21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556 121<br />

ฝายนิติบัญญัติ/รัฐสภา : รัฐสภาของบราซิล เรียกวา สภาคองเกรส (Congress) เปนแบบ<br />

ระบบ 2 สภา วุฒิสภา มีสมาชิก 81 คน ซึ่งมาจากตัวแทนของมลรัฐและเขตนครหลวง<br />

วาระในตําแหนง 8 ปี<br />

การเลือกตั้งวุฒิสมาชิกจํานวน<br />

2 ใน 3 ครั้งลาสุดมีขึ้นเมื่อ<br />

3 ต.ค.2553 และครั้งตอไปจะจัดขึ้นใน<br />

ต.ค.2557<br />

สภาผูแทนราษฎรมีสมาชิก<br />

513 คน ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยตรง<br />

วาระในตําแหนง 4 ป การเลือกตั้ง<br />

ส.ส.<br />

ครั้งลาสุดมีขึ้นเมื่อ<br />

3 ต.ค.2553 และครั้งตอไปจะจัดขึ้นใน<br />

ต.ค.2557<br />

ฝายตุลาการ : ศาลสูงสุดแหงชาติ (Supreme Federal Tribunal - STF) เปนศาลกลาง<br />

มีขอบเขตอํานาจทั่วประเทศ<br />

ประกอบดวยผูพิพากษา<br />

11 คน ซึ่งแตงตั้งโดยประธานาธิบดีและรับรองโดย<br />

วุฒิสภา มีวาระในตําแหนงตลอดชีพ นอกจากนี้<br />

มี Superior Court of Justice และ Supreme Electoral<br />

Court และ National Justice Council<br />

พรรคการเมือง : บราซิลไดรับเอกราชจากโปรตุเกสเมื่อป<br />

2365 แตยังคงปกครองดวยระบบกษัตริย<br />

ภายใตรัฐธรรมนูญระยะหนึ่ง<br />

จนเมื่อถึงป<br />

2434 จึงสถาปนาระบบสหพันธสาธารณรัฐ (federal republic) ทั้งนี้<br />

บราซิลอยู ภายใตการปกครองของฝายทหารในชวงตั้งแตป<br />

2507 ถึงป 2528 จนมีการเลือกตั้งประธานาธิบดี<br />

ที่เปนพลเรือนตามระบอบประชาธิปไตยในป 2528 ปจจุบันบราซิลมีพรรคการเมืองกวา 20 พรรค และมี<br />

รัฐบาลผสมหลายพรรค นําโดยพรรคแรงงาน และพรรครวมรัฐบาลอีก 9 พรรค มีที่นั่งในสภารวม<br />

311 ที่นั่ง;<br />

พรรคฝายคานมี 6 พรรค มีที่นั่งในสภา<br />

136 ที่นั่ง<br />

สวนที่เหลือ<br />

66 ที่นั่งเปนพรรคการเมืองอิสระ<br />

พรรคการเมือง สําคัญ 4 พรรคในรัฐสภาของบราซิลที่มีบทบาทสําคัญในการเคลื<br />

่อนไหวดาน<br />

การเมืองนับตั้งแตยังไมมีการเลือกตั้ง<br />

Workers’ Party (PT) Brazilian Democratic Movement Party<br />

(PMDB) Brazilian Social Democracy Party (PSDB) และ Democrats (DEM) โดยพรรคการเมืองดังกลาว<br />

รวมกันควบคุมที่นั่งสวนใหญทั้งในวุฒิสภาและสภาผู<br />

แทนราษฎร รวมทั้งมีอิทธิพลตอลักษณะทางการเมืองของ<br />

บราซิลนับตั้งแตการกลับมาเปนประชาธิปไตยในป<br />

2528 ขณะที่พรรคการเมืองเล็กๆ<br />

มักจะเขาเปนพันธมิตร<br />

กับพรรคการเมืองขนาดใหญ 1 ใน 4 พรรคขางตน<br />

กลุ มกดดันทางการเมืองและผู นํา Landless Workers’ Movement /MST กลุ มอื่นๆ<br />

สหพันธ<br />

และสหภาพแรงงาน สมาคมชาวนาขนาดใหญ กลุ มทางศาสนา ซึ่งรวมทั้ง<br />

Evangelical Christian churches<br />

และ Catholic Church<br />

เศรษฐกิจ โดดเดนดวยภาคการเกษตร - ภาคเหมืองแร - ภาคอุตสาหกรรมการผลิต – และภาคบริการ<br />

ที่มีขนาดใหญและไดรับการพัฒนาอยางดี<br />

เศรษฐกิจบราซิลมีขนาดใหญที่สุดในอเมริกาใต<br />

เศรษฐกิจที่มี<br />

เสถียรภาพมากขึ้นทําใหบราซิลเปลี่ยนบทบาทเปนผู<br />

ใหกู เงินแก IMF เมื่อปลายป<br />

2552 และขนาดเศรษฐกิจ<br />

ยังเติบโตสูงที่สุดลําดับ<br />

7 ของโลก (ขึ้นแซงหนาอังกฤษ)<br />

แมจะมีการเติบโตชาลงเมื่อป<br />

2554 ผลผลิตการเกษตร<br />

กาแฟ ถั่วเหลือง ขาวสาลี ขาว ขาวโพด ออย โกโก citrus และเนื้อวัว<br />

อุตสาหกรรมหลัก สิ่งทอ<br />

รองเทา<br />

เคมีภัณฑ ซีเมนต ไม (lumber) แรเหล็ก ดีบุก เหล็กกลา เครื่องบิน<br />

ชิ้นสวนและยานยนต<br />

เครื่องจักรกล<br />

และสวนประกอบอื่นๆ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติ bauxite ทองคํา แรเหล็ก แมงกานีส นิกเกิล ฟอสเฟต แพลตตินัม<br />

ดีบุก ธาตุ rare earth ยูเรเนียม ปโตรเลียม ไฟฟาพลังนํ้า<br />

และไม นโยบายเศรษฐกิจ กาวสูการเปนประเทศ<br />

ที่พัฒนาแลว<br />

โดยยึดหลักพลังงานสะอาด ไมทําลายสิ่งแวดลอม<br />

และใหความสําคัญกับการพัฒนาเทคโนโลยี<br />

การลงทุนดานการวิจัยและนวัตกรรมซึ่งจะนําไปสูการเพิ่มผลผลิต<br />

รักษาเสถียรภาพดานเศรษฐกิจ สงเสริม<br />

นโยบายการคาเสรี ตอตานระบบ Protectionism สนับสนุนการปฏิรูประบบการเงินโลกเพื่อปองกันปญหา<br />

เงินทุนไหลเวียนและความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน<br />

ตอตานการแขงขันที่ไมเปนธรรม/การไหลเขาของเงินทุน<br />

ตางประเทศ เพื่อเก็งกําไร<br />

ปฏิรูประบบภาษีใหชัดเจน ไมซํ้าซอน<br />

และเปนธรรม รวมทั้งแกไขปญหาเงินเฟอ<br />

สงเสริมโครงการลงทุนและระบบโครงสรางพื้นฐานเพื่อรองรับการเปนเจาภาพฟุตบอลโลกในป<br />

2557 และ<br />

กีฬาโอลิมปกในป 2559 และเพื่อประโยชนตอชุมชนในทองถิ่นในระยะยาว<br />

พัฒนาโครงการขุดเจาะนํ้ามัน<br />

ซึ่งถือเปนอนาคตของชาติดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อความกาวหนาทางสังคมโดยคํานึงถึงดุลยภาพดาน<br />

สิ่งแวดลอม<br />

ลดรายจายภาครัฐ โดยการลดงบประมาณของทุกกระทรวงลงตามสัดสวน ยกเวนนโยบายดานสังคม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!