21.03.2013 Views

Data2556

Data2556

Data2556

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

690<br />

ขอมูลพื้นฐานของตางประเทศ<br />

2556<br />

การศึกษา หลังจากไดเอกราชเมื่อป<br />

2545 ไดจัดทําแผนยุทธศาสตรการศึกษาระยะ 10 ป ระหวาง<br />

ป 2549-2558 เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาของประเทศและไดรับความชวยเหลือจากโครงการพัฒนาแหง<br />

สหประชาชาติ (UNDP) ซึ่งสถิติดานการเขาเรียนตอของเด็กวัยเรียนระดับประถมศึกษาเมื่อป<br />

2542 มี 65%<br />

เพิ่มเปน<br />

74% เมื่อป<br />

2550 และมีเปาหมายใหได 100% ในป 2558 อยางไรก็ตาม พัฒนาการดานการศึกษา<br />

ไปไดชามาก โดยขอมูลลาสุดเมื่อป<br />

2550 มีเด็กวัยเรียนเขาเรียนในระดับประถมศึกษาเพียง 47% สําหรับ<br />

ระดับอุดมศึกษามีมหาวิทยาลัยแหงชาติ ติมอรเลสเต วิทยาลัยเกษตร และวิทยาลัยอาชีวศึกษา โพลีเทคนิค<br />

ซึ่งเปดสอนสาขาไฟฟา<br />

เครื่องกล<br />

โยธา และบัญชี<br />

การกอตั้งประเทศ<br />

เคยเปนประเทศอาณานิคมของโปรตุเกส ตอมาหลังจากสิ้นสงครามโลกครั้งที่<br />

2<br />

ไดประกาศเปนอิสระจากโปรตุเกสเมื่อ<br />

28 พ.ย.2518 หลังจากนั้น<br />

อินโดนีเซียไดประกาศผนวกติมอร ตอ.<br />

เปนจังหวัดหนึ่งของอินโดนีเซียในปเดียวกัน<br />

แตเกิดการตอสูเพื่อเอกราช<br />

มีนายโฮเซ รามอส-ฮอรตา และ<br />

นายซานานา กุสเมา เปนผูนํา รัฐบาลอินโดนีเซียยอมใหลงประชามติเพื่อแยกตัวออกเปนเอกราชเมื่อ<br />

30 ส.ค.2542 มีประชาชนชาวติมอร ตอ.กวา 80% สนับสนุนการแยกตัวเปนเอกราช หลังจากนั้น<br />

เกิดการตอสู <br />

ภายในประเทศและมีความรุนแรงระหวางกลุ มของทหารที่นิยมอินโดนีเซียกับกลุ<br />

มที่เรียกรองเอกราช<br />

ทําให<br />

สหประชาชาติ (UN) จัดตั้ง<br />

กกล.นานาชาติ (International Force in East Timor-Leste หรือ INTERFET)<br />

เขาไปรักษาสันติภาพเมื่อ<br />

15 ก.ย.2542 กอนการประกาศเอกราชเมื่อ<br />

20 พ.ค.2545 ใชชื่อวา<br />

ติมอรเลสเต<br />

(Timor-Leste) เปนภาษาโปรตุเกส<br />

วันชาติ 20 พ.ค.<br />

การเมือง ปกครองในระบอบประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเปนประมุข ปจจุบัน คือ นาย Taur Matan Ruak<br />

สถานการณการเมืองในติมอรเลสเตนับวามีเสถียรภาพเห็นไดจากการเลือกตั้งประธานาธิบดีและการเลือกตั้ง<br />

สมาชิกรัฐสภาในป 2555 ซึ่งดําเนินไปอยางเรียบรอย<br />

สวนสํานักงานตํารวจแหงชาติ (PNTL) และกองทัพ<br />

ติมอรเลสเต (F- FDTL) ก็นาจะปฏิบัติหนาที่ในการรักษาความมั่นคงในติมอรเลสเตไดตอไป<br />

ภายหลังกองกําลัง<br />

สหประชาชาติในติมอรเลสเต (UNMIT) ถอนกําลังใน 31 ธ.ค.2555<br />

ฝายบริหาร : ประธานาธิบดีเปนประมุขของรัฐ และเปนประธาน Council of State และ<br />

Superior Council of Defence and Security มาจากการเลือกตั้งมีวาระ<br />

5 ป สวนนายซานานา กุสเมา<br />

เปน นรม. และหัวหนาฝายบริหาร วาระ 5 ป ซึ่งติมอรเลสเตจะจัดการเลือกตั้งทั่วไปและการเลือกตั้ง<br />

ประธานาธิบดีครั้งตอไปในปลายป<br />

2555<br />

ฝายตุลาการ : ศาลอุทธรณเปนศาลสูงสุดของติมอรเลสเต โดยสภาผูแทนราษฎรมีมติใหนาง<br />

Maria Natercia Gusmao Pereira ดํารงตําแหนงผูพิพากษาศาลอุทธรณ<br />

และสาบานตนเขารับตําแหนง<br />

เมื่อ<br />

11 เม.ย.2554<br />

ฝายนิติบัญญัติ : ระบบสภาเดียว คือ สภาแหงชาติ สมาชิกสภาแหงชาติมาจากการเลือกตั้ง<br />

วาระ 5 ป การเลือกตั้งสมาชิกสภาลาสุด<br />

เมื่อ<br />

7 ก.ค.2555 ปรากฏวา พรรค CNRT ของนายกุสเมา ไดรับ<br />

เลือกตั้งใหเปนพรรคแกนนําในการจัดตั้งรัฐบาล<br />

โดยครองที่นั่งในสภาทั้งหมด<br />

31 ที ่นั่ง<br />

พรรคการเมือง : ระบบหลายพรรคการเมือง ที่สําคัญ<br />

ไดแก พรรค National Congress for<br />

Timorese Reconstruction (CNRT) และพรรค Revolutionary Front of Independent Timor-Leste<br />

(FRETILIN)<br />

การดําเนินนโยบายดานตางประเทศ มีเปาหมายเพื่อใหระบบการเมืองและเศรษฐกิจดําเนิน<br />

อยางตอเนื่อง<br />

มีความสัมพันธที่ดีกับประเทศผูบริจาคเงินเปนงบประมาณประจําปของติมอรเลสเต<br />

และ<br />

ประเทศอาเซียน และไดสมัครเขาเปนสมาชิกอาเซียนเมื่อตน<br />

มี.ค.2554 เพื่อเตรียมเปนสมาชิกถาวรตอไป<br />

นอกจากนี้ยังเขารวมกลุ<br />

มประเทศในแปซิฟกใตที่ทําใหติมอรเลสเตไดรับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรและการคา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!