21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

582<br />

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556<br />

ดินแดนเหลานี้เปนราชอาณาจักรซาอุดีอาระเบีย<br />

ตามชื่อราชวงศอัลซะอูด<br />

เมื่อ<br />

23 ก.ย.2475 โดยมีริยาด<br />

เปนเมืองหลวงมาจนถึงปจจุบัน<br />

วันชาติ 23 ก.ย. (วันประกาศการรวมราชอาณาจักรเมื่อ<br />

23 ก.ย.2475)<br />

การเมือง ปกครองดวยระบอบราชาธิปไตย (Monarchy) ซึ่งมีสมเด็จพระราชาธิบดี<br />

(Malik) ทรงเปน<br />

พระประมุขของรัฐ อีกทั้งทรงเปนหัวหนารัฐบาลดวยการทรงดํารงตําแหนง<br />

นรม. อยางไรก็ดี พระราชอํานาจ<br />

ของสมเด็จพระราชาธิบดียังคงถูกจํากัดอยู ภายใตบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม (ชารีอะฮ) และราชประเพณี<br />

ของราชวงศอัลซะอูดที่จะตองไดรับฉันทานุมัติจากสมาชิกพระราชวงศและผูทรงคุณวุฒิทางศาสนา<br />

(อุลามาอ) ขณะเดียวกันก็มีความพยายามยกสถานะทางศาสนาของสถาบันกษัตริยซาอุดีอาระเบียใหโดดเดน<br />

ในโลกมุสลิมมากขึ้น<br />

โดยในรัชสมัยสมเด็จพระราชาธิบดีฟะฮัด บิน อับดุลอะซีซ ทรงประกาศพระองคเปน<br />

“ผู พิทักษมัสยิดศักดิ์สิทธิ์ทั้งสอง”<br />

(The Custodian of the Two Holy Mosques) อันหมายถึงมัสยิดหะรอม<br />

ที่นครมักกะฮ<br />

และมัสยิดนะบะวียที่นครมะดีนะฮ<br />

ศาสนสถานสําคัญที่สุดของศาสนาอิสลาม<br />

นอกจากนี้<br />

ยังทรงโปรดใหใชตําแหนงดังกลาวแทนคําหนาพระนามวา “His Majesty” ทั้งนี้<br />

ธรรมเนียมในการเรียกขาน<br />

ดังกลาวยังคงไดรับการปฏิบัติสืบมาจนถึงรัชสมัยปจจุบันของสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮ บิน อับดุลอะซีซ<br />

ที่เสด็จขึ้นครองราชยเมื่อ<br />

1 ส.ค.2548<br />

ฝายบริหาร : สมเด็จพระราชาธิบดีทรงขึ้นครองราชสมบัติและดํารงตําแหนง<br />

นรม.ดวยการ<br />

สืบสันตติวงศโดยการรับรองของอุลามาอ และทรงแตงตั้ง<br />

ครม. (Council of Ministers) ที่มีวาระดํารงตําแหนง<br />

4 ป สวนใหญเปนสมาชิกพระราชวงศ มีหนาที่ในการกําหนดนโยบายและกํากับการทํางานของภาคราชการ<br />

อยางไรก็ดี มีความพยายามสรางระบบการสืบราชสมบัติใหรัดกุมเปนระบบมากขึ้น<br />

เพื่อปองกันมิใหเกิดการ<br />

แยงชิงราชสมบัติในอนาคต โดยสมเด็จพระราชาธิบดีอับดุลลอฮทรงออกพระราชกฤษฎีกาเมื่อ<br />

ต.ค.2549<br />

จัดตั้งสภาบัยอะฮ<br />

(Allegiance Commission) ซึ่งเปนกลุ<br />

มสมาชิกพระราชวงศระดับสูงที่จะมีบทบาทในการ<br />

คัดเลือกบุคคลที่จะขึ้นครองราชยเปนสมเด็จพระราชาธิบดีและมกุฎราชกุมารในอนาคต<br />

สําหรับการประชุม<br />

สภาบัยอะฮครั้งลาสุดมีขึ้นเมื่อ<br />

18 มิ.ย.2555 โดยมีมติใหสถาปนาเจาชายซัลมาน บิน อับดุลอะซีซ<br />

เปนมกุฎราชกุมารองคใหม แทนมกุฎราชกุมารนะอีฟ บิน อับดุลอะซีซ ซึ ่งสิ้นพระชนม<br />

เมื่อ<br />

16 มิ.ย.2555<br />

ฝายนิติบัญญัติ : มีสภาที่ปรึกษา<br />

(Consultative Council หรือ Majlis al-Shura) ซึ่งประกอบดวย<br />

สมาชิก 150 คน ทั้งหมดมาจากการแตงตั้งโดยสมเด็จพระราชาธิบดี<br />

วาระดํารงตําแหนง 4 ป แตมีอํานาจ<br />

ในการออกกฎหมายอยางจํากัด เนื่องจากกฎหมายสวนใหญมักประกาศใชดวยการออกมติ<br />

ครม.ที่ไดรับการ<br />

รับรองโดยสมเด็จพระราชาธิบดี นอกจากนี้<br />

ยังไมมีระบบพรรคการเมืองในซาอุดีอาระเบีย แตมีการรวมกลุ ม<br />

ผลประโยชนในรูปแบบอื่นๆเพื่อเรียกรองทางการเมือง<br />

ไดแก กลุ มศาสนา กลุ มธุรกิจนํ้ามัน<br />

และกลุ มรณรงค<br />

เพื่อสิทธิสตรี<br />

ฝายตุลาการ : ใชระบบศาลศาสนาตามกฎหมายชารีอะฮของศาสนาอิสลามทั้งคดีแพงและ<br />

อาญา โดยยึดหลักนิติศาสตรอิสลาม (ฟกฮ) ของสํานักคิดฮัมบาลี ผูพิพากษามาจากการแตงตั้งโดยสมเด็จ<br />

พระราชาธิบดีตามคําแนะนําของสภายุติธรรมสูงสุด (Supreme Council of Justice) ซึ่งประกอบดวย<br />

คณะผู พิพากษาและผู เชี่ยวชาญดานกฎหมาย<br />

12 คน ทั้งนี้<br />

ความเปนอิสระของฝายตุลาการไดรับการคุ มครองตาม<br />

กฎหมาย ขณะที่สมเด็จพระราชาธิบดีทรงมีพระราชอํานาจเด็ดขาดในการพระราชทานอภัยโทษแกผู<br />

กระทําผิด<br />

เศรษฐกิจ การคนพบแหลงนํ้ามันในซาอุดีอาระเบียเมื่อ<br />

3 มี.ค.2481 กลายเปนแหลงที่มาแหงความ<br />

มั่งคั่งของประเทศ<br />

อีกทั้งเปนเครื่องมือที่ทําใหซาอุดีอาระเบียมีอํานาจตอรองในเวทีระหวางประเทศมากขึ้น<br />

เฉพาะอยางยิ่งหลังจากมีการรวมตัวของกลุมประเทศผูผลิตนํ้ามันเพื่อผูกขาดการสงออกนํ้ามัน<br />

ดวยการ<br />

จัดตั้งกลุมประเทศผูสงออกนํ้ามัน<br />

(OPEC) ขึ้นเมื่อป<br />

2503 ปจจุบัน ซาอุดีอาระเบียเปนประเทศที่มีขนาด<br />

เศรษฐกิจใหญที่สุดในสันนิบาตอาหรับ<br />

ขณะที่อุตสาหกรรมนํ้ามันมีสัดสวนมากถึง<br />

45% ของผลิตภัณฑ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!