21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

292<br />

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556<br />

วันชาติ 1 เม.ย. (วันสถาปนาสาธารณรัฐอิสลามเมื่อ<br />

1 เม.ย.2522)<br />

การเมือง ปกครองแบบสาธารณรัฐอิสลาม (Islamic Republic) มีผู นําสูงสุด (Rahbar) เปนประมุขของรัฐ<br />

ทั้งฝายศาสนจักรและอาณาจักร ผูนําสูงสุดคนปจจุบันคือ อายะตุลลอฮ ซัยยิด อะลี ฮอเซนี คามาเนอี ที่<br />

ดํารงตําแหนงตั้งแต<br />

มิ.ย.2532 สวนประธานาธิบดี (Ra’is-e Jomhoor) เปนผูนํารัฐบาล<br />

โดยประธานาธิบดี<br />

มะฮมูด อะหมะดีเนญาด ไดรับชัยชนะในการเลือกตั้งครั้งลาสุดเมื่อ<br />

12 มิ.ย.2552 ใหดํารงตําแหนงตออีก<br />

หนึ่งสมัย<br />

ดวยคะแนนเสียงกวา 24 ลานคะแนน (62.63% ของผูไปใชสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง)<br />

รัฐธรรมนูญอิหรานแบงอํานาจสูงสุด ออกเปน 3 ฝาย ไดแก<br />

ฝายบริหาร : มีการจัดสรรอํานาจอยางซับซอน ผูนําสูงสุดเปนประมุขของรัฐ ที่มาจากการ<br />

คัดเลือกโดยสภาผู ชํานัญ วาระการดํารงตําแหนงตลอดชีพ มีอํานาจสูงสุดในการตัดสินใจเรื ่องสําคัญทุกเรื ่อง รวมทั้ง<br />

การแตงตั้งบุคคลสําคัญหลายตําแหนง<br />

ขณะที่ประธานาธิบดีเปนผูนํารัฐบาล<br />

ที่มาจากการเลือกตั้งโดยตรง<br />

ของประชาชน วาระ 4 ป ดํารงตําแหนงไดไมเกิน 2 สมัยติดตอกัน และดํารงตําแหนงไดสูงสุดไมเกิน 3 สมัย<br />

มีอํานาจในการแตงตั้ง<br />

ครม.เพื่อควบคุมการบริหารราชการของกระทรวง<br />

ทบวง กรมตางๆ โดยตองไดรับ<br />

ความเห็นชอบจากรัฐสภา อํานาจในการถอดถอนประธานาธิบดีเปนของผูนําสูงสุด<br />

ฝายนิติบัญญัติ : รัฐสภาแบบสภาเดียวคือ สภาที่ปรึกษาอิสลาม<br />

(Majles-e-Shura-ye-Eslami<br />

เรียกสั้นๆวา<br />

Majles) มีสมาชิก 290 คน ที่ไดรับการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน<br />

และไดรับการรับรอง<br />

จากสภาพิทักษรัฐธรรมนูญ วาระ 4 ป หนาที่สําคัญคือ<br />

ออกกฎหมาย รับรองรายชื่อ<br />

ครม.ที่ประธานาธิบดี<br />

แตงตั้ง<br />

ใหสัตยาบันสนธิสัญญาระหวางประเทศ อนุมัติงบประมาณแผนดิน และตรวจสอบการทํางานของ<br />

ฝายบริหาร<br />

ฝายตุลาการ : มีสภาตุลาการสูงสุด (High Council of the Judiciary) ซึ่งมีสมาชิก<br />

4 คน<br />

ที่มาจากการแตงตั้งโดยผูนําสูงสุด<br />

มีหนาที่กํากับการบังคับใชกฎหมาย<br />

กําหนดนโยบายดานกฎหมาย และ<br />

มีอํานาจในการแตงตั ้งประธานศาลสูงสุดและอัยการสูงสุด ระบบศาลของอิหรานมีทั ้งศาลที ่พิจารณาคดีแพงและ<br />

คดีอาญาทั่วไป<br />

(public courts) กับศาลปฏิวัติอิสลาม (revolutionary courts) ที่พิจารณาคดีอาชญากรรม<br />

ที่เปนภัยตอความมั่นคงแหงชาติและอุดมการณปฏิวัติอิสลาม<br />

คําตัดสินของศาลปฏิวัติอิสลามถือเปนที่สิ้นสุด<br />

ไมสามารถอุทธรณได นอกจากนี้<br />

ยังมีศาลพิเศษสําหรับนักการศาสนา (Special Clerical Court) ซึ่งเปน<br />

อิสระจากระบบศาลขางตน มีหนาที่พิจารณาคดีอาญาที่นักการศาสนาตกเปนผูตองหา โดยขึ้นตรง<br />

ตอผูนําสูงสุด<br />

คําตัดสินของศาลนี้ถือเปนที่สิ้นสุด<br />

ไมสามารถอุทธรณได<br />

นอกจากนี้<br />

ยังมีองคกรสําคัญอื่นๆที่ตั้งขึ้นตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญ<br />

ไดแก<br />

สภาผูชํานัญ<br />

(Assembly of Experts) สมาชิก 86 คน เปนผูทรงคุณวุฒิทางศาสนาที่มาจาก<br />

การเลือกตั้ง<br />

วาระ 8 ป จัดประชุมปละ1 ครั้งๆ<br />

ละ 1 สัปดาห มีหนาที่ตรวจสอบการทํางานของผูนําสูงสุดให<br />

เปนไปตามกรอบของกฎหมาย อีกทั้งมีอํานาจในการแตงตั้งและถอดถอนผูนําสูงสุด<br />

แตไมมีอํานาจคัดคาน<br />

การตัดสินใจของผูนําสูงสุด<br />

สภาพิทักษรัฐธรรมนูญ (Guardian Council of the Constitution) สมาชิก 12 คน โดย<br />

เปนผูที่ไดรับแตงตั้งจากผูนําสูงสุด<br />

6 คน และอีก 6 คนเปนผูพิพากษาที่ประธานสภาตุลาการสูงสุดเสนอ<br />

ชื่อใหรัฐสภาพิจารณาคัดเลือก<br />

วาระ 6 ป มีหนาที่ตีความรัฐธรรมนูญ<br />

รวมทั้งพิจารณาคุณสมบัติผูลงสมัคร<br />

รับเลือกตั้งทุกระดับทั้งกอนและหลังการเลือกตั้ง<br />

เพื่อใหแนใจไดวาบุคคลเหลานี้มีความภักดีตออุดมการณ<br />

ปฏิวัติอิสลาม นอกจากนี้<br />

ยังมีอํานาจในการใชสิทธิยับยั้งการออกกฎหมายบางฉบับใหรัฐสภา<br />

นํากลับไป<br />

แกไขใหมได หากเห็นวาขัดกับรัฐธรรมนูญและหลักชารีอะฮ<br />

สภาผู ชี ้ขาด (Expediency Discernment Council) เปนองคกรที ่มีอํานาจมากที ่สุดองคกรหนึ ่ง<br />

สมาชิกทั้งหมดมาจากการแตงตั้งโดยผูนําสูงสุด วาระ 5 ป สภาฯชุดปจจุบันมีสมาชิก 28 คน มีหนาที่ให<br />

คําแนะนําดานนโยบายแกผูนําสูงสุดและไกลเกลี่ยในกรณีที่สภาพิทักษรัฐธรรมนูญและรัฐสภามีความเห็น<br />

ไมตรงกันเกี่ยวกับขอกฎหมาย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!