21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556 391<br />

จนถึงปจจุบัน โดยแบงอํานาจอธิปไตยซึ่งเปนของเจาผูครองรัฐออกเปน<br />

3 ฝาย ดังนี้<br />

ฝายบริหาร : รัฐธรรมนูญกําหนดใหอํานาจบริหารเปนของเจาผูครองรัฐ<br />

(อมีร) ซึ่งเปนองค<br />

พระประมุขของรัฐ เจาผูครองรัฐทรงขึ้นครองราชสมบัติดวยการสืบสันตติวงศ<br />

ทรงมีพระราชอํานาจในการ<br />

กํากับดูแลฝายบริหารผาน รมว.กระทรวงตางๆ โดยทรงแตงตั้ง<br />

นรม.และอนุมัติ ครม.ที่<br />

นรม.เปนผูเสนอ<br />

ทั ้งนี้<br />

ในภาวะปกติเจาผูครองรัฐอาจใชพระราชอํานาจในการปลด<br />

นรม. ครม. ออท. หรือยุบสภาเพื่อรวบ<br />

อํานาจแบบเบ็ดเสร็จไวเองได หากมีพระราชประสงค สวนในกรณีที่เกิดสถานการณฉุกเฉินระดับชาติหรือ<br />

ตกอยูในภาวะสงคราม<br />

เจาผูครองรัฐจะมีอํานาจควบคุมประเทศแบบเบ็ดเสร็จโดยอัตโนมัติ<br />

ขณะที่รัฐสภา<br />

จะถูกระงับบทบาทไวชั่วคราวจนกวาสถานการณจะยุติลง<br />

ฝายนิติบัญญัติ/รัฐสภา : อํานาจนิติบัญญัติเปนของเจาผูครองรัฐ<br />

โดยทรงใชพระราชอํานาจ<br />

ผานรัฐสภา (Majlis al Umma) แบบสภาเดียว ซึ่งประกอบดวย<br />

ส.ส. 50 คน ที่มาจากการเลือกตั้งวาระ<br />

4 ป การเลือกตั้งครั้งลาสุดจัดขึ้นเมื่อ<br />

16 พ.ค.2552 อํานาจในการยุบสภาเปนของเจาผูครองรัฐ<br />

ทั้งนี้<br />

คูเวต<br />

เปนรัฐอาหรับในภูมิภาคอาวประเทศแรกที่มีรัฐสภาที่มาจากการเลือกตั้ง<br />

รัฐสภามีหนาที่ออกกฎหมาย<br />

รางกฎหมายทุกฉบับจะไมมีผลบังคับใชเปนกฎหมายจนกวาจะไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภา การแกไขเพิ่มเติม<br />

จากรัฐธรรมนูญจะกระทํามิไดหากไมไดรับความเห็นชอบจากรัฐสภา นอกจากนี้<br />

รัฐสภายังมีอํานาจในการ<br />

กําหนดเงินไดของเจาผูครองรัฐ<br />

และการรับรองการเสนอชื่อเจาผูครองรัฐและมกุฎราชกุมาร<br />

ฝายตุลาการ : ใชระบบกฎหมายแบบผสมผสานระหวาง common law ของอังกฤษ civil<br />

law ของฝรั่งเศส<br />

และบทบัญญัติของศาสนาอิสลาม การดําเนินการใดๆของฝายตุลาการตองเปนไปในนาม<br />

ของเจาผู ครองรัฐ พระราชอํานาจในการอภัยโทษเปนของเจาผู ครองรัฐ นอกจากนี้<br />

เจาผู ครองรัฐยังทรงไดรับ<br />

ความคุมกันตามกฎหมายและไมสามารถลวงละเมิดได<br />

ผูใดที่วิพากษวิจารณเจาผูครองรัฐ<br />

จะตองถูกลงโทษ<br />

ตามกฎหมาย<br />

พรรคการเมืองสําคัญ : ไมมีระบบพรรคการเมืองในคูเวต แตมีการรวมตัวกันเปนกลุ มการเมือง<br />

ตาง ๆ อาทิ กลุม<br />

Islamic Constitutional Movement กลุม<br />

Shia Islamists of the National Islamic<br />

Alliance และกลุม<br />

Kuwait Democratic Forum<br />

เศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจแบบตลาดเสรี มีความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจมาก<br />

โดยไดรับการจัดอันดับจาก<br />

ธนาคารโลกวาเปนประเทศที่มีรายไดสูง<br />

เฉพาะอยางยิ่งรายไดประชากรตอคนตอปสูงเปนอันดับ<br />

10 ของโลก<br />

อยางไรก็ดี แหลงรายไดหลักของประเทศยังคงมาจากอุตสาหกรรมนํ้ามันเพียงอยางเดียวนับตั้งแตมีการ<br />

ขุดพบแหลงนํ้ามันเมื่อป<br />

2480 โดยปจจุบันมีสัดสวนเกือบ 50% ของ GDP อีกทั้งคิดเปน<br />

95% ของรายได<br />

จากการสงออก และ 95% ของรายไดภาครัฐ<br />

อุตสาหกรรมหลัก : ปโตรเลียม ปโตรเคมี ปูนซีเมนต การตอเรือและซอมเรือ การสกัดนํ้าทะเล<br />

เปนนํ้าจืด<br />

การแปรรูปอาหาร การผลิตวัสดุกอสราง<br />

ทรัพยากรธรรมชาติที่สําคัญ<br />

: นํ้ามันดิบ<br />

ซึ่งมีปริมาณสํารองที่พิสูจนทราบแลว<br />

104,000 ลาน<br />

บารเรล (มากเปนอันดับ 7 ของโลก) กําลังการผลิตวันละ 2.682 ลานบารเรล (อันดับ 10 ของโลก) และ<br />

สงออกไดวันละ 1.365 ลานบารเรล (อันดับ 11 ของโลก) กาซธรรมชาติ ซึ่งมีปริมาณสํารองที่พิสูจนทราบแลว<br />

1.798 ลานลาน ลบ.ม. (มากเปนอันดับ 21 ของโลก) กําลังการผลิตวันละ 11,730 ลาน ลบ.ม. (อันดับ 42<br />

ของโลก) แตเปนการผลิตเพื่อใชภายในประเทศทั้งหมด<br />

นโยบายเศรษฐกิจ : ในหวงระหวางป 2550-2555 Kuwait Petroleum Corporation ซึ่ง<br />

เปนวิสาหกิจของรัฐลงทุนดวยงบประมาณ 51,000 ลานดอลลารสหรัฐ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการผลิต<br />

นํ้ามันซึ่งเปนแหลงรายไดหลักของประเทศเปนวันละ<br />

4 ลานบารเรล ภายในป 2563 นอกจากนี้<br />

รัฐบาลเพิ่ง<br />

ออกรางกฎหมายเมื่อ<br />

พ.ค.2553 ที่อนุญาตใหรัฐบาลขายสินทรัพยในวิสาหกิจของรัฐแกนักลงทุนเอกชนได<br />

และลาสุดเมื่อ<br />

ม.ค.2554 มีการจัดทําแผนพัฒนาเศรษฐกิจระยะ 5 ป (ป 2554-2558) ที่ใชงบประมาณ<br />

130,000 ลานดอลลารสหรัฐ เพื่อสงเสริมการสรางความหลากหลายทางเศรษฐกิจ<br />

นอกเหนือจากการ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!