21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

68<br />

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556<br />

สนับสนุนจากอารเมเนีย<br />

ความขัดแยงเริ่มเกิดขึ้นพรอมๆ<br />

กับนโยบายปฏิรูป “Perestroika” ของสหภาพโซเวียตเมื่อ<br />

ก.พ.2531 เมื่อสภาทองถิ่นของเมือง<br />

Stepanakert เมืองหลวงของนากอรโน - คาราบัค มีมติใหนากอรโน -<br />

คาราบัคประกาศเอกราชจากอารเซอรไบจานเพื่อไปรวมตัวกับอารเมเนีย<br />

รัฐบาลอาเซอรไบจานจึง<br />

สงกองกําลังเขาไปควบคุมสถานการณในดินแดนดังกลาวไว เหตุการณทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยมาจนอาเซอรไบจาน<br />

สามารถเขายึดพื้นที่เกือบทั้งหมดของคาราบัคและเมืองหลวง<br />

Stepanakert ระหวางป 2534 - 2535ตอมา<br />

รัฐบาลอารเมเนียไดสงกําลังเขารุกรานอาเซอรไบจานเพื่อชวยเหลือกองกําลังคาราบัคระหวางป<br />

2536 - 2537<br />

จนในที่สุดกองกําลังคาราบัคสามารถยึดครองดินแดนสวนหนึ่งเทากับประมาณ<br />

20% ของสาธารณรัฐอาเซ<br />

อรไบจาน และขับไลชาวอาเซอรีประมาณ 600,000 คน ออกจากพื้นที่<br />

สงครามตอสู แยงดินแดนดังกลาวมีผล<br />

ทําใหมีผูเสียชีวิตจํานวนกวา<br />

25,000 คน และมีผูอพยพจากภัยสงครามอีกเปนจํานวนมาก<br />

ในที่สุดสงคราม<br />

ระหวางเชื้อชาติที่ดําเนินมา<br />

6 ป ไดยุติลงชั่วคราวเมื่อ<br />

พ.ค.2537 เมื่ออาเซอรไบจานกับอารเมเนียไดรวมกัน<br />

จัดทําขอตกลงหยุดยิงโดยความชวยเหลือของรัสเซีย อยางไรก็ตาม จนถึงปจจุบัน ทั้งสองฝายก็ยังมิไดปฏิบัติ<br />

ตามขอตกลงดังกลาวอยางแทจริง ยังคงมีการสูรบระหวางกันเปนระยะๆ ลาสุดในการพบปะกันระหวาง<br />

ประธานาธิบดีอาลีเยฟของอารเซอรไบจานกับประธานาธิบดี Robert Kocharyan แหงอารเมเนีย ระหวาง<br />

การประชุมสุดยอดผูนํากลุมเครือรัฐเอกราชที่กรุงมอสโกเมื่อ<br />

29 เม.ย.2541 ผูนําทั้งสองไดรวมกันประกาศ<br />

เจตนารมณที่จะยุติความขัดแยงเหนือดินแดนนากอรโน<br />

- คาราบัค โดยทั้งสองฝายเรียกรองใหแตละฝาย<br />

ปฏิบัติตามขอตกลงยุติการยิงที่ทําขึ้นในป<br />

2537 และใหดําเนินกระบวนการเพื่อสันติภาพภายใตกรอบของ<br />

กลุม<br />

Minsk ซึ่งเปนกลุมที่ตั้งขึ้นเฉพาะกิจขององคการความมั่นคงและความรวมมือแหงยุโรป<br />

(OSCE) ภาย<br />

ใตการสนับสนุนของสหรัฐฯ ฝรั่งเศส<br />

และรัสเซีย<br />

จากความลมเหลวในการแกไขปญหาความขัดแยง ทําใหเกิดผลกระทบอยางรุนแรงภายใน<br />

ภูมิภาค คือทําใหชาวอาเซอรีกวา 10% ของประชากรของอาเซอรไบจานตองกลายเปนผูอพยพ<br />

อาศัยอยู<br />

ตามคายอพยพตางๆ และกอใหเกิดปญหาสังคมขึ้นภายในประเทศอีกดวย<br />

นอกจากนั้นการที่อาเซอรไบจาน<br />

กับตุรกีดําเนินการปดกั้นทางเศรษฐกิจตอนากอรโน<br />

- คาราบัค และอารเมเนีย โดยการปดชายแดนและเสน<br />

ทางรถไฟสายหลัก 3 สาย มีผลทําใหเศรษฐกิจของอารเมเนียตกตํ่าลงอยางมาก<br />

และยังสั่นคลอนความเชื่อ<br />

มั่นของนักลงทุนตางชาติที่เขามาลงทุนในอุตสาหกรรมนํ้ามันที่ตางวิตกวาเสนทางทอขนสงนํ้ามันจากทะเล<br />

สาปแคสเปยนอาจถูกผลกระทบจากการสูรบที่อาจจะปะทุขึ้นอีก<br />

นับตั้งแตเกิดความขัดแยงดังกลาวขึ้น<br />

สหประชาชาติพยายามจะระงับกรณีพิพาทนี้<br />

โดยใหองคการ OSCE เขามามีบทบาทในการจัดตั้งกระบวนการ<br />

เจรจาสันติภาพ ซึ่งผู<br />

นําอารเมเนียไดปฏิเสธแผนของ OSCE ที่ขอใหอารเมเนียถอนกองกําลังออกจากบริเวณ<br />

นอกเขตนากอรโน-คาราบัค ซึ่งเปนพื้นที่ในกรรมสิทธิ์ของอาเซอรจาน<br />

ในขณะเดียวกัน องคการ OSCE ได<br />

เรียกรองใหนากอรโน - คาราบัคไดรับอํานาจปกครองตนเองอยางเต็มที่ภายใตอาณาเขตของอาเซอรไบจาน<br />

ซึ่งประธานาธิบดี<br />

Kocharyan ของอารเมเนีย ไมยอมรับขอตกลงใดๆ ที่จะทําใหดินแดนนากอรโน<br />

- คาราบัค<br />

ต้องกลับไปอยู ภายใตการปกครองของอารเซอรไบจานอีกครั้ง<br />

ตลอดเวลา 10 ปของสงครามระหวางเชื้อชาติ<br />

อาเซอรไบจานตกอยูในฐานะเสียเปรียบและกลาวหาวารัสเซียเปนผูใหการสนับสนุนทางการทหารแก่<br />

อารเมเนีย ซึ่งคอยชวยเหลือชาวอารเมเนียในดินแดนนากอรโน<br />

- คาราบัค และการที่อาเซอรไบจานปดกั้นทาง<br />

เศรษฐกิจตออารเมเนียและนากอรโน - คาราบัค ทําใหสหรัฐฯ ตอบโตดวยการจํากัดการใหความชวยเหลือ<br />

แกอาเซอรไบจานตามมาตรา 907 ของ Freedom Support Act เมื่อ<br />

ส.ค.2545 ประธานาธิบดีอาลีเยฟ<br />

ไดพบกับประธานาธิบดี Kocharyan ของอารเมเนีย เพื่อหารือแนวทางการแกไขปญหานากอรโน<br />

- คาราบัค<br />

โดยสันติ แตไมปรากฏผลคืบหนาแตอยางใด<br />

อนึ่ง<br />

นับตั้งแตประกาศเอกราชอยางเปนทางการจากอาเซอรไบจานในป<br />

2534 นากอรโน -<br />

คาราบัคไดจัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีมาแลวทั้งสิ้น<br />

4 ครั้ง<br />

สําหรับการเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งลาสุด<br />

จัดขึ้นเมื่อ<br />

17 ก.ค.2550 นาย Bako Sahakyan ไดรับเลือกตั้งเปนประธานาธิบดี

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!