21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

เมืองหลวง ทิมพู<br />

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556 97<br />

ราชอาณาจักรภูฏาน<br />

(Kingdom of Bhutan)<br />

ที่ตั้ง<br />

ทวีปเอเชียใต อยู ระหวางจีนและอินเดีย มีเนื้อที่<br />

38,394 ตร.กม. มีแนวชายแดนรวมทั้งสิ้น<br />

1,075 กม.<br />

อาณาเขต ทิศเหนือ ติดกับจีน แนวชายแดนยาว 470 กม.<br />

ทิศ ตอ. ทิศ ตต. และทิศใต ติดกับอินเดีย แนวพรมแดนยาว 605 กม.<br />

ภูมิประเทศ ภูฏานไมมีทางออกสูทะเล (land – locked country) ประกอบดวยภูเขาสูงสลับซับซอน<br />

มีที่ราบและทุงหญาระหวางหุบเขา<br />

พื้นที่ตํ่าสุดสูงกวาระดับนํ้าทะเล<br />

970 ฟุต และพื้นที่สูงสุดอยูสูง<br />

กวาระดับนํ้าทะเล<br />

17,553 ฟุต มีแมนํ้าหลายสายที่ไหลลงมาจากยอดเขาหิมาลัยตัดผานประเทศจากเหนือลง<br />

ใต นําความอุดมสมบูรณมาสู ภาคกลางและภาคใต จึงสงผลใหชาวภูฏานสวนใหญอาศัยอยู บริเวณหุบเขาตอน<br />

กลางของประเทศ (ระดับความสูง 1,100 ถึง 2,600 ม.) และบริเวณตอนใต (ระดับความสูง 300 ถึง 1,600<br />

ม.) โดยมีเทือกเขาสูงชันจากเหนือไปใตที่ลดหลั่นลงมาจากเทือกเขาหิมาลัยเปนกําแพงกั้นระหวางหุบเขาตอน<br />

กลางตางๆ ที่ตัดขาดชุมชนออกจากกัน<br />

ทิ้งใหหมู<br />

บานสวนใหญอยู อยางโดดเดี่ยว<br />

ทําใหการไปมาหาสู ระหวาง<br />

กันคอนขางลําบาก ดังนั้น<br />

ภูมิประเทศของภูฏานสามารถแบงไดเปน 3 ลักษณะ คือ เทือกเขาสูงตอนเหนือ<br />

ที่เปนสวนหนึ่งของเทือกเขาหิมาลัย<br />

ที่ลาดเชิงเขาในตอนกลางของประเทศ<br />

และที่ราบทางตอนใตของ<br />

ประเทศ มีแมนํ้าพรหมบุตรไหลผาน<br />

ภูมิอากาศ เนื่องจากภูฏานเปนประเทศขนาดเล็ก<br />

ลักษณะภูมิอากาศจึงไมแตกตางกันมากนัก โดยมาก<br />

เปนภูมิอากาศแบบกึ่งรอนมีฝนชุก<br />

ยกเวนตอนเหนือซึ่งเปนภูเขาสูง<br />

ทําใหมีอากาศหนาวในเขตเทือกเขา อากาศ<br />

ตอนกลางวัน 15 - 25 องศาเซลเซียส กลางคืน 5 - 10 องศาเซลเซียส และมี 4 ฤดู คือ<br />

1. ฤดูใบไมผลิ จะอยู ในชวงเดือน มี.ค. – พ.ค. ชวงนี้อากาศจะอบอุ<br />

นและอาจมีฝนประปราย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!