21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

820<br />

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556<br />

IAEA ไทยมีพันธกรณีในการปฏิบัติตามขอมติตางๆ อนุสัญญา ระเบียบ และมาตรการตางๆ ที่ออกโดย<br />

IAEA<br />

ไทยเคยดํารงตําแหนงสมาชิก BoG ในนามกลุมเอเชีย<br />

ตอ.ต. และแปซิฟก วาระ 2 ป ระหวาง<br />

ก.ย.2549 – ก.ย.2551<br />

ไทยสนับสนุนนายยูกิยะ อามาโนะ ใหดํารงตําแหนง ผอ.IAEA คนปจจุบัน<br />

ขอตกลงระหวางประเทศสําคัญระหวางไทยกับ IAEA<br />

1) ความตกลงพิทักษความปลอดภัยวัสดุนิวเคลียร (Agreement between the Government<br />

of the Kingdom of Thailand and the IAEA for the Application of Safeguards in Connection<br />

with the Treaty on Non-Proliferation of Nuclear Weapons) ลงนามและใหสัตยาบันเมื ่อ 16 พ.ค.2517<br />

2) พิธีสารเพิ่มเติม<br />

(Additional Protocol) ของความตกลงพิทักษความปลอดภัยวัสดุ<br />

นิวเคลียร (Safeguards Agreement) ไทยลงนามโดยผานความเห็นชอบของ ครม. เมื่อ<br />

22 ก.ย.2548 แต<br />

ยังไมใหสัตยาบัน<br />

3) อนุสัญญาวาดวยการแจงเหตุทางนิวเคลียรโดยเร็ว (Convention on Early Notifi cation<br />

of a Nuclear Accident) ลงนามเมื่อ<br />

25 ก.ย.2530 ใหสัตยาบันเมื่อ<br />

21 มี.ค.2532<br />

4) อนุสัญญาวาดวยการใหความชวยเหลือในกรณีเกิดอุบัติเหตุทางนิวเคลียรหรือเหตุฉุกเฉิน<br />

ทางรังสี (Convention on Assistance in the case of Nuclear or Radiological Emergency) ลงนาม<br />

เมื่อ<br />

25 ก.ย.2530 และใหสัตยาบันเมื่อ<br />

21 มี.ค.2532<br />

ปจจุบัน ไทยเนนการสงเสริมความรวมมือกับ IAEA เพื่อพัฒนาขีดความสามารถและสราง<br />

ความเขาใจเกี่ยวกับนโยบายกอสรางโรงงานไฟฟานิวเคลียรในประเทศไทย<br />

เหตุการณสําคัญที่นาติดตาม<br />

การตรวจสอบโครงการนิวเคลียรของอิหรานวา มีวัตถุประสงคที่แทจริงในเชิงสันติหรือ<br />

ทางทหาร รวมทั้งความคืบหนาของโครงการพัฒนานิวเคลียรของอิหรานถือเปนภารกิจที่<br />

IAEA จะพยายาม<br />

ดําเนินการตอไป โดยจะมีการจัดทํารายงานความคืบหนาของการตรวจสอบเสนอตอที่ประชุมคณะกรรมการ<br />

ผูวาการ<br />

IAEA ตามเวลาที่กําหนด<br />

IAEA ใหคําปรึกษาและสงคณะผูเชี่ยวชาญดานปรมาณูจํานวน<br />

6 นายรวมกับทีมผูเชี่ยวชาญ<br />

นิวเคลียรจากประเทศตางๆ เดินทางไปญี่ปุนเมื่อ<br />

22 พ.ค.2554 เพื่อตรวจสอบขอเท็จจริงและประเมินความ<br />

ปลอดภัยกรณีการรั่วไหลของสารกัมมันตรังสีที่โรงไฟฟานิวเคลียรฟูกุชิมะ ไดอิจิ เปนเวลา 10 วัน ซึ่งคณะ<br />

ผูเชี่ยวชาญประเมินสถานการณเบื้องตนของอุบัติเหตุที่เกิดจากแผนดินไหวและสึนามิเมื่อ 11 มี.ค.2554<br />

และเสนอรายงานตอที ่ประชุมรัฐมนตรีดานความปลอดภัยนิวเคลียรซึ ่งจัดโดย IAEA ระหวาง 20 - 24 มิ.ย.2554<br />

ที่เวียนนา<br />

ออสเตรีย<br />

IAEA จัดประชุมสมาชิก 151 ประเทศ เพื่อกําหนดมาตรการดําเนินการดานพลังงานนิวเคลียร<br />

เมื่อ<br />

24 มิ.ย.2554 ที่เวียนนา<br />

ออสเตรีย ซึ่งประเทศตางๆ<br />

เสนอรายงานมาตรการความปลอดภัยดานกิจการ<br />

นิวเคลียรในประเทศของตนใหสมาชิกรวมกันพิจารณา ขณะที่หลายประเทศยืนยันที่จะดําเนินการตาม<br />

โครงการพัฒนาโรงไฟฟาพลังงานนิวเคลียรตอไป เนื ่องจากเห็นวาเปนการลงทุนที ่คุ มคา สามารถตอบสนองความ<br />

ตองการใชไฟฟาที ่เพิ ่มขึ ้นได ขณะเดียวกัน ความรวมมือเพื ่อเสริมสรางมาตรการปองกันความปลอดภัย รวมทั ้ง<br />

การใหความชวยเหลือดานการพัฒนาเทคโนโลยีและดานอื่นๆ ก็เปนหนทางที่สมาชิกจะรวมกันกําหนด<br />

มาตรการเพื ่อสรางความปลอดภัยใหดียิ ่งขึ ้น เนื ่องจากพลังงานนิวเคลียรยังเปนพลังงานในอนาคตที ่มีความจําเปน<br />

รายงานของ IAEA เมื่อ<br />

31 ส.ค.2555 ที่เปดเผยถึงความพยายามพัฒนาอาวุธนิวเคลียรของ<br />

อิหรานมีความชัดเจนมากขึ้น<br />

แตสหประชาชาติก็ยังไมประสบความสําเร็จที่จะโนมนาวใหอิหรานยอมให<br />

จนท.IAEA เขาตรวจสอบพื้นที่ตองสงสัยบริเวณฐานทัพทหารในเมืองพารชินได

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!