br />

พุทธาวาส<br />

วัดบรมนิวาส<br />

ราชวรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร<br />

อาคาร<br />

สายสุทธานภดล<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายเอ ริกัสซี<br />

สถาปนิกชาวอิตาลี<br />

ออกแบบอนุรักษ์ :<br />

คุณมนสิการ ปานิสวัสดิ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏ<br />

สวนสุนันทา<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๔ - ๒๔๖๒<br />

161<br />

ศาลาพระเกี้ยว<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ศ. ม.จ. โวฒยากร วรวรรรณ


สถาปนิกผู้ช่วย :<br />

รศ. เลิศ อุรัสยะนันทน์<br />

วิศวกร :<br />

ศ. ดร.รชฏ กาญจนะวณิชย์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๐๗ - ๑ มกราคม<br />

พ.ศ. ๒๕๐๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

SALA PHRA KIEO<br />

Architect/Designer<br />

Prof. M.C. Vodhyakarn<br />

Varavarn<br />

Assoc. Prof.<br />

Lert Urasyanandana<br />

Engineer :<br />

Prof. Dr. Rachot<br />

Kanjanavanit<br />

Owner/Proprietor<br />

Chulalongkorn<br />

University<br />

Year of Construction<br />

1964 – 1966 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2016 A.D.<br />

จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

ถนนพญาไท แขวงวังใหม่<br />

เขตปทุมวัน<br />

Chulalongkorn<br />

University, Phayathai<br />

Raod, Wang Mai,<br />

Pathumwan<br />

162<br />

อาคารคีตราชนครินทร์<br />

สถาบันดนตรี<br />

กัลยาณิวัฒนา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ออกแบบอนุรักษ์ :<br />

อ.ณัฐรฐนนท์<br />

ทองสุทธิพีรภาส,<br />

คุณบรรจงลักษณ์<br />

กัณหาชาลี และ<br />

กรมศิลปากร<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถาบันดนตรีกัลยาณิวัฒนา<br />

ปีที่สร้าง<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

GITA<br />

RAJANAGARINDA<br />

BUILDING,<br />

PRINCESS<br />

GALYANI VADHANA<br />

INSTITUTE OF<br />

MUSIC<br />

Architect/Designer<br />

Conservation Designer :<br />

Nathrathanon<br />

Thongsuthipheerapas,<br />

Banchongluck<br />

Kanhachalee and Fine<br />

Arts Department<br />

Owner/Proprietor<br />

Princess Galyani<br />

Vadhana Institute of<br />

Music<br />

Year of Construction<br />

Unknown<br />

Conservation Awarded<br />

2016 A.D.<br />

๒๐๑๐<br />

ซอยอรุณอมรินทร์ ๓๖<br />

แขวงบางยี่ขัน<br />

เขตบางพลัด<br />

2010, Soi Arun<br />

Amarin36, Bang Yi<br />

Khan, Bang Phlat<br />

163<br />

อาคาร ๑๙๑๙<br />

โรงเรียนวัฒนา<br />

วิทยาลัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

สถาปนิกชาวอเมริกัน<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๒ - ๒๔๖๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

1919 BUILDING,<br />

WATTANA WITTAYA<br />

ACADEMY<br />

Architect/Designer<br />

American architect<br />

Owner/Proprietor<br />

Wattana Wittaya<br />

Academy<br />

Year of Construction<br />

1919 – 1920 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2016 A.D.<br />

โรงเรียนวัฒนวิทยาลัย<br />

๖๗ สุขุมวิท ๑๙<br />

แขวงคลองเตยเหนือ<br />

เขตวัฒนา<br />

Wattana Wittaya<br />

Academy 67<br />

Sukhumwit 19 Road,<br />

Khlong Toei Nuea,<br />

Vadhana<br />

164<br />

บ้านสี่แยกหัวตะเข้<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

นายชวลิต สัทธรรมสกุล<br />

(เช่าจากนายสันติ<br />

รงค์สวัสดิ์)<br />

ปีที่สร้าง<br />

ช่วงสงครามโลกครั้งที่๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

SI YAEK HUATAKHE<br />

HOUSE OR HUA<br />

TAKHE HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Mr. Chavalit<br />

Satthamsakul<br />

(rent from Mr. Santi<br />

Rongsawat)<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

305


Year of Construction<br />

World War II era<br />

Conservation Awarded<br />

2016 A.D.<br />

ชุมชนตลาดเก่า<br />

หัวตะเข้ ๑๖๒<br />

ซอยลาดกระบัง ๑๗<br />

ถนนลาดกระบัง<br />

แขวงลาดกระบัง<br />

เขตลาดกระบัง<br />

162 Soi Lat Krabang 17,<br />

Lat Krabang Road,<br />

Lat Krabang,<br />

Lat Krabang<br />

165<br />

อาคารตึกแถว<br />

ริมถนนมหาราช<br />

บริเวณท่าเตียน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

พระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br />

พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ<br />

กรมพระสมมตอมรพันธุ์<br />

ออกแบบอนุรักษ์<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๖ :<br />

นายชวลิต ตั้งมิตรเจริญ :<br />

นางสาวกรกมล<br />

ตันติวานิช<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๕๔<br />

ปรับปรุง : พ.ศ. ๒๔๖๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

SHOPHOUSES<br />

ALONG MAHA RAT<br />

ROAD, THA TIEN<br />

Architect/Designer<br />

Prince Sawasdiprawat<br />

Conservation Designer<br />

2012 – 2013 A.D. :<br />

Chavalit<br />

Tangmitrcharoen :<br />

Kornkamol Tantivanich<br />

Owner/Proprietor<br />

The Crown Property<br />

Bureau<br />

Year of Construction<br />

1911 A.D.,<br />

Conservation : 1925 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2016 A.D.<br />

ถนนมหาราช<br />

แขวงพระบรมมหาราชวัง<br />

เขตพระนคร<br />

Maha Rat Road,<br />

Phraborom Maha<br />

Ratchawang, Phra<br />

Nakhon<br />

166<br />

พุทธาวาส<br />

วัดภคินีนาถวรวิหาร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

วัดภคินีนาถวรวิหาร<br />

ปีที่สร้าง<br />

สมัยอยุธยาตอนปลาย<br />

พ.ศ. ๒๒๐๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

BHUDDAVAS AREA,<br />

WAT PHAKHININAT<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Wat Phakhininat<br />

Year of Construction<br />

Late Ayutthaya period<br />

1657 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2016 A.D.<br />

๒๙๕ ซอยราชวิถี<br />

๒๑ ถนนราชวิถี<br />

แขวงบางพลัด<br />

เขตบางพลัด<br />

295 Soi Ratchawithi 21,<br />

Ratchawithi Road,<br />

Bang Phlat, Bang Phlat<br />

มัสยิดบางอ้อ<br />

“อัลอูบูดียะห์”<br />

( บ่าวผู้ภักดี )<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มัสยิดบางอ้อ<br />

167<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๖๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

BANG AO MOSQUE<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Owner/Proprietor<br />

Bang Ao Mosque<br />

Year of Construction<br />

1919 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2016 A.D.<br />

๑๔๓<br />

ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๘๖<br />

ถนนจรัญสนิทวงศ์<br />

แขวงบางอ้อ<br />

เขตบางพลัด<br />

143 Soi Charan Sanit<br />

Wong 86, Charan Sanit<br />

Wong Road, Bang Ao,<br />

Bang Phlat<br />

168<br />

อาคารอำนวยการ<br />

โรงเรียนช่างก่อสร้าง<br />

อุเทนถวาย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ออกแบบอนุรักษ์<br />

พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๐<br />

สถาปนิก :<br />

อาจารย์นราธิป ทับทัน<br />

และอาจารย์พู่กัน สายด้วง<br />

306<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


มัณฑนากร :<br />

อาจารย์ปัทมาภรณ์<br />

สว่างวงษ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลตะวันออก<br />

วิทยาเขตอุเทนถวาย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๔๘๓-๒๔๘๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๖๐<br />

Rajamangala<br />

University of<br />

Technology Tawan-ok :<br />

Uthenthawai Campus,<br />

225 Phayathai Raod,<br />

Pathumwan,<br />

Pathumwan<br />

ADMINISTRATIVE<br />

BUILDING,<br />

RAJAMANGALA<br />

UNIVERSITY OF<br />

TECHNOLOGY<br />

TAWAN-OK:<br />

UTHENTHAWAI<br />

CAMPUS<br />

Architect/Designer<br />

Unknown<br />

Conservation Designer<br />

2016 – 2017 A.D.<br />

Architect :<br />

Mr. Narathip Thubthun<br />

Mr. Pugun Saiduang<br />

Decorator :<br />

Pattamaporn<br />

Sawangwong<br />

Owner/Proprietor<br />

Rajamangala<br />

University of<br />

Technology Tawan-ok :<br />

Uthenthawai Campus<br />

Year of Construction<br />

1940 – 1941 A.D.<br />

Conservation Awarded<br />

2017 A.D.<br />

มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคล<br />

ตะวันออก<br />

วิทยาเขตอุเทนถวาย<br />

๒๒๕ ถนนพญาไท<br />

แขวงปทุมวัน<br />

เขตปทุมวัน<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

307


อาคารรางวัลออกแบบสถาปัตยกรรมดีเด่น<br />

ในกรุงเทพมหานคร ปี ๒๕๒๕ - ๒๕๕๙<br />

BANGKOK ASA ARCHITECTURAL DESIGN AWARDS 1982 - 2016<br />

森 林 艺 术 情 结 : 绿 意 树 屋 1982 - 2016<br />

OO1<br />

OO2<br />

OO3<br />

OO4<br />

บ้านคุณกร สุริยสัตย์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

สำนักงานองอาจสถาปนิก<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

BAAN KHUN KORN<br />

SURIYASAT<br />

Architect/Designer<br />

Ongard Architect<br />

Owner/Proprietor<br />

Kobkarn<br />

Wattanavrangkul<br />

Year of Construction<br />

1978 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1982 A.D.<br />

๔๑ ถนนประดิพัทธ์<br />

แขวงสามเสนใน<br />

เขตพญาไท<br />

41 Pradipat Road, Sam<br />

Sen Nai, Phayathai<br />

สวนปาริจฉัตถ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ปาริจฉัตถ์ จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

SUAN PARICHAT<br />

(PARICHAT<br />

GARDEN)<br />

Architect/Designer<br />

Plan Architect Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Parichat Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1981 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1982 A.D.<br />

๓๒๓<br />

ถนนนครราชสีมา<br />

แขวงดุสิต เขตดุสิต<br />

323 Rachasima Road,<br />

Dusit, Dusit<br />

เอสเมอรัลดา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

มติ ตั้งพานิช<br />

นิพัทธ์ ซื่อตรง<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท สหไทยไฟแนนซ์<br />

จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๑๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

ESMERALDA<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Mati Tangphanich<br />

Mr. Nipat Suetrong<br />

Owner/Proprietor<br />

Sahathai Finance<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1975 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1982 A.D.<br />

ซอยงามดูพลี<br />

ถนนสาทรใต้ แขวง<br />

ทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร<br />

Soi Ngamduplee,<br />

ศูนย์วิทยทรัพยากร<br />

จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ห้างหุ้นส่วนจำกัด เอ.อี.พี<br />

สถาปนิก<br />

ผู้ครอบครอง<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

CENTER OF<br />

ACADEMIC<br />

RESOURCES<br />

CHULALONGKORN<br />

UNIVERSITY<br />

Architect/Designer<br />

A.E.P Architect Part., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Chulalongkorn<br />

University<br />

Year of Construction<br />

1982 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1982 A.D.<br />

Sathon Tai Road, Thung<br />

Maha Mek, Sathon<br />

308<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

๒๕๔ ถนนพญาไท<br />

แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน<br />

Chulalongkorn<br />

University 254<br />

Phayathai Road,<br />

Wangmai,Pathumwan<br />

ศูนย์วิทยาศาสตร์<br />

เพื่อการศึกษา<br />

๙๒๘ ถนนสุขุมวิท<br />

แขวงพระโขนง<br />

เขตวัฒนา<br />

Science Centre for<br />

Education 928<br />

Sukhumvit Road, Phra<br />

Khanong, Vadhana<br />

Year of Construction<br />

1974 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1982 A.D.<br />

ซอยสาทร ๑<br />

(ซอยอรรถการประสิทธิ์)<br />

ถนนสาทรใต้<br />

แขวงทุ่งมหาเมฆ<br />

เขตสาทร<br />

Soi Sathorn 1<br />

Awarded 1982 A.D.<br />

๔๖ ซอยประสานมิตร<br />

(สุขุมวิท ๒๓) ถนน<br />

สุขุมวิท แขวงคลองเตย<br />

เหนือ เขตวัฒนา<br />

46 Soi Prasarnmit<br />

(Sukhumvit 23),<br />

Sukhumvit Road, Klong<br />

Toei Nuea, Vadhana<br />

(Soi Attakamprasit),<br />

Sathon Tai Road,<br />

Thung Maha Mek,<br />

Sathon<br />

OO5<br />

OO6<br />

OO8<br />

พิพิธภัณฑ์<br />

วิทยาศาสตร์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก สุเมธ<br />

ชุมสาย จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรมวิชาการ<br />

กระทรวงศึกษาธิการ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

SCIENCE<br />

MUSEUM &<br />

EXHIBITION HALL<br />

Architect/Designer<br />

Sumet Jumsai<br />

Associates Co., Ltd<br />

Owner/Proprietor<br />

Department of<br />

Academic Affairs,<br />

Ministry of Education<br />

Year of Construction<br />

1982 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1982 A.D.<br />

หอศิลปะ พีระศรี<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท เทวา สตูดิโอ<br />

จำกัด (บริษัท โมเบลกส์<br />

จำกัด สำนักงานสถาปนิก<br />

มล. ตรีทศยุทธ เทวกุล)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มูลนิธิจุมภฏ-พันทิพย์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๑๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

BHIRASRI<br />

INSTITUTE OF<br />

MODERN ART<br />

Architect/Designer<br />

Deva Studio Co., Ltd.<br />

(Moblex Co., Ltd and<br />

M.L. Tridhosyuth<br />

Devakul Architect<br />

Office)<br />

Owner/Proprietor<br />

Chumbhot-Pantip<br />

Foundation<br />

OO7<br />

สถานเอกอัครราชทูต<br />

อินเดีย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท โมเบลกซ์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

รัฐบาลประเทศอินเดีย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

THE EMBASSY<br />

OF INDIA<br />

Architect/Designer<br />

Moblex Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Indian Government<br />

Year of Construction<br />

1979 A.D.<br />

Architectural design<br />

ธนาคารทหารไทย<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

สาขาสนามเป้า<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ดีไซน์ ๑๐๓<br />

อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด,<br />

บริษัท ดีไซน์ ๑๐๓ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ธนาคารทหารไทย จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๑๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

THAI MILITARY<br />

BANK, SANAMPAO<br />

BRANCH<br />

Architect/Designer<br />

Design 103<br />

International Co., Ltd.,<br />

Design 103 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Thai Military Bank<br />

Public Co., Ltd.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

309


Year of Construction<br />

1975 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1982 A.D.<br />

๓๐๐/๑ ถนนพหลโยธิน<br />

แขวงสามเสนใน<br />

เขตพญาไท<br />

300/1 Phaholyothin<br />

Road, Sam Sen Nai,<br />

Phayathai<br />

OO9<br />

เบียร์สิงห์อาเขต<br />

(บันร์สิงห์พาร์ค)<br />

(ปัจจุบันถูกรื้อแล้ว)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ดีไซน์ ๑๐๓<br />

อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด,<br />

บริษัท ดีไซน์ ๑๐๓ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง บริษัท ปิยะ<br />

อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

SINGHA BEER<br />

ARCADE (SINGHA<br />

BEER PARK)<br />

(Torn down)<br />

Architect/Designer<br />

Design 103<br />

International Co.,Ltd.,<br />

Design 103 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Piya International<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1981 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1982 A.D.<br />

๑๗๙ ซอยสุขุมวิท<br />

๒๑ ถนนสุขุมวิท<br />

แขวงคลองเตยเหนือ<br />

เขตวัฒนา<br />

179 Soi Sukhumvit 21,<br />

Sukhumvit Road, Klong<br />

Toei Nuea, Vadhana<br />

310<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE<br />

O1O<br />

สะพานคนเดินข้าม<br />

ถนนพหลโยธิน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิกสุเมธ<br />

ชุมสาย จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ธนาคารกสิกรไทย<br />

บริจาคเงินสร้าง มอบให้<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

PEDESTIAN<br />

BRIDGE<br />

PHAHOLYOTHIN<br />

ROAD<br />

Architect/Designer<br />

Sumet Jumsai<br />

Associates Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Thai Farmer Bank<br />

(Contribution to<br />

<strong>Bangkok</strong> Metropolis<br />

Administration)<br />

Year of Construction<br />

1982 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1982 A.D.<br />

ถนนพหลโยธิน<br />

เยื้องอาคารสำนักงาน<br />

ใหญ่ ธนาคารกสิกรไทย<br />

Phaholyothin Road,<br />

Across Thai Farmer<br />

Bank<br />

O11<br />

อาคารห้องส่ง<br />

โทรทัศน์และอาคาร<br />

สำนักงาน องค์การ<br />

สื่อสารมวลชนแห่ง<br />

ประเทศไทย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ดีไซน์ ๑๐๓<br />

อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด<br />

บริษัท ดีไซน์ ๑๐๓ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

องค์การสื่อสารมวลชน<br />

แห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

BROADCASTING<br />

STATION<br />

BUILDING<br />

CHANNEL 9<br />

Architect/Designer<br />

Design 103<br />

International Co., Ltd.,<br />

Design 103 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Mass Communication<br />

Organization of<br />

Thailand<br />

Year of Construction<br />

1980 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1982 A.D.<br />

๖๓/๑ ถนนพระรามที่<br />

๙ แขวงห้วยขว้าง<br />

เขตห้วยขวาง (ที่ตั้ง<br />

ปัจจุบันของ อสมท.)<br />

63/1 Rama IX Road,<br />

Huai Khwang, Huai<br />

Khwang (Current location<br />

of MCOT)<br />

O12<br />

บ้านคุณบุญญวัฒน์-<br />

คุณผุสดี ทิพทัส<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บุญญวัฒน์-คุณผุสดี<br />

ทิพทัส<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บุญญวัฒน์-คุณผุสดี<br />

ทิพทัส<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗


BAAN KHUN<br />

BOONYAWAT KHUN<br />

PUSSADEE TIPTUS<br />

Architect/Designer<br />

Boonyawat - Pussadee<br />

Tiptus<br />

Owner/Proprietor<br />

Boonyawat - Pussadee<br />

Tiptus<br />

Year of Construction<br />

1982 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1984 A.D.<br />

๓๙ ซอยพหลโยธิน<br />

๒๑ ถนนวิภาวดีรังสิต<br />

แขวงจตุจักร เขตจตุจักร<br />

39 Soi Phaholyothin<br />

21, Vibhavadi Rangsit<br />

Road, Chatuchak,<br />

Chatuchak<br />

PAKDEE BUILDING<br />

(BANK OF AMERICA,<br />

BANGKOK BRANCH)<br />

Architect/Designer<br />

Robert G Boughey &<br />

Associates Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Sansiri Public Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

Before 1983 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1984 A.D.<br />

๒/๒ อาคารภักดี<br />

ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน<br />

2/2 Pakdee Building,<br />

Witthayu Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

Architect/Designer<br />

Casa Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Amari Hotel and<br />

Resorts Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1982 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1984 A.D.<br />

๓๓๓ ถนนเชิด<br />

วุฒากาศ แขวงดอนเมือง<br />

เขตดอนเมือง<br />

333 Choet Wutthakat<br />

Road, Don Mueang,<br />

Don Mueang<br />

Architect/Designer<br />

Design 103<br />

International Co., Ltd.,<br />

Design 103 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

The Siam Cement<br />

Public Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1983 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1984 A.D.<br />

๑ ถนนปูนซีเมนต์ไทย<br />

แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ<br />

1 Siam Cement Road,<br />

Bang Sue, Bang Sue<br />

O15<br />

O16<br />

O13<br />

อาคารภักดี<br />

(ธนาคารแห่งอเมริกา<br />

สาขากรุงเทพฯ)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท โรเบิร์ต จี บุย<br />

แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท แสนสิริ จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

ก่อน พ.ศ. ๒๕๒๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

O14<br />

โรงแรมอมารี<br />

ดอนเมือง กรุงเทพ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท คาซ่า จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท อมารีโฮเต็ล แอนด์<br />

รีสอร์ท จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

AMARI DON<br />

MUEANG<br />

BANGKOK HOTEL<br />

สำนักงานใหญ่<br />

บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ดีไซน์ ๑๐๓<br />

อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด,<br />

บริษัท ดีไซน์ ๑๐๓ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

THE SIAM CEMENT<br />

PLBLIC COMPANY<br />

LIMITED<br />

HEADQUARTER<br />

ศูนย์การค้าริเวอร์ซิตี้<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท คาซ่า จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท เจ้าพระยา ดีเวล็อป<br />

เมนต์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

RIVER CITY<br />

SHOPPING<br />

CENTER<br />

Architect/Designer<br />

Casa Co., Ltd.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

311


Owner/Proprietor<br />

Chao Phraya<br />

Development<br />

Cooperation Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1984 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1984 A.D.<br />

๒๓ ท่าน้ำสี่พระยา<br />

ตรอกโรงน้ำแข็ง ถนน<br />

โยธา แขวงตลาดน้อย<br />

เขตสัมพันธวงศ์<br />

23 Si Phraya Pier,<br />

Trok Rongnamkheng,<br />

Yotha Road, Talad Noi,<br />

Samphanthawong<br />

Architect/Designer<br />

Deva Studio Co., Ltd.<br />

(Moblex Co., Ltd.<br />

M.L. Tridhosyuth<br />

Devakul Architect<br />

Office)<br />

Owner/Proprietor<br />

The Royal <strong>Bangkok</strong><br />

Sports Club<br />

Year of Construction<br />

1981 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1984 A.D.<br />

๑๘ ซอยโปโล<br />

ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน<br />

18 Soi Polo, Witthayu<br />

Architect/Designer<br />

Casa Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Bureau of the Royal<br />

Household<br />

Year of Construction<br />

1972 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1984 A.D.<br />

สวนอัมพร<br />

ถนนศรีอยุธยา<br />

แขวงดุสิต เขตดุสิต<br />

Si Ayutthaya Road,<br />

Dusit, Dusit<br />

๔๓ ถนนพหลโยธิน<br />

แขวงสามเสนใน<br />

เขตพญาไท<br />

43 Phaholyothin<br />

Road, Sam Sen Nai,<br />

Phayathai<br />

O2O<br />

Road, Lumpini,<br />

O17<br />

ราชกรีฑาสโมสร<br />

โปโลคลับ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท เทวา สตูดิโอ จำกัด<br />

(บริษัท โมเบลกส์ จำกัด<br />

สำนักงานสถาปนิก<br />

มล. ตรีทศยุทธ เทวกุล)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ราชกรีฑาสโมสร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

THE ROYAL<br />

BANGKOK SPORTS<br />

CLUB POLO CLUB<br />

Pathumwan<br />

O18<br />

อาคารใหม่ สวนอัมพร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท คาซ่า จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักพระราชวัง<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๑๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

ROYAL AMPORN<br />

GARDEN<br />

PAVILLION<br />

O19<br />

โบสถ์เซเวียร์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท คาซ่า จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คณะบาทหลวงเซเวียร์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๑๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

XAVIER CHURCH<br />

Architect/Designer<br />

Casa Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Xavier Hall Jesuit<br />

Fathers<br />

Year of Construction<br />

1972 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1984 A.D.<br />

ริเวอร์เฮ้าส์<br />

คอนโดมิเนียม<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท คาซ่า จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท อิตัลไทย<br />

เรียล เอ็ซเทท จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

RIVER HOUSE<br />

CONDOMINIUM<br />

Architect/Designer<br />

Casa Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Italthai Real Estate<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1984 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1984 A.D.<br />

๗๖๔ ถนนลาดหญ้า<br />

แขวงคลองสาน<br />

เขตคลองสาน<br />

764 Lat Ya Road, Klong<br />

San, Klong San<br />

312<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน<br />

Chulalongkorn<br />

University,<br />

254 Phayathai Road,<br />

Wangmai,Pathumwan<br />

Architectural design<br />

Awarded 1984 A.D.<br />

๑๙๗ ถนนวิภาวดี<br />

รังสิต แขวงสามเสนใน<br />

เขตพญาไท<br />

197 Vibhavadi Rangsit<br />

Road, Sam Sen Nai,<br />

Phayathai<br />

64 Soi Sathon 10<br />

(Soi Suksawitthaya),<br />

Sathon Nuea Road,<br />

Silom, Bang Rak<br />

O21<br />

อาคารสถาบัน ๒<br />

จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br />

จาตุรนต์ วัฒนผาสุก<br />

ศาสตราจารย์กิตติคุณ<br />

ผสุดี ทิพทัส ศาสตราจารย์<br />

ดร. บัณฑิต จุลาสัย<br />

นายสุกิจ ทรัพย์เพิ่มพูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

INSTITUTE<br />

BUILDING 2<br />

Architect/Designer<br />

Chaturon<br />

Vadhanabhasuk,<br />

Pussadee Tiptus,<br />

Bundit Chulasai,<br />

Sukit Srubpiumpoon<br />

Owner/Proprietor<br />

Chulalongkorn<br />

University<br />

Year of Construction<br />

1982 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1984 A.D.<br />

จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

๒๕๔ ถนนพญาไท<br />

O22<br />

อาคารสำนักงานใหญ่<br />

บริษัท โกดัก<br />

(ประเทศไทย) จำกัด<br />

(ปัจจุบันเป็นมหาวิทยาลัย<br />

ชินวัตร และ VOICE TV)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ชัชวาล – เดอเวเกอร์<br />

อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท โกดัก<br />

(ประเทศไทย) จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๒๗<br />

NEW PREMISES<br />

FOR KODAK<br />

(THAILAND)<br />

LIMITED<br />

(Now Shinawatra Univ.<br />

and Voice TV Headquarters)<br />

Architect/Designer<br />

Chuchawal - de Weger<br />

International Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Kodak (Thailand) Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1983 A.D.<br />

O23<br />

แปลนเฮาส์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กลุ่มบริษัท แปลนกรุ๊ป<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

PLAN HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Plan Architect Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Plan Group<br />

Year of Construction<br />

1985 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1987 A.D.<br />

๖๔ ซอยสาทร ๑๐<br />

(ซอยศึกษาวิทยา)<br />

ถนนสาทรเหนือ<br />

แขวงสีลม เขตบางรัก<br />

O24<br />

สำนักงานใหญ่<br />

ธนาคาร<br />

อาคารสงเคราะห์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ดีไซน์ ๑๐๓ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ธนาคารอาคารสงเคราะห์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

THE GOVERNMENT<br />

HOUSING BANK<br />

(GHBANK)<br />

HEADQUARTERS<br />

Architect/Designer<br />

Design 103 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

The Government<br />

Housing Bank<br />

Year of Construction<br />

1986 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1987 A.D.<br />

๖๓ ถนนพระราม ๙<br />

แขวงห้วยขวาง<br />

เขตห้วยขวาง<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

313


63 Rama IX Road, Huai<br />

Khwang, Huai Khwang<br />

O25<br />

อาคารกิจกรรมรวม<br />

จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ศาสตราจารย์กิตติคุณ<br />

ผุสดี ทิพทัส,<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br />

จาตุรนต์ วัฒนผาสุก<br />

ศาสตราจารย์ ดร.<br />

บัณฑิต จุลาสัย,<br />

ชัยบูรณ์ ศิริธนะวัฒน์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

CHULCHUKAR-<br />

PONG BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

Pussadee Tiptus,<br />

Chaturon<br />

Vadhanabhasuk,<br />

Bundit Chulasai,<br />

Chaiboon<br />

Sirithanawat<br />

Owner/Proprietor<br />

Chulalongkorn<br />

University<br />

Year of Construction<br />

1986 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1987 A.D.<br />

จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

๒๕๔ ถนนพญาไท<br />

แขวงวังใหม่<br />

เขตปทุมวัน<br />

Chulalongkorn<br />

University, 254<br />

Phayathai Road,<br />

Wangmai,Pathumwan<br />

O26<br />

สไปซ์มาร์เก็ต<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท พี ๔๙ ดีไซน์<br />

แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ไมเนอร์ อินเตอร์<br />

เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน)<br />

(เดิมเป็นของบริษัท<br />

ราชดำริ จำกัด)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

SPICE MARKET<br />

Architect/Designer<br />

P49 Deesign &<br />

Associates Co.,Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Minor International<br />

Public Co., Ltd.<br />

(formerly owner :<br />

Rajadamri Co., Ltd.)<br />

Year of Construction<br />

1980 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1987 A.D.<br />

โรงแรมอนันตรา สยาม<br />

กรุงเทพฯ โฮเทล แอนด์<br />

สปา (เดิมชื่อ โรงแรมโฟร์<br />

ซีซั่นส์ กรุงเทพฯ และ<br />

โรงแรมรีเจนท์) ๑๕๕<br />

ถนนราชดำริ แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน<br />

Anantara Siam<br />

<strong>Bangkok</strong> Hotel and<br />

Spa (formerly name :<br />

Four Seasons <strong>Bangkok</strong><br />

Hotel : and Regent<br />

Hotel) 155 Ratchadamri<br />

Road, Lumphini,<br />

Pathumwan<br />

O27<br />

บ้านซอยกลาง<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

รุจิราภรณ์ – สุจินต์ หวั่งหลี<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

BAAN SOI KLANG<br />

Architect/Designer<br />

Architect 49 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Rujiraporn-Sujin<br />

Wang Li<br />

Year of Construction<br />

1989 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1989 A.D.<br />

ซอยสุขุมวิท ๔๙<br />

ถนนสุขุมวิท<br />

แขวงคลองตันเหนือ<br />

เขตวัฒนา<br />

Soi Sukhumvit 49,<br />

Sukhumvit Road,<br />

Khlong Tan Nuea,<br />

Vadhana<br />

O28<br />

เลอ คัลลิแนน ลักชูรี่<br />

อพาร์ทเม้นท์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ดีเอสบี แอสโซซิเอทส์<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท มาบุญยง อพาร์ท<br />

เม้นท์ จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

LE CULLINAN<br />

LUXURY<br />

APARTMENT<br />

Architect/Designer<br />

DSB Associates<br />

Co., Ltd.<br />

314<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


Owner/Proprietor<br />

Ma Boonyong<br />

Apartment Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1986 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1989 A.D.<br />

๔๗ ซอยสุขุมวิท ๓๙<br />

ถนนสุขุมวิท<br />

แขวงคลองตันเหนือ<br />

เขตวัฒนา<br />

47 Soi Sukhumvit<br />

39, Sukhumvit Road,<br />

Khlong Tan Nuea,<br />

Vadhana<br />

Owner/Proprietor<br />

Plan Creation Co., Ltd.<br />

(Plan Toys)<br />

Year of Construction<br />

1988 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1989 A.D.<br />

๖๔/๑ ซอยสาทร ๑๐<br />

(ซอยศึกษาวิทยา)<br />

ถนนสาทรเหนือ<br />

แขวงสีลม เขตบางรัก<br />

64/1 Soi Sathon 10<br />

(Soi Suksawitthaya),<br />

Sathon Nuea Road,<br />

Silom, Bang Rak<br />

Year of Construction<br />

1988 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1989 A.D.<br />

๒๕๒ ถนนรัชดาภิเษก<br />

แขวงห้วยขวาง<br />

เขตห้วยขวาง<br />

252 Ratchadapisek<br />

Road, Huai Khwang,<br />

Huai Khwang<br />

Year of Construction<br />

Decorate Within 6<br />

months<br />

Architectural design<br />

Awarded 1989 A.D.<br />

ห้องสุพรรณหงส์<br />

ทรานซิท เรสเตอรองท์<br />

สนามบินท่าอากาศยาน<br />

นานาชาติดอนเมือง<br />

๒๒๒ ถนนวิภาวดีรังสิต<br />

แขวงสนามบิน<br />

เขตดอนเมือง<br />

Suphannahong Room,<br />

TRANSIT RESTAURANT,<br />

Don Mueang Inter-<br />

national Airport 222<br />

Vibhavadi -Rangsit<br />

Road, Airport, Don<br />

Mueng<br />

O31<br />

O29<br />

แปลนทอยส์<br />

(โรงเรียนอนุบาลรักลูก)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท แปลน ครีเอชั่น<br />

จำกัด (แปลนทอยส์)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

PLAN TOYS<br />

(RAK LOOK<br />

KINDERGARDEN)<br />

Architect/Designer<br />

Plan Architect Co., Ltd.<br />

O3O<br />

เมืองไทยภัทร<br />

คอมเพล็กซ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท เมืองไทยประกัน<br />

ชีวิต จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

MUANG THAI<br />

PHATRA COMPLEX<br />

Architect/Designer<br />

Architect 49 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Muang Thai Insurance<br />

Co., Ltd.<br />

ทรานซิท เรสเตอรองท์<br />

ท่าอากาศยาน<br />

นานาชาติ กรุงเทพฯ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท เบ้นท์ เซเวอริน<br />

แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท การบินไทย จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

ตกแต่งภายใน ๖ เดือน<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

TRANSIT<br />

RESTAURANT<br />

Architect/Designer<br />

Bent Severin &<br />

Associates Co.,Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Thai Airways<br />

International Public<br />

Co., Ltd.<br />

O32<br />

สถาบันเกอเธ่ และ<br />

มูลนิธิวัฒนธรรม<br />

ไทย – เยอรมัน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท แฮบบิตา จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถาบันเกอเธ่ และมูลนิธิ<br />

วัฒนธรรมไทย – เยอรมัน<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๒๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

315


GOETHE<br />

INSTITUTE &<br />

THAI-GERMAN<br />

CULTURAL<br />

FOUNDATION<br />

Architect/Designer<br />

Habita Architects<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Goethe Institute &<br />

Thai-German Cultural<br />

Foundation<br />

Year of Construction<br />

1986 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1989 A.D.<br />

๑๘/๑ ซอยสาทร<br />

๑ ถนนสาทรใต้ แขวง<br />

ทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร<br />

18/1 Soi Sathon 1,<br />

Sathon Tai Road,<br />

Thung Maha Mek,<br />

Sathon<br />

RAJAMANGALA<br />

HALL<br />

Architect/Designer<br />

M.L. Tridhosyuth<br />

Devakul<br />

Owner/Proprietor<br />

Suanluang Rama IX<br />

Foundation<br />

Year of Construction<br />

1987 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1989 A.D.<br />

สวนหลวง ร.๙<br />

แขวงหนองบอน<br />

เขตประเวศ<br />

Suanluang Rama IX,<br />

Nong Bon, Prawet<br />

HEAD OFFICE OF<br />

PTT PUBLIC<br />

COMPANY LIMITED<br />

Architect/Designer<br />

Plan Architect Co, Ltd.,<br />

Architect 49 Co., Ltd.<br />

and Design Develop<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

PTT Public Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1989 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1989 A.D.<br />

๕๕๕ ถนนวิภาวดี<br />

รังสิต แขวงจตุจักร<br />

เขตจตุจักร<br />

555 Vibhavadi<br />

Rangsit Road,<br />

Chatuchak, Chatuchak<br />

RADIO THAILAND<br />

(FOREIGN<br />

LANGUAGE)<br />

Architect/Designer<br />

Plan Architect Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

The Government<br />

Public Relations<br />

Department<br />

Year of Construction<br />

1987 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1989 A.D.<br />

๒๓๖ ถนนวิภาวดี<br />

รังสิต แขวงดินแดง<br />

เขตดินแดง<br />

236 Vibhavadi Rangsit<br />

Road, Din Daeng,<br />

Din Daeng<br />

O34<br />

O33<br />

หอรัชมงคล<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

ม.ล. ตรีทศยุทธ เทวกุล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มูลนิธิสวนหลวง ร.๙<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

อาคารสำนักงานใหญ่<br />

บริษัท ปตท. จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ก<br />

จำกัด, บริษัท สถาปนิก ๔๙<br />

จำกัด, บริษัท ดีไซน์<br />

ดีเวลลอป จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ปตท. จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

O35<br />

สถานีวิทยุกระจายเสียง<br />

แห่งประเทศไทย<br />

(ภาคภาษาต่างประเทศ)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กรมประชาสัมพันธ์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

O36<br />

อาคารสำนักงาน<br />

สถาปนิก ๔๙<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙<br />

จำกัด และ บริษัท พี ๔๙<br />

ดีไซน์ แอนด์ แอสโซซิ<br />

เอทส์ จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๒<br />

316<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


ARCHITECTS 49<br />

OFFICE BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

Architect 49 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Architect 49 Co., Ltd.<br />

And P49 Deesign &<br />

Associates Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1988 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1989 A.D.<br />

๘๑ ซอยสุขุมวิท ๒๙<br />

ถนนสุขุมวิท แขวง<br />

คลองตัน เขตวัฒนา<br />

81 Soi Sukhumvit 29,<br />

Sukhumvit Road<br />

Khlong Tan, Vadhana<br />

Architect/Designer<br />

Four Aces Consultants<br />

Co.,Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Premier Corporate<br />

Park Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1990 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1993 A.D.<br />

๑ พรีเมียร์คอร์เปอ<br />

เรทปาร์ค ซอยพรีเมียร์ ๒<br />

ถนนศรีนครินทร์<br />

แขวงหนองบอน<br />

เขตประเวศ<br />

1 Premier Corporate<br />

Park, Soi Premier 2,<br />

Srinagarindra Road,<br />

Nong Bon, Prawet<br />

Architect/Designer<br />

Robert G.Boughey and<br />

Associates Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Diethelm Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1994 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1994 A.D.<br />

ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน<br />

Witthayu Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

Architectural design<br />

Awarded 1994 A.D.<br />

๑๑๑ ซอยรัชดาภิเษก<br />

๓๐ แยก ๔ แขวงจันทร<br />

เกษม เขตจตุจักร<br />

111 Soi Ratchadapisek<br />

30 Yaek 4,<br />

Chantharakasem,<br />

Chatuchak<br />

O4O<br />

O37<br />

พรีเมียร์คอร์เปอเรท<br />

ปาร์ค<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สำนักงานโฟร์เอส<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท พรีเมียร์คอร์เปอ<br />

เรทปาร์ค จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๖<br />

PREMIER<br />

CORPORATE PARK<br />

O38<br />

ดีทแฮล์ม ทาวเวอร์ส<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท โรเบิร์ต จี บุยส์<br />

แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ดีทแฮล์ม จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

DIETHELM<br />

TOWERS<br />

O39<br />

รัชดาพาวิลเลียน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท แอเรีย คอนซัล<br />

แตนท์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท คอมฟอร์ทแลนด์<br />

จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

RATCHADA<br />

PAVILLION<br />

Architect/Designer<br />

Area Consultant<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Comfort Land Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1993 A.D.<br />

บ้านสวนริมคลอง<br />

บางมด<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท แปลน เอสเตท<br />

จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

BAAN SUAN<br />

RIM KLONG<br />

BANGMOD<br />

(RIM KLONG<br />

BANGMOD HOUSE)<br />

Architect/Designer<br />

Plan Architect Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Plan Estate Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1993 A.D.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

317


Architectural design<br />

Awarded 1994 A.D.<br />

ถนนพุทธบูชา<br />

แขวงบางมด<br />

เขตจอมทอง<br />

Phuttha Bucha Road,<br />

Bang Mot, Chom Thong<br />

Architectural design<br />

Awarded 1994 A.D.<br />

๖๔๓ ซอยลาซาล<br />

(สุขุมวิท ๑๐๕)<br />

แขวงบางนา เขตบางนา<br />

643 Soi La Salle<br />

(Sukhumvit 105),<br />

Bang Na, Bang Na<br />

๑๖๑ ถนนราชดำริ<br />

แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน<br />

161 Ratchadamri Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

O44<br />

O41<br />

โรงเรียนนานาชาติ<br />

บางกอกพัฒนา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

เศรษฐวัฒน์ หาญศิริวัฒนา<br />

บริษัท อาร์ เอ็ม เจ เอ็ม<br />

(ประเทศไทย) จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

โรงเรียนนานาชาติ<br />

บางกอกพัฒนา<br />

ปีที่สร้าง<br />

ไม่ปรากฏข้อมูล<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

BANGKOK PATANA<br />

INTERNATIONAL<br />

SCHOOL<br />

Architect/Designer<br />

Sedtawat<br />

Harnsiriwattana<br />

RMJM (Thailand)<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

<strong>Bangkok</strong> Patana<br />

International School<br />

Year of Construction<br />

Unknown<br />

O42<br />

อาคารไทยโอบายาชิ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท โรเบิร์ต จี บุยส์<br />

แอนด์ แอสโซซิเอทส์<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ไทยโอบายาชิ<br />

คอร์ปอเรชั่น จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

THAI OBAYASHI<br />

BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

Robert G.Boughey and<br />

Associates Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Thai Obayashi<br />

Corporation Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1991 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1994 A.D.<br />

O43<br />

บิ๊ก ซี แจ้งวัฒนะ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท เออร์เบิ้น<br />

อาร์คิเทค จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท บิ๊กซี เซ็นทรัล<br />

จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

BIG – C CHAENG<br />

WATTHANA<br />

Architect/Designer<br />

Urban Architects<br />

Co.,Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Big C Central Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1994 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1994 A.D.<br />

๙๖ หมู่ ๑<br />

ถนนแจ้งวัฒนะ<br />

แขวงทุ่งสองห้อง<br />

เขตหลักสี่<br />

96 Moo 1 Chaeng<br />

Watthana Road, Thung<br />

Song Hong,Lak Si<br />

เซ็นทรัลพลาซ่า<br />

ลาดพร้าว<br />

(สถาปัตยกรรรม<br />

ภายใน)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท เออร์เบิ้น<br />

อาร์คิเทค จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท เซ็นทรัลพลาซ่า<br />

จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

CENTRAL PLAZA<br />

LADPRAO<br />

(INTERIOR)<br />

Architect/Designer<br />

Urban Architects<br />

Co.,Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Central Plaza Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1992 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1994 A.D.<br />

๑๖๙๑<br />

ถนนพหลโยธิน<br />

แขวงจตุจักร เขตจตุจักร<br />

1691 Phaholyothin<br />

Road, Chatuchak,<br />

Chatuchak<br />

318<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


Energy Policy and<br />

Planning Office,<br />

121/1-2 Petchaburi<br />

Road, Thung Phaya<br />

Thai, Ratchathewi<br />

O45<br />

O46<br />

O48<br />

ตึกสามัคคีประกันภัย<br />

กรุงเทพฯ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท โรเบิร์ต จี บุยส์<br />

แอนด์ แอสโซซิเอทส์<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท สามัคคี ประกันภัย<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

SAMAGGI<br />

INSURANCE<br />

TOWER, BANGKOK<br />

Architect/Designer<br />

Robert G.Boughey and<br />

Associates Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Samaggi Insurance<br />

Public Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1996 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1996 A.D.<br />

๒/๔ ถนน<br />

วิภาวดีรังสิต<br />

แขวงทุ่งสองห้อง<br />

เขตหลักสี่<br />

2/4 Vibhavadi Rangsit<br />

Road, Thung Song<br />

Hong, Lak Si<br />

อาคารคอมมอนเวลธ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก จิรากร<br />

ประสงค์กิจ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สำนักงานนโยบายและ<br />

แผนพลังงาน (เดิมเจ้าของ<br />

คือ บริษัท คอมมอนเวลธ์<br />

โฮลดิ้ง จำกัด)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๑<br />

COMMONWEALTH<br />

BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

Architect Chirakorn<br />

Prasongkit Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Energy Policy and<br />

Planning Office<br />

(formerly Owner :<br />

Commonwealth<br />

Holdings Co., Ltd.)<br />

Year of Construction<br />

1996 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 1998 AD.<br />

สำนักงานนโยบาย<br />

และแผนพลังงาน<br />

๑๒๑/๑-๒ ถนนเพชรบุรี<br />

แขวงทุ่งพญาไท<br />

เขตราชเทวี<br />

O47<br />

อาคารโรเล็กซ์<br />

เซ็นเตอร์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท โรเบิร์ต จี บุย<br />

แอสโซซิเอส จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท เอส เอ บี<br />

(ประเทศไทย) จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๓<br />

THE ROLEX<br />

CENTER<br />

Architect/Designer<br />

Robert G. Boughey &<br />

Associates Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

S.A.B. (Thailand)<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1996 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2000 A.D.<br />

๘๙/๙ ถนนวิทยุ<br />

แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน<br />

89/9 Witthayu Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

ศูนย์ลูกเรือและ<br />

ศูนย์ฝึกลูกเรือ<br />

บริษัท การบินไทย<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท อาคิเตคส์ แอนด์<br />

แอสโซซิเอทส์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท การบินไทย จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

THAI AIRWAYS<br />

INTERNATIONAL<br />

TRAINING<br />

CENTER(CREW<br />

CENTER)<br />

Architect/Designer<br />

Architect & Associates<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Thai Airways<br />

International Public<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

1999 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2002 A.D.<br />

ถนนวิภาวดีรังสิต<br />

แขวงหลักสี่<br />

เขตดอนเมือง<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

319


Vibhavadi Rangsit<br />

Road, Laksi,<br />

Don Mueang<br />

O5O<br />

O51<br />

O52<br />

O49<br />

บ้านเลขที่ ๒๕๕/๖<br />

สัมมากร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณพงษ์เทพ สกุลคู<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณพงษ์เทพ<br />

และคุณพัชรมัย สกุลคู<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

HOUSE NO. 255/6<br />

SAMMAKORN<br />

Architect/Designer<br />

Pongthep Sakulku<br />

Owner/Proprietor<br />

Pongthep &<br />

Patcharamai Sakulku<br />

Year of Construction<br />

1998 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2002 A.D.<br />

หมู่บ้านสัมมากร<br />

ถนนรามคำแหง<br />

แขวงสะพานสูง<br />

เขตสะพานสูง<br />

Summakorn Village,<br />

Ramkumhang Road,<br />

Saphan Sung,<br />

Saphan Sung<br />

อาคารเอนกประสงค์<br />

ส่วนกลาง<br />

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท อาคิเตคส์ แอนด์<br />

แอสโซซิเอทส์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

THE PROVINCIAL<br />

ELECTRICITY<br />

AUTHORITY<br />

COMPLEX<br />

Architect/Designer<br />

Architect & Associates<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

The Provincial<br />

Electricity Authority<br />

Year of Construction<br />

2001 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2002 A.D.<br />

๒๐๐ ถนนงามวงศ์วาน<br />

แขวงลาดยาว เขตจตุจักร<br />

200 Ngam Wong<br />

Wan Road, Lad Yao,<br />

Chatuchak<br />

อาคารที่ทำการ<br />

กระทรวง<br />

การต่างประเทศ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

กระทรวงการต่างประเทศ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

MINISTRY OF<br />

FOREIGN AFFAIRS<br />

Architect/Designer<br />

Architect 49 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Ministry of Foreign<br />

Affairs<br />

Year of Construction<br />

1997 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2002 A.D.<br />

๔๔๓ ถนนศรีอยุธยา<br />

แขวงทุ่งพญาไท<br />

เขตราชเทวี<br />

443 Si Ayutthaya<br />

Road, Thung<br />

Phayathai, Ratchathewi<br />

บ้านสวนสงบ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณประภากร วทานยกุล,<br />

คุณประกิต พนานุรัตน์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณประภากร วทานยกุล<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

BAAN SUAN<br />

SANGHOB (SUAN<br />

SANGHOB HOUSE)<br />

Architect/Designer<br />

Prabhakorn<br />

Vadanyakul,<br />

Prakit Pananuratana<br />

Owner/Proprietor<br />

Prabhakorn<br />

Vadanyakul<br />

Year of Construction<br />

2002 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2004 A.D.<br />

๙ ถนนลาดพร้าว<br />

แขวงคลองจั่น<br />

เขตบางกะปิ<br />

9 Lat Phrao Road,<br />

Khlong Chan,<br />

Bang Kapi<br />

320<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


๒๙ ถนนสาทรใต้<br />

แขวงทุ่งมหาเมฆ<br />

เขตสาทร<br />

29 Sathon Tai Road,<br />

Thung Maha Mek,<br />

Sathon<br />

๙๙๘/๓ ซอยสุขุมวิท<br />

๕๕ (ซอยทองหล่อ)<br />

แขวงคลองตันเหนือ<br />

เขตวัฒนา<br />

998/3 Soi Sukhumvit<br />

55 (Soi Thong Lor),<br />

Khlong Tan Nuea,<br />

Vadhana<br />

O53<br />

O54<br />

บ้านริมบึง<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายวิทวัชช์ เจริญพงศ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณประมวลศรี – คุณวิรัช<br />

เจริญพงศ์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

THE FUTURISTIC<br />

BOAT HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Vittvat Charoenpong<br />

Owner/Proprietor<br />

Pramuansri – Virat<br />

Charoenpong<br />

Year of Construction<br />

2004 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2004 A.D.<br />

๒๔๕/๓๗ หมู่บ้าน<br />

สัมมากร ซอยรามคำแหง<br />

๑๑๒ ถนนรามคำแหง<br />

แขวงสะพานสูง<br />

เขตสะพานสูง<br />

245/37 Soi<br />

Ramkumhange 112,<br />

Ramkamhang Road,<br />

Saphan Sung,<br />

Saphan Sung<br />

อาคารฝ่ายวัฒนธรรม<br />

สถานทูตฝรั่งเศส<br />

(ปัจจุบันเป็นโรงแรมสุโขทัย)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิกอัชชพล<br />

ดุสิตนานนท์ และคณะ<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถานฑูตฝรั่งเศส<br />

กรุงเทพฯ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

RENOVATION OF<br />

CULTURAL<br />

SCIENCE AND<br />

COOPERATION<br />

SECTOR, FRENCH<br />

EMBASSY IN<br />

THAILAND<br />

(Now The Sukhothai<br />

bangkok)<br />

Architect/Designer<br />

A. Dusitnanond<br />

Architect & Associates<br />

Co.,Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

French Embassy in<br />

<strong>Bangkok</strong><br />

Year of Construction<br />

2003 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2004 A.D.<br />

O55<br />

เอชวัน<br />

(ปัจจุบันถูกรื้อแล้ว)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ดวงฤทธิ์ บุนนาค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณพรศักดิ์ รัตนเมธา<br />

นนท์ บริษัท ออริซอน<br />

เต้ จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

H 1 (Torn down)<br />

Architect/Designer<br />

Duangrit Bunnag<br />

Architect Co., Ltd.<br />

(DBALP)<br />

Owner/Proprietor<br />

Pornsak<br />

Rattanamethanon,<br />

Orizzonte Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2004 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2006 A.D.<br />

O56<br />

อาคารสำนักงาน<br />

ศูนย์รับสมัคร<br />

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ออฟฟิศ เอที จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ADMISSION AND<br />

INFORMATION<br />

CENTER, BANGKOK<br />

UNIVERSITY<br />

Architect/Designer<br />

Office AT Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

<strong>Bangkok</strong> University<br />

Year of Construction<br />

2007 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2008 A.D.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

321


มหาวิทยาลัยกรุงเทพ<br />

วิทยาเขตกล้วยน้ำไท<br />

ถนนพระราม ๔<br />

แขวงพระโขนง<br />

เขตคลองเตย<br />

<strong>Bangkok</strong> University,<br />

Kluyanamthai<br />

Campus, Rama IV<br />

Road, Phra Khanong,<br />

Klong Toei<br />

O58<br />

O59<br />

O6O<br />

O57<br />

บ้านเอม แอนด์ จี<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณพรชัย บุญสม<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณสุภาณี เศรษฐบุตร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๔<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

M & G HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Pornchai Boonsom<br />

Owner/Proprietor<br />

Supanee Seadharbutr<br />

Year of Construction<br />

2001 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2008 A.D.<br />

๑๒๑ ซอยพิบูลพัฒนา<br />

๗ แขวงสามเสนใน<br />

เขตพญาไท<br />

121 Soi Piboonpattana 7,<br />

โฟร์ซี เฮ้าส์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณศรีศักดิ์ พัฒนวศิน<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณชโลธร แผ้วสุวรรณ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

4C HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Srisak Phattanawasin<br />

Owner/Proprietor<br />

Chalotorn Phaewsuwan<br />

Year of Construction<br />

2007 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2008 A.D.<br />

ซอยนาคนิวาส ๒๐<br />

(ซอยสหกรณ์ ๓)<br />

ถนนนาคนิวาส<br />

แขวงลาดพร้าว<br />

เขตลาดพร้าว<br />

Soi Nakniwas 20<br />

(Soi Sahakorn 3),<br />

Nakniwas Road,<br />

Lat Phrao, Lat Phrao<br />

เฟรเซอร์ สูท<br />

เออร์บาน่า สาทร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท เฟรเซอร์ ฮอสปิตัล<br />

ลิตี้ (ประเทศไทย) จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

FRASER SUITES<br />

URBANA SATHORN<br />

Architect/Designer<br />

Architects 49 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Frasers Hospitality<br />

(Thailand) Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2006 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2008 A.D.<br />

๕๕ ถนนสาทรใต้<br />

แขวงทุ่งมหาเมฆ<br />

เขตสาทร<br />

55 Sathon Tai Road,<br />

Thung Maha Mek,<br />

Sathon<br />

เซ็นต์หลุยส์<br />

แกรนด์เทอเรส<br />

คอนโดมิเนียม<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท อาคิเตคส์ แอนด์<br />

แอสโซซิเอทส์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท พริ้นซิเพิล แคปิตอล<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ST. LOUIS GRAND<br />

TERRACE<br />

CONDOMINIUM<br />

Architect/Designer<br />

Architects and<br />

Assiciates Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Principal Capital Public<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2007 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2008 A.D.<br />

๑๕/๒๐๐<br />

ซอยสาทร ๑๑<br />

(ซอยเซ็นต์หลุยส์)<br />

ถนนสาทรใต้<br />

แขวงยานนาวา<br />

เขตสาทร<br />

Sam Sen Nai, Phayathai<br />

322<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


15/200 Soi Sathon 11<br />

(Soi St.Louis), Sathon<br />

Tai Road, Yannawa,<br />

Sathon<br />

O61<br />

โชว์รูมรถยนต์ มินิ<br />

ถนนเอกมัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สำนักงานสถาปนิก<br />

กรุงเทพ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท มิลเลนเนียม ออโต้<br />

จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

MINI SHOWROOM,<br />

EKKAMAI ROAD<br />

Architect/Designer<br />

The Office of <strong>Bangkok</strong><br />

Architect Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Millennuim Auto<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2007 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2008 A.D.<br />

๙๙/๙๙ ถนนสุขุมวิท<br />

๖๓ (เอกมัย)<br />

แขวงคลองเตยเหนือ<br />

เขตวัฒนา<br />

99/99 Sukhumvit 63<br />

(Ekkamai) Road, Klong<br />

Toei Nuea, Vadhana<br />

O62<br />

อาคารวิทยาลัย<br />

นานาชาติและ<br />

หอศิลปะ<br />

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ออฟฟิศ เอที จำกัด<br />

บริษัท อาคิเต็คส์ แอนด์<br />

แอสโซซิเอทส์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

INTERNATIONAL<br />

COLLEGE AND ART<br />

GALLERY (BUID &<br />

BUG), BANGKOK<br />

UNIVERSITY<br />

Architect/Designer<br />

Office AT Co., Ltd. and<br />

Architects &<br />

Associated Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

<strong>Bangkok</strong> University<br />

Year of Construction<br />

2006 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2008 A.D.<br />

มหาวิทยาลัยกรุงเทพ<br />

วิทยาเขตกล้วยน้ำไทย<br />

ถนนพระราม ๔<br />

แขวงพระโขนง<br />

เขตคลองเตย<br />

<strong>Bangkok</strong> University,<br />

Kluyanamthai Campus,<br />

Rama IV Road, Phra<br />

Khanong, Klong Toei<br />

O63<br />

อาคารปฏิบัติการ<br />

คณะเศรษฐศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ต้นศิลป์ สตูดิโอ<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คณะเศรษฐศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

OPERATION<br />

BUILDING,<br />

FACULTY OF<br />

ECONOMICS,<br />

KASETSART<br />

UNIVERSITY<br />

Architect/Designer<br />

Ton Silpa Studio Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Faculty of Economics,<br />

Kasetsart University<br />

Year of Construction<br />

2007 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2008 A.D.<br />

คณะเศรษฐศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์ ๕๐<br />

ถนนงามวงศ์วาน<br />

แขวงลาดยาว<br />

เขตจตุจักร<br />

Faculty of Economics,<br />

Kasetsart University<br />

50 Ngam Wong<br />

Wan Road, Lad Yao,<br />

Chatuchak<br />

O64<br />

เอ ซี บี เฟอร์นิเจอร์<br />

เวิร์คชอป<br />

(บริษัท อำนาจชัยกิจ<br />

อินทีเรีย จำกัด)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สุจินต์ โอสถารยกุล<br />

สถาปนิก จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท อำนาจชัยกิจ<br />

อินทีเรีย จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

323


ACB FURNITURE<br />

WORKSHOP<br />

(AUMNAJCHAI-<br />

YAKIJ INTERIOR<br />

COMPANY LIMITED)<br />

Architect/Designer<br />

Sujin Osatarayakul<br />

Architects Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Aumnajchaikij Interior<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2006 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2008 A.D.<br />

๒๐๘ ซอยลาดพร้าว<br />

๑๐๑ ถนนลาดพร้าว<br />

แขวงคลองจั่น เขต<br />

บางกะปิ<br />

208 Soi Lat Phrao<br />

101, Lat Phrao Road,<br />

Khlong Chan,<br />

Bangkapi<br />

O65<br />

อุทยาน<br />

เฉลิมพระเกียรติ<br />

สมเด็จ<br />

พระศรีนครินทรา<br />

บรมราชินี<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท นนท์-ตรึงใจ<br />

สถาปนิกและนักวางผัง<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

มูลนิธิชัยพัฒนา<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๓๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

THE PRINCESS<br />

MOTHER<br />

MEMORIAL PARK<br />

Architect/Designer<br />

Nond-Truengjai<br />

Architects, Planner<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

The Chaipattana<br />

Foundation<br />

Year of Construction<br />

1994 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2008 A.D.<br />

๓ ซอยสมเด็จเจ้าพระยา<br />

๑๗ แขวงคลองสาน<br />

เขตคลองสาน<br />

3 Soi Somdej Chao<br />

Phraya 17, Klong San,<br />

Klong San<br />

O66<br />

บ้านโฉมใหม่ –<br />

ชีวิตใหม่<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณวิทวัชช์ เจริญพงศ์,<br />

คุณนภัสสัย<br />

รัตนาวิวัฒน์พงศ์<br />

สถาปนิกผู้ออกแบบร่วม<br />

คุณอภิชาต<br />

เจริญพิวัฒน์พงษ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถาบันพัฒนาองค์กร<br />

ชุมชน (องค์การมหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

NEW LOOK-NEW<br />

LIFE TOWNHOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Vittvat Chroenpong,<br />

Napassai<br />

Ratanawiwatpong<br />

Apichart<br />

Charoenpiwatpong<br />

Owner/Proprietor<br />

Community<br />

Organizations<br />

Development<br />

Institute (Public<br />

Organization)<br />

Year of Construction<br />

2007 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2008 A.D.<br />

๓๑-๓๑/๒<br />

ซอยลาดพร้าว ๑๓๖<br />

แยก ๑ ถนนลาดพร้าว<br />

แขวงคลองจั่น<br />

เขตบางกะปิ<br />

31-31/2 Soi Lat Phrao<br />

136 Sub-Soi 1, Lat Phrao<br />

Road, Khlong Chan,<br />

Bangkapi<br />

O67<br />

ธนาคารแห่ง<br />

ประเทศไทย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ธนาคารแห่งประเทศไทย<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

BANK OF THAILAND<br />

Architect/Designer<br />

Plan Architect Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Bank of Thailand<br />

Year of Construction<br />

2008 A.D.<br />

Green Awarded<br />

2009 A.D.<br />

ธนาคารแห่ง<br />

ประเทศไทย<br />

สี่แยกบางขุนพรหม<br />

๒๗๓ ถนนสามเสน<br />

แขวงวัดสามพระยา<br />

เขตพระนคร<br />

Bank of Thailand,<br />

Bang Khun Phrom<br />

Junction 273 Samsen<br />

Road, Wat Sam<br />

Phraya, Phra Nakhon<br />

324<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O68<br />

O69<br />

คณะเศรษฐศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์ ๕๐<br />

ถนนงามวงศ์วาน<br />

แขวงลาดยาว<br />

เขตจตุจักร<br />

Faculty of Economics,<br />

Kasetsart University<br />

50 Ngam Wong<br />

Wan Road, Lad<br />

Yao, Chatuchak<br />

Architectural design<br />

Awarded 2010 A.D.<br />

๕๔ หมู่ที่ ๔<br />

ถนนวิภาวดีรังสิต<br />

แขวงตลาดบางเขน<br />

เขตหลักสี่<br />

54 Moo 4 Vibhavadi<br />

Rangsit Road, Talad<br />

Bangkhen, Lak Si<br />

เมเจอร์ อเวนิว รัชโยธิน<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท คอนทัวร์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท สยามฟิวเจอร์<br />

ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

บริษัท เมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์<br />

กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

MAJOR AVENUE<br />

RATCHAYOTHIN<br />

Architect/Designer<br />

Contour Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Siam Future<br />

Development Public<br />

Co., Ltd., And Major<br />

Cineplex Group Public<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2007 A.D.<br />

Green Awarded<br />

2009 A.D.<br />

๑๘๓๙ ถนน<br />

พหลโยธิน แขวงลาดยาว<br />

เขตจตุจักร<br />

1839 Phaholyothin<br />

Road, Lad Yao,<br />

Chatuchak<br />

อาคารปฏิบัติการ<br />

คณะเศรษฐศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ต้นศิลป์ สตูดิโอ<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คณะเศรษฐศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

OPERATION<br />

BUILDING,<br />

FACULTY OF<br />

ECONOMICS,<br />

KASETSART<br />

UNIVERSITY<br />

Architect/Designer<br />

Ton Silpa Studio Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Faculty of Economics,<br />

Kasetsart University<br />

Year of Construction<br />

2007 A.D.<br />

Green Awarded<br />

2008 A.D.<br />

O70<br />

สถาบันบัณฑิตศึกษา<br />

จุฬาภรณ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถาบันบัณฑิตศึกษา<br />

จุฬาภรณ์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

CHULABHORN<br />

GRADUATE<br />

INSTITUTE<br />

Architect/Designer<br />

Plan Architect Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Chulabhorn Graduate<br />

Institute<br />

Year of Construction<br />

2005 A.D.<br />

O71<br />

สถาบันพัฒนา<br />

องค์กรชุมชน<br />

(องค์การมหาชน)<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

สถาบันอาศรมศิลป์<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถาบันพัฒนาองค์กร<br />

ชุมชน (องค์การมหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๐<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

COMMUNITY<br />

ORGANIZATIONS<br />

DEVELOPMENT<br />

INSTITUTE<br />

(PUBLIC<br />

ORGANIZATION)<br />

Architect/Designer<br />

Arsom Silp Institute of<br />

the Arts Co-Architect :<br />

Plan Architect Co., Ltd.<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

325


Owner/Proprietor<br />

Community<br />

Organizations<br />

Development<br />

Institution (Public<br />

Organization)<br />

Year of Construction<br />

2007 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2010 A.D.<br />

๙๑๒ ถนนนวมินทร์<br />

แขวงคลองจั่น<br />

เขตบางกะปิ<br />

912 Nawamin Road,<br />

Klong Chan, Bangkapi<br />

Sun Systems Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2009 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2010 A.D.<br />

๑๘๑ ลาดพร้าวซอย<br />

๑ ถนนลาดพร้าว<br />

แขวงลาดยาว<br />

เขตจตุจักร<br />

181 Lat Phrao Soi 1,<br />

Lat Phrao Road,<br />

Lad Yao, Chatuchak<br />

Prasert Satientirakul<br />

Year of Construction<br />

2005 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2010 A.D.<br />

๓๑ ซอยรามคำแหง<br />

๔๓/๑ ถนนรามคำแหง<br />

แขวงหัวหมาก<br />

เขตบางกะปิ<br />

31 Soi Ramkamhaeng<br />

43/1, Ramkamhaeng<br />

Road, Hua Mak,<br />

Bangkapi<br />

Owner/Proprietor<br />

Orapin Hemvijitraphan<br />

Year of Construction<br />

2004 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2010 A.D.<br />

๔/๓๘๙ หมู่๖<br />

ซอยนาคนิวาส ๓๗<br />

ถนนลาดพร้าว ๗๑<br />

แขวงลาดพร้าว<br />

เขตลาดพร้าว<br />

4/389 moo 6<br />

Nakniwas 37, Lat Phrao<br />

Road, Lat Phrao,<br />

Lat Phrao<br />

O73<br />

O74<br />

O72<br />

อาคารสำนักงาน<br />

บริษัท ซันวัน จำกัด<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ดีพาร์ทเม้นท์ ออฟ<br />

อาร์คิเทคเจอร์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ซันซิสเท็ม จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

SUN ONE OFFICE<br />

BUILDING<br />

Architect/Designer<br />

Department of<br />

Architecture Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

บ้านคุณประเสริฐ<br />

เสถียรถิระกุล<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณบุญเลิศ เหมวิจิตรพันธ์<br />

(บูรณ์ ดีไซน์)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณประเสริฐ เสถียรถิระกุล<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

BAAN KHUN<br />

PRASERT<br />

SATIENTIRAKUL<br />

(MR.PRASERT’S<br />

HOUSE)<br />

Architect/Designer<br />

Boonlert Hemvijitraphan<br />

(Boon Design)<br />

Owner/Proprietor<br />

บ้านคุณอรพิน<br />

เหมวิจิตพันธ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณบุญเลิศ เหมวิจิตรพันธ์<br />

(บูรณ์ ดีไซน์)<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณอรพิน เหมวิจิตรพันธ์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

BAAN KHUN<br />

ORAPIN<br />

HEMVIJITRAPHAN :<br />

CASA OPTIMISM<br />

(ORAPIN’S HOUSE)<br />

Architect/Designer<br />

Boonlert Hemvijitraphan<br />

O75<br />

เอสซีจี เอ็กซ์พีเรียนซ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท เอสซีจี ดิสทริ<br />

บิวชั่น จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

SCG EXPERIENCE<br />

Architect/Designer<br />

Architect 49 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

SCG Distribution<br />

Co., Ltd.<br />

326<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


Year of Construction<br />

2009 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2010 A.D.<br />

๑๔๔๔<br />

ซอยลาดพร้าว ๘๗<br />

ถนนประดิษฐ์มนูธรรม<br />

(เลียบทางด่วนเอกมัย-<br />

รามอินทรา)<br />

แขวงคลองจั่น<br />

เขตบางกะปิ<br />

1444 Soi Lat Phrao<br />

87, Pradit Manutham<br />

Road, Klong Chan,<br />

Bangkapi<br />

Owner/Proprietor<br />

Holger - Tatiya Elbro<br />

Jensen<br />

Year of Construction<br />

2008 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2010 A.D.<br />

หมู่บ้านวินด์มิลล์พาร์ค<br />

ถนนบางนา - ตราด กม.90<br />

เขตบางนา (ปัจจุบันแบ่ง<br />

เขตใหม่ เป็นตำบลบางพลี<br />

ใหญ่ อำเภอบางพลี<br />

จังหวัดสมุทรปราการ)<br />

Windmill Park, Bangna<br />

- Trad Road, Km.90,<br />

Bangna (Now Bangplee,<br />

Samut Prakan)<br />

Owner/Proprietor<br />

Tangkaravakun ‘s<br />

family<br />

Year of Construction<br />

2009 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2012 A.D.<br />

ถนนกรุงเทพกรีฑา<br />

แขวงสะพานสูง<br />

เขตสะพานสูง<br />

Krungthep Kreetha<br />

Road, Saphan Sung,<br />

Saphan Sung<br />

Owner/Proprietor<br />

Architect Council of<br />

Thailand<br />

Year of Construction<br />

2010 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2012 A.D.<br />

๑๒ ถนนพระราม ๙<br />

ซอย ๓๖ แขวงหัวหมาก<br />

เขตบางกะปิ<br />

12 Rama IX Road,<br />

Soi 36, Hua Mak,<br />

Bang Kapi<br />

O78<br />

O79<br />

O76<br />

เรสซิเดนซ์<br />

วินด์มิลล์ ซี ๒๓<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ดวงฤทธิ์ บุนนาค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณโฮเกอร์ - คุณตติยา<br />

เอลโบร เยนเซ่น<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๑<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

RESIDENCE<br />

WINDMILL C23<br />

Architect/Designer<br />

Duangrit Bunnag<br />

Architect Co., Ltd.<br />

(DBALP)<br />

O77<br />

บ้านกรุงเทพกรีฑา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

ครอบครัว ตั้งคารวคุณ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

HOUSE K01<br />

KRUNGTHEP<br />

KREETHA HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Architect 49 Co., Ltd.<br />

อาคารที่ทำการ<br />

สภาสถาปนิก<br />

ถนนพระรามเก้า<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

นายกฤษฎา พนิตโกศล<br />

ร่วมกับ บริษัท เออาร์เบย์<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สภาสถาปนิก<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

ARCHITECT<br />

COUNCIL OF<br />

THAILAND<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Krisda Panitkosol<br />

and ARbay Co., Ltd.<br />

บ้านต้นศิลป์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณชาตรี ลดาลลิตสกุล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณชาตรี ลดาลลิตสกุล<br />

และครอบครัว<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

TONSILP ART<br />

HOME<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Chatri<br />

Ladalalitasakul<br />

Owner/Proprietor<br />

Mr. Chatri<br />

Ladalalitasakul<br />

and family<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

327


Year of Construction<br />

2012 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

หมู่บ้านร่มไม้ชาย<br />

คลอง ถนนพระราม ๒<br />

ซอย ๓๓ แขวงบางมด<br />

เขตจอมทอง<br />

Rommai Chaiklong<br />

village, Rama II Road,<br />

Soi 33 Bang Mot,<br />

Chom Thong<br />

ซอย เมฆสวัสดิ์<br />

ถนนเย็นอากาศ<br />

แขวงช่องนนทรี<br />

เขตยานนาวา<br />

Soi Mek Sawat,<br />

Yen Akat Road,<br />

Chong Nonsi, Yannawa<br />

๙๐๘ ถนนพระราม<br />

ที่ ๔ แขวงสี่พระยา เขต<br />

บางรัก<br />

908 Rama IV Road,<br />

Sripraya, Bang Rak<br />

O83<br />

O80<br />

บ้านลักซ์ สาทร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ทีเอ็ม ดีไซน์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ไซบาริทิค จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

LUX SATHON<br />

HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

TM Design Co.,Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Sybaritic Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2014 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

O81<br />

ไธรว์ ดิ โฮสเทล<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท นูเซ็น จำกัด<br />

คุณปรัชญา สุขแก้ว,<br />

คุณศิวนาท วรศิวะ,<br />

คุณซอลดี หมันการ<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท มี มิตร ดี จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

THRIVE<br />

THE HOSTEL<br />

Architect/Designer<br />

Nuzen Co., Ltd.<br />

Mr. Prachya Sukkaew,<br />

Mr.Siwanath Worrasiwa,<br />

Solde Mankarn<br />

Owner/Proprietor<br />

Mee Mit Dee Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2013 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

O82<br />

เรนเดซวูส์ ๘๐<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙<br />

เฮ้าดีไซน์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณทวิส เพ็งสา<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

RENDEZVOUS 80<br />

Architect/Designer<br />

Architects 49 House<br />

Design Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Thawis Pengsa<br />

Year of Construction<br />

2013 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

๑๕๕/๕๕ ซอย<br />

ลาดพร้าว ๘๐ แยก ๑๙<br />

แขวงวังทองหลาง<br />

เขตวังทองหลาง<br />

155/55 Soi Lat Prao 80<br />

Yaek 19, Wang Thonglang,<br />

Wang Thonglang<br />

ไซมิส จิออญ่า<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก สมดุล<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ไซมิส แอสเสท<br />

จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

SIAMESE GIOIA<br />

Architect/Designer<br />

Somdoon Architects<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Siamese Asset Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2014 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

ซอยสุขุมวิท ๓๑<br />

ถนนสุขุมวิท<br />

แขวงคลองเตยเหนือ<br />

เขตวัฒนา<br />

Soi Sukhumvit 31,<br />

Sukhumvit Road, Klong<br />

Toei Nuea, Vadhana<br />

328<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


O84<br />

O85<br />

O86<br />

O87<br />

อาคารสำนักงาน<br />

บริษัท โซนิค วิชั่น<br />

จำกัด<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณอภิชาติ ศรีโรจน<br />

ภิญโญ<br />

บริษัท สตูดิโอ อาร์คิเทคส์<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท โซนิค วิชั่น จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

ZONIC VISION<br />

OFFICE<br />

Architect/Designer<br />

Mr. Apichart<br />

Srirojanapinyo<br />

(Stu/D/O Architects<br />

Co., Ltd.)<br />

Owner/Proprietor<br />

Zonic vision Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2014 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

๕๙๕/๙ ถนนนนทรี<br />

แขวงช่องนนทรี<br />

เขตยานนาวา<br />

595/9 Nonsi Road,<br />

Chong Nonsi, Yannawa<br />

สำนักงานวนชัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก<br />

โอเพนบอกซ์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท วนชัยกรุ๊ป จำกัด<br />

(มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

VANACHAI OFFICE<br />

Architect/Designer<br />

Openbox Architects<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Vanachai Group Public<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2012 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

๒/๑ ถนนวงศ์สว่าง<br />

แขวงวงศ์สว่าง<br />

เขตบางซื่อ<br />

2/1 Wong Sawang<br />

Road, Wong Sawang,<br />

Bang Sue<br />

เดอะ แกรนด์<br />

ปิ่นเกล้า คลับเฮ้าส์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ออฟฟิศ เอที จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท กรุงเทพบ้านและ<br />

ที่ดิน จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

THE GRAND<br />

PINKLAO<br />

CLUBHOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Office AT Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Krungthep Land Public<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2013 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

๕๙๔ ถนนบรมราชชนนี<br />

แขวงศาลาธรรมสพน์<br />

เขตทวีวัฒนา<br />

594<br />

Borommaratchonnani<br />

Road, Sala<br />

Thammasop,<br />

Thawiwatthana<br />

โรงแรมหัวช้าง<br />

เฮอริเทจ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท แปลน อาคิเต็ค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ภูมิภวัน จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

HUA CHANG<br />

HERITAGE HOTEL<br />

Architect/Designer<br />

Plan Architect Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Phumphawan Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2013 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded2014 A.D.<br />

๔๐๐ ซอยเกษมสันต์<br />

๑ ถนนพญาไท แขวง<br />

วังใหม่ เขตปทุมวัน<br />

400 Soi Kasem San<br />

1, Phayathai Road,<br />

Wangmai, Pathumwan<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

329


๔๙๙<br />

ถนนกำแพงเพชร ๖<br />

แขวงลาดยาว<br />

เขตจตุจักร<br />

499 Kamphaeng<br />

Phet 6 Road, Lad Yao,<br />

Chatuchak<br />

399 Soi Anamai<br />

Ngamcharoen 25,<br />

Tha Kham, Bang Khun<br />

Thian<br />

O88<br />

O91<br />

พิพิธภัณฑ์ศิลปะไทย<br />

ร่วมสมัย<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

คุณวรรณพร พรประภา,<br />

คุณสุธี โรจนุตมะ,<br />

คุณเรวรี นพเกตุ,<br />

คุณเบญจพร ตะพานวงศ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท เบญจจินดา โฮลดิ้ง<br />

จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๕<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

MOCA BANGKOK<br />

(THAI<br />

CONTEMPORARY<br />

ART MUSEUM)<br />

Architect/Designer<br />

Wannaporn<br />

Phornprapha,<br />

Suthee Rojanutama,<br />

Rawaree Nopagate,<br />

Benjaporn<br />

Tapanwonse<br />

Owner/Proprietor<br />

Benchachinda Holding<br />

Co.,Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2012 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

O89<br />

สถาบันอาศรมศิลป์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

สถาบันอาศรมศิลป์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถาบันอาศรมศิลป์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

ARSOM SILP<br />

INSTITUTE OF<br />

THE ARTS<br />

Architect/Designer<br />

Arsom Silp Institute of<br />

The Arts<br />

Owner/Proprietor<br />

Arsom Silp Institute of<br />

The Arts<br />

Year of Construction<br />

2009 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

๓๙๙ ซอยอนามัยงาม<br />

เจริญ ๒๕ แขวงท่าข้าม<br />

เขตบางขุนเทียน<br />

O90<br />

ฮอนด้า พี ไทยแลนด์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท เอ็ม สเปซ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท พี. ไทยแลนด์แม<br />

ชินเนอรี่ จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๔๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

HONDA P<br />

THAILAND<br />

Architect/Designer<br />

M Space Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

P Thailand Mechinary<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2006 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

ถนนทรงวาด<br />

แขวงจักรวรรดิ<br />

เขตสัมพันธวงศ์<br />

Song Wat Road,<br />

Chakkkrawat,<br />

Samphanthawong<br />

เดอะแจมแฟคทอรี่<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ดวงฤทธิ์ บุนนาค<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณดวงฤทธิ์ บุนนาค<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๖<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

THE JAM FACTORY<br />

Architect/Designer<br />

Duangrit Bunnag<br />

Architect Co., Ltd.<br />

(DBALP)<br />

Owner/Proprietor<br />

Duangrit Bunnag<br />

Year of Construction<br />

2013 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2014 A.D.<br />

๔๑/๑-๕<br />

ถนนเจริญนคร<br />

แขวงคลองสาน<br />

เขตคลองสาน<br />

41/1-5 Charoenkrung<br />

Road, Klong San,<br />

Klong San<br />

330<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


๓๓๕ ซอยทองหล่อ<br />

๑๗ ถนนสุขุมวิท ๕๕<br />

แขวงคลองตันเหนือ<br />

เขตวัฒนา<br />

335 Soi Thong Lo 17,<br />

Sukhumvit 55 Road,<br />

Khlong Tan Nuea,<br />

Vadhan<br />

O92<br />

O93<br />

O95<br />

บ้านเปา<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สตูดิโอ อาร์คิเทคส์<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณไชยชุมพล วัฑฒกา<br />

นนท์<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

PAO HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Stu/D/O Architects<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Chaichumpol<br />

Watthaganon<br />

Year of Construction<br />

2016 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2016 A.D.<br />

ซอยประชาราษฎร์<br />

บำเพ็ญ ๒๘<br />

ถนนประชาราษฎร์<br />

บำเพ็ญ<br />

แขวงสามเสนนอก<br />

เขตห้วยขวาง<br />

Soi Phracha Rat<br />

Bamphen 28, Phracha<br />

Rat Bamphen Road,<br />

Sam Sen Nok, Huai<br />

Khwang<br />

เดอะคอมมอนส์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ดีพาร์ทเม้นท์ ออฟ<br />

อาร์คิเทคเจอร์ จำกัด<br />

โดย คุณอมตะ หลูไพบูลย์,<br />

คุณทวิตีย์ วัชราภัย เทพาคำ,<br />

คุณชัยภัฏ มีระเสน,<br />

คุณฌัลลิกา บุญผา<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท เดอะ คอมมอนส์<br />

จำกัด โดย คุณวิชรี<br />

และคุณวรัตต์ วิจิตรวาท<br />

การ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

THE COMMONS<br />

Architect/Designer<br />

Department of<br />

Architecture Co.,Ltd.<br />

By Mr. Amata<br />

Luphaiboon,<br />

Twitee Vajrabhaya<br />

Teparkum,<br />

Chaipat Mirasena,<br />

Challika Boonpha<br />

Owner/Proprietor<br />

The Common Co., Ltd.<br />

by Wicharee – waratt<br />

Vijitwathakarn<br />

Year of Construction<br />

2016 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2016 A.D.<br />

O94<br />

ไฮเออร์ กราวด์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙ เฮ้าส์<br />

ดีไซน์ จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณอิทธินัย ยิ่งสิริ<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

HIGHER GROUND<br />

Architect/Designer<br />

Architects 49 House<br />

Design Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Itthinai Yingsiri<br />

Year of Construction<br />

2010 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2016 A.D.<br />

๕๑/๒ ซอยสุพรรณิกา ๑<br />

แขวงดินแดง เขตดินแดง<br />

51/2 Soi Supannika 1,<br />

Din Daeng, Din Daeng<br />

กลาสเฮ้าท์<br />

แอท สินธร<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท ออฟฟิศ เอที จำกัด<br />

นายสุรชัย เอกภพโยธิน,<br />

นส.จุฑาทิพย์ เตชะจำเริญ,<br />

นายนัทธี อนุโยธา,<br />

นายชลธี มะยุระรักษ์<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท สยามสินธร จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

GLASSHOUSE AT<br />

SINDHORN<br />

Architect/Designer<br />

Office AT Co., Ltd.<br />

Surachai Akekapobyotin,<br />

Juthathip<br />

Techachumreon,<br />

Natthee Anuyotha,<br />

Chollatee Mayurarak<br />

Owner/Proprietor<br />

Siam Sindhorn Co.,Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2015 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2016 A.D.<br />

ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี<br />

เขตปทุมวัน<br />

Witthayu Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

331


O96<br />

O97<br />

O98<br />

O99<br />

ในป่าอาร์ต<br />

คอมเพล็กซ์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สตูดิโอ อาร์คิเท็คส์<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท จีริศ ๔๖ จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

NAIPA ART<br />

COMPLEX<br />

Architect/Designer<br />

Stu/D/O Architects<br />

Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

G’RIS 46<br />

Year of Construction<br />

2016 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2016 A.D.<br />

๔๖ ซอยสุขุมวิท ๔๖<br />

ถนนสุขุมวิท<br />

แขวงพระโขนง<br />

เขตคลองเตย<br />

46 Soi Sukhumvit 46,<br />

Sukhumvit Road,<br />

Phra Khanong,<br />

Klong Toei<br />

โรงแรม อินดิโก้<br />

กรุงเทพฯ ถนนวิทยุ<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก ๔๙<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

บริษัท ปิยะสมบัติ พร็อพ<br />

เพอร์ตี้ จำกัด<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๗<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

HOTEL INDIGO<br />

BANGKOK<br />

Architect/Designer<br />

Architect 49 Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Piyasombat Property<br />

Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2014 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2016 A.D.<br />

๘๑ ถนนวิทยุ<br />

แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน<br />

81 Witthayu Road,<br />

Lumpini, Pathumwan<br />

ป่าในกรุง<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก สเปซไทม์<br />

จำกัด (กา-ละ-เท-ศะ),<br />

คุณกรรณิการ์<br />

รัตนปรีดากุล,<br />

คุณเพียงออ พันธยากร,<br />

คุณคงศักดิ์ วิจักขณทูล<br />

ผู้ครอบครอง<br />

สถาบันปลูกป่า บริษัท<br />

ปตท. จำกัด (มหาชน)<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

METRO FOREST<br />

Architect/Designer<br />

Spacetime Co., Ltd.<br />

Kanika Ratanapridakul,<br />

Peangaor<br />

Phanthayakorn,<br />

Kongsak Wichakanatul<br />

Owner/Proprietor<br />

Reforestation Institute,<br />

PTT Public Co., Ltd.<br />

Year of Construction<br />

2015 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2016 A.D.<br />

๘๑ ถนนสุขาภิบาล ๒<br />

แขวงดอกไม้ เขตประเวศ<br />

81 Sukhaphiban 2<br />

สิริเฮ้าส์<br />

สถาปนิก/ผู้ออกแบบ<br />

บริษัท สถาปนิก ไอดิน<br />

จำกัด<br />

ผู้ครอบครอง<br />

คุณสุรีย์ ศิริวัจนางกูร<br />

ปีที่สร้าง<br />

พ.ศ. ๒๕๕๘<br />

ปีที่ได้รับรางวัล<br />

พ.ศ. ๒๕๕๙<br />

SIRI HOUSE<br />

Architect/Designer<br />

Idin Architects Co., Ltd.<br />

Owner/Proprietor<br />

Suree Siriwajanangkul<br />

Year of Construction<br />

2015 A.D.<br />

Architectural design<br />

Awarded 2016 A.D.<br />

ถนนสุรวงศ์<br />

แขวงสุริยวงศ์ เขตบางรัก<br />

Surawong Road,<br />

Suriyawong, Bang Rak<br />

Road, Dok Mai, Prawet<br />

332<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

333


สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

THE ASSOCIATION OF SIAMESE<br />

ARCHITECTS UNDER ROYAL<br />

PATRONAGE (ASA)<br />

泰 国 皇 家 建 筑 师 协 会<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ได้ก่อตั้งขึ้นในพ.ศ. ๒๔๗๗<br />

ตั้งแต่ประเทศไทยยังเป็นสยามประเทศ เป็นสมาคม<br />

วิชาชีพทางสถาปัตยกรรมที่ก่อตั้งโดยกลุ่มสถาปนิก<br />

ไทยในยุคบุกเบิกงานวิชาชีพสถาปัตยกรรมในประเทศ<br />

สยาม เพื่อส่งเสริมและยกระดับการปฏิบัติวิชาชีพให้มี<br />

มาตรฐาน โดยมีนายกสมาคมท่านแรกคือ พระสาโรช<br />

รัตนนิมมานก์ (สาโรช สุขยางค์) หลวงบุร-<br />

กรรมโกวิท เป็นเลขาธิการ และประกอบด้วยกรรมการ<br />

อีก ๔ ท่าน คือ หม่อมเจ้าอิทธิเทพสรรค์ กฤดากร,<br />

หม่อมเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร, หม่อมเจ้าโวฒยากร<br />

วรวรรณ และนายศิววงษ์ กุญชร มาใน พ.ศ. ๒๔๙๗<br />

สมาคมสถาปนิกสยามได้รับพระมหากรุณาธิคุณเข้าอยู่<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

กิจกรรมในช่วงแรกเป็นการมุ่งส่งเสริมและเผยแพร่<br />

ความรู้ด้านวิชาการและวิชาชีพสถาปัตยกรรม และได้มี<br />

การเสนอร่างพระราชบัญญัติควบคุมวิชาชีพ<br />

สถาปัตยกรรมจนมีผลบังคับใช้ใน พ.ศ. ๒๕๐๘ ต่อมา<br />

ใน พ.ศ. ๒๕๑๑ มีการริเริ่มจัดนิทรรศการวัสดุก่อสร้าง<br />

และอุปกรณ์อาคารเป็นครั้งแรกในประเทศไทย และจัด<br />

ต่อเนื่องจนกลายเป็นงานสถาปนิกทุกวันนี้ ในปี<br />

เดียวกันมีการแต่งตั้งกรรมาธิการวิชาการสาขาอนุรักษ์<br />

ศิลปกรรม และดำเนินงานสืบเนื่องกันมาถึงปัจจุบัน<br />

ภายใต้กรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม<br />

พ.ศ. ๒๕๒๕ ในคราวฉลองกรุงเทพมหานคร<br />

๒๐๐ ปีได้มีการจัดให้มีการคัดเลือกรางวัลอนุรักษ์ศิลป<br />

สถาปัตยกรรมดีเด่นติดต่อกันมาทุกปี และรางวัล<br />

สถาปัตยกรรมดีเด่นทุก ๒ ปี โดยได้รับพระ<br />

มหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ<br />

สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์ประธานในการ<br />

พระราชทานรางวัลโล่เกียรติยศ สลักพระปรมาภิไธย<br />

ย่อ “ส.ธ.”<br />

กิจกรรมของสมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้พัฒนา<br />

ต่อเนื่องมา ขยายขอบเขตการทำงานทั้งทางด้าน<br />

วิชาชีพ วิชาการ การพัฒนาวิชาชีพต่อเนื่อง การต่าง<br />

ประเทศ และการอนุรักษ์ รวมถึงการเข้าประชุมร่วม<br />

กับหน่วยงานภาครัฐเพื่อให้ความเห็นในเรื่องการ<br />

พัฒนาเมืองและการอนุรักษ์ย่านเก่า<br />

ปัจจุบันสมาคมสถาปนิกสยามฯ ยังคงทำหน้าที่<br />

เป็นศูนย์กลางของสมาชิกเก่ากว่า ๑๒,๐๐๐ คน การ<br />

ประสานงานกิจกรรมต่างๆ ที่อำนวยประโยชน์ต่อ<br />

สมาชิก และต่อสังคม ทั้งในเชิงวิชาชีพ วิชาการ และ<br />

สันทนาการ<br />

334<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


The Association of Siamese Architects under<br />

Royal Patronage (ASA) was established in 1934<br />

– when Thailand was still called Siam. ASA is a<br />

professional body founded by a group of Thai<br />

architects who pioneered the architectural profession<br />

in Siam. The aim was to improve the<br />

standard of the profession in the country. The first<br />

chief executive was Phra Saroj Ratana Nimman,<br />

with Luang Burakhamkowit as the secretarygeneral.<br />

Four other committee members consist<br />

of HSH Prince Itthithepsan Kridakorn, HSH Prince<br />

Samaichalerm Kridakorn, HSH Prince Vodhyakara<br />

Varavarn, and Mr. Siwawong Kunchorn. In 1954,<br />

ASA was graciously granted the title ‘under Royal<br />

Patronage’.<br />

In the early years of the founding of ASA, the<br />

association’s activities were mainly academic. Draft<br />

of the Architectural Profession Act was proposed<br />

and was later endorsed in 1965. In 1968, the first<br />

exhibition on construction materials and building<br />

services was held in Thailand, and since then the<br />

event continues until today as annual fair, known<br />

as the Architect Expo. In 1968, the first academic<br />

committee for the conservation of the arts was also<br />

formed and continues to work until today under the<br />

name of Architectural Conservation Committee.<br />

On the occasion of <strong>Bangkok</strong>’s bicentennial<br />

celebration in 1982, ASA initiated the Architectural<br />

Conservation Awards. The awards have been held<br />

annually, and every two years for the Architectural<br />

Design Awards. Her Royal Highness Princess<br />

Maha Chakri Sirindhorn acted as the Principal in<br />

the awarding ceremonies, granting honourable<br />

trophies engraved with the Princess’ initials to the<br />

award recipients.<br />

ASA activities have continuously expanded<br />

from professional and academic-related activities<br />

to international and conservational events as well<br />

as meetings with government bodies discussing<br />

city development and conservation plans.<br />

Today, ASA also acts as the centre of the<br />

community of more than 12,000 members. The<br />

association collaborates on projects which benefit<br />

the members and the society, whether professional,<br />

academic or recreational.<br />

泰 国 皇 家 建 筑 师 协 会 创 立 于 1934 年 , 当 时 的 泰 国 仍 使 用 旧 称 “ 暹 罗<br />

(Siam)”。 那 个 时 期 的 协 会 是 由 当 时 的 建 筑 师 先 驱 们 共 同 创 办 的 。 成 立 该<br />

协 会 的 目 的 是 提 供 支 持 并 且 提 高 泰 国 建 筑 水 平 能 力 达 到 一 定 的 水 准 。 当 时<br />

的 建 筑 师 协 会 拥 有 第 一 位 协 会 主 席 :Phra Saraj Ratana Nimman; 秘 书<br />

长 为 Luang Burakham Kowit; 以 及 四 位 委 员 分 别 是 HSH Prince<br />

Itthithepsan Kridakorn,HSH Prince Samaichalerm Kridakorn,HSH<br />

Prince Vodhyakara Varavarn 和 Mr. Siwawong Kunchorn。1954 年 ,<br />

泰 国 建 筑 师 协 会 得 到 国 王 的 恩 典 , 并 在 皇 家 的 帮 助 下 最 终 成 为 泰 国 皇 家 建 筑<br />

师 协 会 。<br />

协 会 初 期 的 活 动 是 支 持 和 传 播 建 筑 相 关 方 面 的 学 术 工 作 , 而 且 还 提<br />

议 起 草 建 筑 师 行 业 法 律 法 规 —《 建 筑 师 职 业 监 督 管 理 条 例 》, 并 于 1965<br />

年 生 效 。 接 下 来 在 1968 年 , 协 会 举 办 了 泰 国 首 届 第 一 次 建 筑 材 料 和 建 筑<br />

设 备 的 博 览 会 , 之 后 年 年 举 办 一 直 延 续 至 今 。 同 年 , 协 会 成 立 了 建 筑 艺 术<br />

保 护 委 员 会 , 从 事 相 关 工 作 持 续 至 今 。<br />

1986 年 , 在 曼 谷 市 200 年 庆 典 活 动 中 , 第 一 次 开 始 举 办 评 选 优 秀 建<br />

筑 的 奖 项 , 之 后 每 年 都 持 续 举 办 , 还 有 两 年 举 一 次 的 诗 琳 通 公 主 奖 励 。<br />

泰 国 皇 家 建 筑 师 协 会 从 事 的 活 动 从 成 立 至 今 一 直 在 不 断 提 高 , 从 建<br />

筑 职 业 、 学 术 、 职 业 可 持 续 发 展 、 国 际 交 流 以 及 建 筑 遗 产 保 护 来 发 展 整 个<br />

建 筑 行 业 , 并 且 与 政 府 部 门 密 切 交 流 、 举 行 会 议 座 谈 , 以 便 政 府 能 够 重 视<br />

城 市 建 筑 的 发 展 和 对 建 筑 遗 迹 的 保 护 。<br />

现 在 , 泰 国 皇 家 建 筑 师 协 会 仍 然 作 为 超 过 12,000 协 会 成 员 的 活 动 中<br />

心 , 负 责 日 常 事 务 处 理 。 从 职 业 、 学 术 和 娱 乐 方 面 为 成 员 提 供 便 利 和 向 社<br />

会 做 出 贡 献 。<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

335


คำศัพท์ที่เกี่ยวข้อง<br />

VOCABULARY<br />

ก<br />

กรมศิลปากร<br />

THE FINE ARTS DEPARTMENT<br />

泰 国 文 化 艺 术 厅<br />

กระเบื้องกาบกล้วย<br />

TERRACOTTA ROOF<br />

TILES CALLED ‘KAB KLUAY’<br />

(LITERALLY MEANS BANANA<br />

STALK).<br />

陶 土 瓦<br />

กระเบื้องว่าว<br />

DIAMOND-SHAPED TILES<br />

琉 璃 瓦<br />

กองทัพเรือ<br />

THE ROYAL THAI NAVY<br />

泰 国 海 军 司 令 部<br />

การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

STATE RAILWAY OF THAILAND<br />

泰 国 国 家 铁 路 局<br />

ค<br />

เครื่องราชอิสริยาภรณ์<br />

THAI ROYAL INSIGNIAS<br />

皇 室 徽 章<br />

ช<br />

ช่อฟ้า<br />

CHOR FA<br />

山 墙 顶 端<br />

ช้างเอราวัณ<br />

ERAWAN<br />

三 头 象 神<br />

ชาดกเรื่องพระเจ้า ๕๐๐ ชาติ<br />

THE STORY OF 500 FORMER<br />

INCARNATIONS OF BUDDHA<br />

《 佛 本 生 经 》<br />

的 五 百 本 生 故 事<br />

ซ<br />

ซุ้มประตู<br />

THE ARCH<br />

拱 门<br />

ท<br />

ทศชาติชาดก<br />

THE JATAKA<br />

佛 本 生 经<br />

เทศบัญญัติ<br />

THE MUNICIPAL LAW<br />

市 政 条 例<br />

ธ<br />

ธนาคารไทยพาณิชย์<br />

จำกัด (มหาชน)<br />

THE SIAM COMMERCIAL<br />

BANK PUBLIC CO. LTD.<br />

泰 国 汇 商 银 行<br />

336<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


บ<br />

บริษัท แบงก์สยาม<br />

กัมมาจล ทุนจำกัด<br />

SIAM COMMERCIAL<br />

BANK CO. LTD.<br />

暹 罗 商 业 银 行<br />

ใบระกา<br />

BAI RAKA<br />

山 墙 底 端<br />

ผ<br />

ผนังดินบดอัด<br />

COMPRESSED SOIL WALL<br />

夯 土 墙<br />

พ<br />

พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัว<br />

KING PINKLAO<br />

平 格 劳 皇<br />

พระพุทธรูปยืนปางห้ามญาติ<br />

A STANDING BUDDHA WITH<br />

THE PREVENTING CALAMITIES<br />

POSTURE, OR PANG HAM YATI<br />

立 式 格 罗 那 佛 佛 像<br />

พระมหามณฑป<br />

PHRA MAHA MONDHOP<br />

大 佛 殿<br />

พระอุโบสถ<br />

UBOSOT (ORDINATION HALL)<br />

寺 庙 主 殿<br />

ย<br />

ยูเนสโก<br />

UNITED NATIONS EDUCA-<br />

TIONAL, SCIENTIFIC AND<br />

CULTURAL ORGANIZATION<br />

- UNESCO<br />

联 合 国 教 育 、<br />

科 学 及 文 化 组 织<br />

ร<br />

เรือนกาแล<br />

(RUEN GALARE) THE FOR-<br />

MER IS A TRADITIONAL<br />

HOUSE RELOCATED FROM<br />

NORTHERN THAILAND<br />

吊 脚 楼 ,<br />

泰 国 北 部 传 统 建 筑 。<br />

เรือนขนมปังขิง<br />

GINGERBREAD HOUSE<br />

姜 饼 屋<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

337


เรือนไม้ทรงมะนิลา<br />

MANILA BUILDING<br />

马 尼 拉 式 建 筑<br />

ล<br />

ลายรดน้ำ<br />

THAI LACQUER WORKS<br />

泰 国 上 漆 工 艺<br />

ส<br />

สภากาชาดไทย<br />

THE THAI RED CROSS<br />

SOCIETY<br />

泰 国 红 十 字 会<br />

สมเด็จพระเจ้าตากสิน<br />

มหาราช<br />

KING TAKSIN<br />

达 信 大 帝 ( 郑 王 )<br />

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ<br />

เจ้าฟ้าบริพัตรสุขุมพันธุ์<br />

กรมพระนครสวรรค์วรพินิต<br />

PRINCE PARIBATRA<br />

SUKHUMBHANDHU, PRINCE<br />

OF NAKHON SAWAN<br />

波 里 帕 · 素 坤 潘 公 主<br />

( 那 空 沙 旺 府 公 主 )<br />

สมเด็จพระศรีนครินทราบรม<br />

ราชชนนี<br />

SOMDET PHRA SRINAGARIN-<br />

DRA BOROMARAJAJONANI<br />

OR PRINCESS MOTHER OR<br />

SOMDET YA (THE ROYAL<br />

GRANDMOTHER)<br />

诗 纳 卡 琳 皇 太 后<br />

สมาคมสถาปนิกสยามใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์<br />

THE ASSOCIATION OF<br />

SIAMESE ARCHITECTS<br />

UNDER ROYAL PATRONAGE<br />

泰 国 皇 家 建 筑 师 协 会<br />

สยามสมาคม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

THE SIAM SOCIETY UNDER<br />

ROYAL PATRONAGE<br />

暹 罗 协 会<br />

สำนักงานทรัพย์สิน<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

THE CROWN PROPERTY<br />

BUREAU<br />

皇 冠 地 产 局<br />

338<br />

•<br />

BANGKOK WALKING GUIDE


ห<br />

หน้าบัน<br />

GABLE<br />

山 墙<br />

หลังคาจั่ว<br />

GABLED ROOF<br />

山 墙 屋 顶<br />

หลังคาปั้นหยา<br />

HIPPED ROOF<br />

坡 屋 顶<br />

หางหงส์<br />

HANG HONG<br />

凤 尾<br />

อ<br />

องค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย<br />

UNITED NATIONS<br />

CHILDREN’S FUND<br />

- UNICEF<br />

联 合 国 儿 童 基<br />

金 会 泰 国 办 事 处<br />

องค์เจ้าแม่กวนอิม<br />

THE STATUE OF GUANYING<br />

观 音 菩 萨<br />

อธิบดีกรมการคลัง<br />

MINISTER OF COMMERCE<br />

商 务 部 长<br />

BANGKOK WALKING GUIDE •<br />

339


BANGKOK WALKING GUIDE<br />

ที่ปรึกษา ปองขวัญ สุขวัฒนา ลาซูส<br />

เรียบเรียงภาษาไทย ชาตรี ประกิตนนทการ<br />

ปรีดา อัครสิริวงศ์<br />

แปลภาษาอังกฤษ พินัย สิริเกียรติกุล<br />

นวันวัจน์ ยุธานหัส<br />

แปลภาษาจีน<br />

นวรัตน์ ภักดีคำ<br />

จตุวิทย์ แก้วสุวรรณ์<br />

บรรณาธิการ<br />

ปรีดา อัครสิริวงศ์<br />

กองบรรณาธิการ ลีนวัตร ธีระพงษ์รามกุล<br />

ปสุตา ปัญจโภคาธนากร<br />

วรัญญา แซ่ลิ่ม<br />

ภาพ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

วีระพล สิงห์น้อย<br />

ณัฏฐชัย ชัยเลิศ<br />

อภินัยน์ ทรรศโนภาส<br />

รวิชญ์ วงศ์วรกุล<br />

เจ้าของอาคาร<br />

ออกแบบ<br />

วิลภา กาศวิเศษ<br />

ณัฏฐชัย ชัยเลิศ<br />

อติรัตน์ โรจนเสถียร<br />

ธนภัทร ธนะโสธร<br />

บริษัท บานาน่า สตูดิโอ จำกัด<br />

ISBN ๙๗๘-๖๑๖-๗๓๘๔-๒๖-๙<br />

พิมพ์ครั้งที่ ๑ ๒๕๖๑<br />

พิมพ์ที่: บริษัท พลัสเพรส จำกัด โทรศัพท์ ๐๒ ๖๙๒ ๐๖๒๑ ๓<br />

จัดพิมพ์โดย<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

๒๔๘/๑ ซอยศูนย์วิจัย ๔ (ซอย ๑๗) ถนนพระรามที่ ๙ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ ๑๐๓๑๐<br />

โทรศัพท์ : ๐๒ ๓๑๙ ๖๕๕๕ โทรสาร : ๐๒ ๓๑๙ ๖๔๑๙<br />

เว็บไซต์ : www.asa.or.th<br />

อีเมล์ : asaisaoffice@gmail.com<br />

สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. ๒๕๖๑<br />

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ การคัดลอกส่วนใดๆ ในหนังสือ เพื่อเผยแพร่ไม่ว่าในรูปแบบใด ต้องได้รับอนุญาต<br />

เป็นลายลักษณ์อักษรจากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

bwg_credit_v2_20180614.indd 340<br />

6/15/2561 BE 2:10 PM

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!